หลักรัฐประศาสนศาสตร์ Module 3 ; ภาค/ปีการศึกษา 3/2565

 การศึกษาประกอบร่วมกับการศึกษาในชั้นเรียน


ขอบเขตการศึกษา นักศึกษาศึกษาประเด็นต่าง ๆ ต่อไปนี้ 

1.องค์ประกอบและส่วนประกอบเชิงโครงสร้างของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่

2.ลักษณะร่วมและความต่างของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่กับการบริหารจัดการภาครัฐและการบริการภาครัฐ

3.ขอบเขตของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ในอนาคต

  

- พฤติกรรม
- บทบาทและความรับผิดชอบทางการบริหารตามแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่









     ก่อนตอบคำถามให้ศึกษาเอกสารให้เข้าใจ พร้อมทั้งกดติดตามและให้ใส่ชื่อ รูปภาพลงที่มุมกล่องข้อความเพื่อจะได้ทราบว่านักศึกษาคนใดเป็นผู้ตอบคำถาม และสามารถประเมินผลได้อย่างถูกต้อง (ดูตัวอย่างของภาคการศึกษาที่ผ่านมา)



      นักศึกษาศึกษาเอกสาร Video ที่นี่ 


      นักศึกษาทำ Assignment โดยเขียนลงในกล่องโต้ตอบ ซึ่งจะเขียนว่า  Post a Comment โดยคลิกที่รูป 💬 จะปรากฎ กล่องโต้ตอบ นักศึกษาเขียนในกล่องโต้ตอบและสามารถส่งได้โดย คลิกที่ Publish your comment

        Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง  

        Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน

        Assignment  3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง  และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง


    

Comments

ส.อ.วุฒิชัย ถาวรรัตน์ รหัส 64423471114

ข้อที่ 1 Grueing ระบุว่าองค์ประกอบหลักของการบริหารราชการสมัยใหม่ในฐานะโครงสร้างคือแนวคิดของ "การปกครอง" นี่หมายถึงวิธีการจัดการสถาบันของรัฐและวิธีการตัดสินใจในสังคมประชาธิปไตย รัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่มุ่งเน้นไปที่การส่งเสริมประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความรับผิดชอบในบริการสาธารณะและโครงการต่างๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆ เช่น การพัฒนานโยบาย การจัดทำงบประมาณ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ และการวัดผลการปฏิบัติงาน เป้าหมายสูงสุดของการบริหารราชการสมัยใหม่คือการให้บริการคุณภาพสูงที่ตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของประชาชน

ข้อที่ 2 New Public Administration (NPA) and New Public Management (NPM) เป็นสองแนวทางการบริหารราชการที่มีความคล้ายคลึงกันในแง่ของลักษณะของบริการภาครัฐใหม่ ทั้ง NPA และ NPM มุ่งเน้นการให้บริการภาครัฐคุณภาพสูงที่ตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งคู่ตระหนักถึงความสำคัญของความรับผิดชอบ ความโปร่งใส และการปรับปรุงการดำเนินงานของรัฐบาลอย่างต่อเนื่อง
อย่างไรก็ตาม แนวทาง NPA เน้นการทำงานร่วมกัน การมีส่วนร่วมของชุมชน และความเท่าเทียมทางสังคม ในขณะที่แนวทาง NPM เน้นประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และการจัดการตามผลลัพธ์ สิ่งนี้สามารถส่งผลให้มีการเน้นที่แตกต่างกันในพื้นที่ต่างๆ ในการบริการของรัฐ ตัวอย่างเช่น NPM อาจเน้นที่การปรับปรุงกระบวนการและการวัดผลลัพธ์ ในขณะที่ NPA อาจเน้นที่การมีส่วนร่วมกับชุมชนและการให้บริการทางสังคมแก่กลุ่มคนชายขอบแบบดั้งเดิม

ข้อที่ 3 อนาคตของการบริหารรัฐกิจจะเห็นการขยายขอบเขตที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีและการตัดสินใจที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูล ซึ่งหมายความว่าผู้บริหารภาครัฐจะต้องได้รับการฝึกอบรมให้ใช้เทคโนโลยีใหม่และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาสังคม
อิทธิพลของแนวคิดการบริหารราชการแบบใหม่ เช่น การกำกับดูแลแบบมีส่วนร่วม การกำกับดูแลแบบร่วมมือ และการกำกับดูแลเครือข่าย ก็จะมี กระทบต่อพฤติกรรมของผู้บริหารภาครัฐ แนวคิดเหล่านี้ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของพลเมืองและการทำงานร่วมกันระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ ในกระบวนการตัดสินใจ ซึ่งหมายความว่าผู้ดูแลระบบภาครัฐจะต้องตอบสนองต่อความต้องการของพลเมืองมากขึ้นและมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกันมากขึ้น
ในแง่ของบทบาทและความรับผิดชอบ ผู้ดูแลระบบภาครัฐ จะยังคงรับผิดชอบในการจัดการทรัพยากรสาธารณะ การให้บริการสาธารณะ และการดำเนินนโยบายของรัฐบาล อย่างไรก็ตาม ด้วยการเน้นที่การมีส่วนร่วมและการทำงานร่วมกันของพลเมืองมากขึ้น ผู้ดูแลระบบภาครัฐก็จำเป็นต้องมีทักษะในการสร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และอำนวยความสะดวกในกระบวนการตัดสินใจแบบมีส่วนร่วม

ส.อ.วุฒิชัย ถาวรรัตน์ รหัส 64423471114
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
ตอบ 1.องค์ประกอบและส่วนประกอบเชิงโครงสร้างของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่
ลักษณะของรัฐประศาสตร์แนวใหม่รัฐประศาสนศาสตร์แนวทางใหม่ได้ถูกพัฒนาขึ้นเรียกว่า รัฐประศาสนศาสตร์แนวทางใหม่หรือรัฐประศาสนศาสตร์แนวนีโอคลาสิกและยังได้เกิดการพัฒนารัฐประศาสนศาสตร์ที่เรียกว่ารัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ขึ้นด้วย โดยสาเหตุจากหลักการของรัฐประศาสนศาสตร์ที่มีอยู่เดิมถูกมองว่า มีลักษณะขัดแย้งกัน มีความสามารถเพียงเล็กน้อยในการที่จะเป็นทฤษฎีที่มีลักษณะทั่วไป (Generalized
theory) ซึ่งทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะไม่แม่นยำ (ขาดความสามารถในการทำนาย) และแตกออกเป็นฝอย ๆ
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ตอบ ลักษณะของรัฐประศาสตร์แนวใหม่
1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่' (New Public Administration: NPA) เป็นการผสมผสานแนวคิด
ขบวนการเคลื่อนไหวมนุษย์สัมพันธ์ (Human-relations movement) และรัฐประศาสนศาสตร์ที่
มุ่งเน้นการเมือง (Political-oriented public administration)
2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ ที่ศึกษา เชิงโครงสร้างประชาธิปไตยทั้งกายในและกายนอกองค์การภาครัฐ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเด็นเรื่องความเสมอภาคทางสังคม (Social equality) เน้นการ มีส่วนร่วม โดยเฉพาะ
แนวคิดของกลุ่มชุมชนนิยม ซึ่งมองว่าสังคมปัจจุบันไร้ราก เป็นปัจเจกสูง จึงจำเป็นต้องกระตุ้นให้เกิดการมี
ส่วนร่วมทางการเมืองและ โครงสร้างการบริหาร
3. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ ที่เน้นการศึกษาค้านบทบาทของเครือข่ายสาธารณะในฐานะผู้ใกล่เกลี่ยของ
กลุ่มผลประโชชน์ต่าง ๆ
องค์ประกอบและส่วนประกอบเชิงโครงสร้างของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่
- รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีการขยายแนวคิดไปสู่การจัดการสาธารณะใหม่และการบริการสาธารณะใหม่
ดังนั้น จะเห็นว่า ทั้งสองแนวความคิดเป็นสิ่งที่มีผลต่อการพัฒนารัฐประศาสนศาสตร์ใหม่
- จึงถือได้ว่า รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีองค์ประกอบของ การจัดการภาครัฐแนวใหม่และการบริการภาครัฐแนวใหม่เป็นส่วนหนึ่งเชิงโครงสร้างของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ที่ต้องมีเค้าโครงของแนวคิดการจัดการเป็นกลไกทางการบริหารและการบริการ แนวคิดได้ให้ความสำกัญต่อโครงสร้างความเป็นประชาธิปไตยทั้งภายในและภายนอกองค์การ เช่น การมีส่วนร่วม ความเสมอภาค เป็นต้นองค์ประกอบและส่วนประกอบเชิงโครงสร้างของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่
- รัฐประศาสศาสตร์แนวใหม่เน้นองค์ประกอบของความรู้ที่สอดคล้องกับปัญหา
สังคม (Social Relevant) ความเป็นธรรมทาง สังคม (Social Equity) ค่านิยม(Values) ผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) และนโยบายสาธารณะ (PublicPolicy)
- มีโครงสร้างแนวคิดคล้ายคลึงกับการบริการสาธารณะใหม่รวมถึงการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่แม้จะมีความแตกต่างกันอยู่มาก
หลักรัฐประศาสนุศาสตร์องค์ประกอบและส่วนประกอบเชิงโครงสร้างของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ความแตกต่างและความเหมือนของรัฐประศาสนศาสตร์ใหม่กับการจัดการสาธารณะใหม่และการบริการสาธารณะใหม่ ได้แก่
- การจัดการสาธารณะใหม่NPM)การมองถึงผู้รับบริการเป็นลูกค้าและกาคสาธารณะคือตลาดของ แต่แนวคิด
รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มองว่าเป็นผู้รับบริการจะต้องได้รับผลประโยชน์สาธารณะ เป็นต้น
-รัฐประศาสนศาสตร์ใหม่กลับมีความคล้ายคลึงกับการบริการสาธารณะใหม่อย่างมากในประเด็น ความเป็น
ธรรมทางสังคม การให้คุณค่า ความเป็นประชาธิปไตย ความรับผิดชอบ ฯลฯ
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ใหม่" มุ่งสู่การศึกษาการบริหารงานที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนาแนวคิดมีทิศทางของการสร้างการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนต่อการบริหารงานภาครัฐมากขึ้นสามารถอธิบายปรากฏการณ์ของการบริหารงานภาครัฐครอบคุลมในทุกมิติสามารถศึกษาและค้นหาหลักการทางการบริหารงานภาครัฐได้อย่างมีอัตลักษณ์มากขึ้น
จ.ส.อ.ธานินทร์ บริบูรณ์ ุ64423471145

Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
ตอบ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ เป็นการนำแนวคิดการบริหารงานจัดการภาครัฐ และภาคเอกชนความต้องการของประชาชน ปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารงานภาครัฐให้ตอบสนอง ความต้องการของประชาชนที่มีความหลากหลายมากขึ้น โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาทุจริต การจัดทำ นโยบายสาธารณะที่มีผลประโยชน์ทับซ้อน กำหนดแนวคิดพื้นฐานการบริหารจัดการภาครัฐ สร้างการ เปลี่ยนแปลงระบบต่าง ๆ ของภาครัฐให้เป็นรูปธรรม เลือกแนวทางการบริหารจัดการ ดังต่อไปนี้ 1. การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน ตรงความต้องการของประชาชน 2. คำนึงถึงคุณธรรม องค์การคุณธรรมพร้อมรับการตรวจสอบ จัดงานบริหารสอดคล้องกับ บริบทประชาชน ลดการต่อต้านให้น้อยสุด 3. รัฐพึงทำบทบาทเฉพาะที่รัฐให้เกิดการจัดการภาครัฐ สามารถนำความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดงานบริการสาธารณะให้เป็นรากฐาน 2 แนวคิดหลัก 3.1 เศรษฐศาสตร์เชิงสถาบันใหม่ แนวคิดความ เชื่อมโยงการปฏิรูประบบการบริหารการจัดการคือการแข่งขันทางเลือกผู้รับบริการ ความโปร่งใส คุณธรรม โครงสร้างระบบสิ่งจูงใจการอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่าง ความไม่เท่าเทียม เนื่องจาก ความไม่เท่าเทียมทำให้เกิดการนำความต้องการไปดำเนินการบริหารจัดการ 3.2 การจัดการนิยม คือการนำเอาแนวทางการจัดการแบบธุรกิจนำมา ปรับใช้ในภาครัฐโดยเน้นการจัดการแบบมืออาชีพมีดัชนีวัดความสำเร็จให้อำนาจในการให้ดุลยพินิจ และความอิสระในการจัดการ สร้างวัฒนธรรมที่เหมาะสม คุณธรรมองค์การ
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ตอบ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีล ลักษณะเชิงมนุษยนิยม สนใจทฤษฎีปทัสถาน ปรัชญา และปฏิบัตินิยม กล่าวคือให้ความสนใจศึกษาเกี่ยวกับเกี่ยว ค่านิยม ศีลธรรม ความเป็นมนุษย์มากขึ้น และเน้นการพัฒนาองค์การในรูปแบบใหม่ ให้เป็นองค์การเชิงริเริ่มสร้างสรรค์และบุกเบิกทดลองในการพยายามตอบสนอง ความต้องการของประชาชน รวมทั้งแนวคิดการจัดองค์การสาธารณะที่มุ่งรับใช้ให้บริการแก่ประชาชน ให้ความสนใจต่อประชาชนผู้รับบริการมากขึ้น
จ.ส.อ.ธานินทร์ บริบูรณ์ ุุ64423471145

Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสู่ขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญมี 5 แนวโน้ม คือ เครือข่ายการบริหารกิจการบ้านเมือง การมีส่วนร่วมของประชาชน การบริหารกิจการบ้านเมืองอิเล็กทรอนิกส์ ความโปร่งใส และความเป็นหุ้นส่วน ระหว่างรัฐ-เอกชน ส่วนประเด็นการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญอื่น ๆ ได้แก่ รูปร่างของ หน่วยงานภาครัฐ การปฏิรูปการจัดการภาครัฐ ความเท่าเทียมกัน การจัดการคน และองค์การ ความสอดคล้องกับสังคม และความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม ซึ่งมี
รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. เครือข่ายการบริหารกิจการบ้านเมือง โครงสร้างภาครัฐกำลังเปลี่ยนแปลงและกลไกใหม่ ๆ จะถูกนำมาใช้เพื่อ ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงข้างต้น ส่วนนิยามของเครือข่ายการบริหารกิจการ บ้านเมือง หมายถึง (1) การเชื่อมต่อกันในแนวระดับ แต่ผู้ปฏิบัติมีอิสระใน การดำเนินงาน (2) ผู้ปฏิบัตินี้ปฏิบัติต่อกันและกันโดยการเจรจาต่อรอง (3) เกิดขึ้น โดยเครือข่ายที่มีกฎระเบียบ ตามบรรทัดฐาน มีการรับรู้เข้าใจ และมีจินตนาการ (4) ซึ่งนำไปสู่ขอบเขตเฉพาะในการจัดระเบียบของตนเอง และ (5) อันจะสนับสนุนให้เกิดการดำเนินงานตามเป้าประสงค์ของประชาชนในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ในปัจจุบันมีขอบเขตครอบคลุมถึงการ ปฏิบัติงานและความสัมพันธ์ของทั้งสามฝ่ายของรัฐคือฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ รวมถึงการกำหนด นโยบายสาธารณะจึงถือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทางการเมือง และมีบทบาทสำคัญใน การนำนโยบายออกไปปฏิบัติให้บรรลุผล
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
1 Grueing ระบุว่าองค์ประกอบหลักของการบริหารราชการสมัยใหม่ในฐานะโครงสร้างคือแนวคิดของ "การปกครอง" นี่หมายถึงวิธีการจัดการสถาบันของรัฐและวิธีการตัดสินใจในสังคมประชาธิปไตย รัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่มุ่งเน้นไปที่การส่งเสริมประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความรับผิดชอบในบริการสาธารณะและโครงการต่างๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆ เช่น การพัฒนานโยบาย การจัดทำงบประมาณ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ และการวัดผลการปฏิบัติงาน เป้าหมายสูงสุดของการบริหารราชการสมัยใหม่คือการให้บริการคุณภาพสูงที่ตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของประชาชน
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
New Public Administration (NPA) and New Public Management (NPM) เป็นสองแนวทางการบริหารราชการที่มีความคล้ายคลึงกันในแง่ของลักษณะของบริการภาครัฐใหม่ ทั้ง NPA และ NPM มุ่งเน้นการให้บริการภาครัฐคุณภาพสูงที่ตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งคู่ตระหนักถึงความสำคัญของความรับผิดชอบ ความโปร่งใส และการปรับปรุงการดำเนินงานของรัฐบาลอย่างต่อเนื่อง
อย่างไรก็ตาม แนวทาง NPA เน้นการทำงานร่วมกัน การมีส่วนร่วมของชุมชน และความเท่าเทียมทางสังคม ในขณะที่แนวทาง NPM เน้นประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และการจัดการตามผลลัพธ์ สิ่งนี้สามารถส่งผลให้มีการเน้นที่แตกต่างกันในพื้นที่ต่างๆ ในการบริการของรัฐ ตัวอย่างเช่น NPM อาจเน้นที่การปรับปรุงกระบวนการและการวัดผลลัพธ์ ในขณะที่ NPA อาจเน้นที่การมีส่วนร่วมกับชุมชนและการให้บริการทางสังคมแก่กลุ่มคนชายขอบแบบดั้งเดิ
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
อนาคตของการบริหารรัฐกิจจะเห็นการขยายขอบเขตที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีและการตัดสินใจที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูล ซึ่งหมายความว่าผู้บริหารภาครัฐจะต้องได้รับการฝึกอบรมให้ใช้เทคโนโลยีใหม่และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาสังคม
อิทธิพลของแนวคิดการบริหารราชการแบบใหม่ เช่น การกำกับดูแลแบบมีส่วนร่วม การกำกับดูแลแบบร่วมมือ และการกำกับดูแลเครือข่าย ก็จะมี กระทบต่อพฤติกรรมของผู้บริหารภาครัฐ แนวคิดเหล่านี้ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของพลเมืองและการทำงานร่วมกันระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ ในกระบวนการตัดสินใจ ซึ่งหมายความว่าผู้ดูแลระบบภาครัฐจะต้องตอบสนองต่อความต้องการของพลเมืองมากขึ้นและมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกันมากขึ้น
ในแง่ของบทบาทและความรับผิดชอบ ผู้ดูแลระบบภาครัฐ จะยังคงรับผิดชอบในการจัดการทรัพยากรสาธารณะ การให้บริการสาธารณะ และการดำเนินนโยบายของรัฐบาล อย่างไรก็ตาม ด้วยการเน้นที่การมีส่วนร่วมและการทำงานร่วมกันของพลเมืองมากขึ้น ผู้ดูแลระบบภาครัฐก็จำเป็นต้องมีทักษะในการสร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และอำนวยความสะดวกในกระบวนการตัดสินใจแบบมีส่วนร่วม
น.ส.วรรณิภา นิลเกษม 64423471130
จ.ส.อ.เรืองยศ สามารถ รหัสนักศึกษา 64423471057
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
ตอบ ในทัศนะของ Gruening (2001, ) เห็นว่า เมื่อสิ้นทศวรรษที่ 1960s แนวคิดในรัฐประศาสนศาสตร์ ประกอบด้วย 3 leนักคิด คือ รัฐประศาสนศาสตร์ แนวคลาสสิก (Classical public administration) รัฐประศาสนศาสตร์ แนวนีโอคลาสสิก (Neoclassical public administration) และ รัฐประศาสนศาสตร์ แนวใหม่ (New public administration) หากพิจารณาทฤษฎีที่ต่อยอดจากรัฐประศาสนศาสตร์แนวนีโอคลาสสิก แล้ว ทฤษฎีทางเลือกสาธารณะ (Public choice theory) และสำนัก เศรษฐศาสตร์สถาบันใหม่ คือ สำนักคิดที่สืบทอดแนวคิดและทฤษฎีจาก รัฐประศาสนศาสตร์แนวคลาสสิก (Gruening, 2001; Lane, 2000) โดยทฤษฎี ทางเลือกสาธารณะนั้นก่อตั้งโดย James Buchanan และ Warren Nutter ทั้งคู่มาจากศูนย์โทมัส เจเฟอร์สันเพื่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมืองและ ปรัชญาสังคมแห่งมหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย ซึ่งศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคม โดยใช้หน่วยในการวิเคราะห์เป็นปัจเจกบุคคล อาศัย ‘ลัทธิปัจเจกชนนิยม เชิงระเบียบวิธี’ (Methodological individualism) เป็นแนวทางพื้นฐานใน การศึกษา อันเป็นการอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมจากผลรวบยอดของ พฤติกรรมของปัจเจกบุคคลแต่ละคนมารวมกัน โดยมีข้อตกลงเบื้องต้นว่า ปัจเจกบุคคล มุ่งหวังในเป้าหมายของตน และจะทำกระทำการใด ๆ ตามความ พึงพอใจของตนเอง เพื่อให้บรรลุความพึงพอใจสูงสุด (Maximize utility) ซึ่งแตกต่างจากทฤษฎีการตัดสินใจของ Simon ตรงที่ความมีเหตุผลของทฤษฎี ทางเลือกสาธารณะนั้นไม่ข้อจำกัด (Non-bounded rationality) ทำให้ ความพึงพอใจ และเสรีภาพในการเลือกของปัจเจกบุคคลกลายเป็นจุดใหญ่ ใจกลางของทฤษฎีทางเลือกสาธารณะ (Buchanan and Tullock, 1962; Buchanan, 1975) โดยทฤษฎีได้อธิบายว่า ประชาธิปไตยแบบตัวแทน ซึ่งอาศัยกฎของเสียงส่วนใหญ่ (Majority rule) โดยปราศจากการปกป้องจาก รัฐธรรมนูญ
***รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ เป็นการนำแนวคิดการบริหารงานจัดการภาครัฐ และภาคเอกชนความต้องการของประชาชน ปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารงานภาครัฐให้ตอบสนอง ความต้องการของประชาชนที่มีความหลากหลายมากขึ้น โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาทุจริต การจัดทำ นโยบายสาธารณะที่มีผลประโยชน์ทับซ้อน กำหนดแนวคิดพื้นฐานการบริหารจัดการภาครัฐ สร้างการ เปลี่ยนแปลงระบบต่าง ๆ ของภาครัฐให้เป็นรูปธรรม เลือกแนวทางการบริหารจัดการ ดังต่อไปนี้
1. การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน ตรงความต้องการของประชาชน
2. คำนึงถึงคุณธรรม องค์การคุณธรรมพร้อมรับการตรวจสอบ จัดงานบริหารสอดคล้องกับ บริบทประชาชน ลดการต่อต้านให้น้อยสุด
3. รัฐพึงทำบทบาทเฉพาะที่รัฐให้เกิดการจัดการภาครัฐ สามารถนำความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดงานบริการสาธารณะให้เป็นรากฐาน 2 แนวคิดหลัก
3.1 เศรษฐศาสตร์เชิงสถาบันใหม่(News Institutional Economics) แนวคิดความ เชื่อมโยงการปฏิรูประบบการบริหารการจัดการคือการแข่งขันทางเลือกผู้รับบริการ ความโปร่งใส คุณธรรม โครงสร้างระบบสิ่งจูงใจการอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่าง ความไม่เท่าเทียม เนื่องจาก ความไม่เท่าเทียมทำให้เกิดการนำความต้องการไปดำเนินการบริหารจัดการ
3.2 การจัดการนิยม (Managerial) คือการนำเอาแนวทางการจัดการแบบธุรกิจนำมา ปรับใช้ในภาครัฐโดยเน้นการจัดการแบบมืออาชีพมีดัชนีวัดความสำเร็จให้อำนาจในการให้ดุลยพินิจ และความอิสระในการจัดการ สร้างวัฒนธรรมที่เหมาะสม คุณธรรมองค์การ
จ.ส.อ.เรืองยศ สามารถ รหัสนักศึกษา 64423471057
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ตอบ ทั้ง รัฐประศาสนศาสตร์ และ การจัดการภาครัฐแนวใหม่กับการบริการภาครัฐแนวใหม่ผมสรุปได้ว่ามีลักษณะที่เป็นเช่นเดียวกันดังนี้
1. เป็นการปรับเปลี่ยนการควบคุม ผลผลิตและผลลัพธ์ มีความเป็นสากล ให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหาร และให้ความสำคัญต่อ เรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบาย ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่ ให้มีขนาดเล็กลง รวมทั้งการประยุกต์ใช้วิธีการจัดจ้างและการแข่งขันประมูลงานเพื่อลดต้นทุน มีการสร้างแรงจูงใจ และให้รางวัลตอบแทนมากขึ้น สร้างระเบียบวินัยและความประหยัดในการใช้ จ่ายเงินงบประมาณ โดยพยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต
2. แนวคิดใหม่ไม่ใช่การปฏิรูประบบ ราชการอย่างเดียวแต่ยังแปลงโฉมภาครัฐใหม่ด้วยการจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐกับสังคม ใหม่ เหตุผลหลักที่ได้รับการยอมรับคือ ตัวแบบระบบราชการเดิมใช้ไม่ได้อีกต่อไป รัฐบาลหลายประเทศ เริ่มไม่เห็นด้วยกับการท างานแบบราชการ จึงจ้างนักเศรษฐศาสตร์ที่อบรมการจัดการเข้ามาท างานแทน นักบริหารพร้อมกับหยิบยืมเทคนิคการจัดการจากภาคเอกชนมาใช้
3. ภาครัฐแนวใหม่เป็นการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐ โดยนำหลักการ เพิ่มประสิทธิภาพและการแสวงหาประสิทธิภาพของระบบราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ นำเอาแนวทาง หรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้กับการบริหารงานภาครัฐ ตลอดทั้งการมุ่งเน้น การให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ

Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสู่ขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ 1.ส่งผลให้ศาสตร์สาขาวิชาได้ถูก พัฒนาและเกิดการทบทวนองค์ความรู้ในการอธิบายการบริหารงานภาครัฐ ทำให้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐ นั้นได้ถูกจำแนกตามจุดสนใจ ทั้งในด้านการค้นหาหลักการบริหารภาครัฐและการศึกษาประเด็นสาธารณะร่วมสมัย สืบเนื่องจากแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่นั้น ได้ขยายขอบเขตการศึกษาการบริหารงานของ ภาครัฐให้กว้างขึ้น จนกระทั่งการการปฏิรูประบบราชการที่เกิดขึ้นทั่วโลก ภายใต้อิทธิพลของแนวคิดการจัดการ ภาครัฐแนวใหม่ ได้น ามาสู่การศึกษาการบริการสารธารณะแนวใหม่เพื่อลดช่องว่างหลักการบริหารภาครัฐ โดย มุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของภาคพลเมืองในการด าเนินสาธารณกิจต่างๆ ร่วมกับภาครัฐและภาคเอกชนภายใต้ หลักการบริหารแบบประชาธิปไตย
2. ส่งผลให้ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ที่มุ่งประเด็นไปที่การศึกษาหลักธรรมภิบาล (good governance) ในการบริหารงานของภาครัฐ การจัดการแบบเครือข่าย (network governance) เช่น องค์การ ไม่แสวงหาก าไร (nonprofit organization) อาสาสมัคร(volunteer)
3. การบริหารจัดการองค์การร่วม สมัย (contemporary organization theory) เช่น การสร้างความร่วมมือในองค์การ (collaboration) ทุนมนุษย์ (human capital) (วัชรพล ศุภจักรวัฒนจา และวัชรพล พุทธรักษา, 2561) นอกจากนี้แนวโน้มการศึกษาของ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ภายใต้บริบทการพัฒนาในยุคอุตสาหกรรมดิจิตอล ขอบเขตของการศึกษา การบริหารงานภาครัฐจะขยายประเด็นไปถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการด าเนินสาธารณกิจของภาครัฐ เช่น การจัดการข้อมูล การน าระบบอิเล็กทรอนิกส์ในการด าเนินการบริหารงานภาครัฐ (e-government) เป็นต้น รวมไปถึงการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ
ส.อ.วสุพล ผ่องใส รหัส 64423471041 Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง ตอบ ในทัศนะของ Gruening (2001, ) เห็นว่า เมื่อสิ้นทศวรรษที่ 1960s แนวคิดในรัฐประศาสนศาสตร์ ประกอบด้วย 3 leนักคิด คือ รัฐประศาสนศาสตร์ แนวคลาสสิก (Classical public administration) รัฐประศาสนศาสตร์ แนวนีโอคลาสสิก (Neoclassical public administration) และ รัฐประศาสนศาสตร์ แนวใหม่ (New public administration) หากพิจารณาทฤษฎีที่ต่อยอดจากรัฐประศาสนศาสตร์แนวนีโอคลาสสิก แล้ว ทฤษฎีทางเลือกสาธารณะ (Public choice theory) และสานัก เศรษฐศาสตร์สถาบันใหม่ คือ สานักคิดที่สืบทอดแนวคิดและทฤษฎีจาก รัฐประศาสนศาสตร์แนวคลาสสิก (Gruening, 2001; Lane, 2000) โดยทฤษฎี ทางเลือกสาธารณะนั้นก่อตั้งโดย James Buchanan และ Warren Nutter ทั้งคู่มาจากศูนย์โทมัส เจเฟอร์สันเพื่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมืองและ ปรัชญาสังคมแห่งมหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย ซึ่งศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคม โดยใช้หน่วยในการวิเคราะห์เป็นปัจเจกบุคคล อาศัย ‘ลัทธิปัจเจกชนนิยม เชิงระเบียบวิธี’ (Methodological individualism) เป็นแนวทางพื้นฐานใน การศึกษา อันเป็นการอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมจากผลรวบยอดของ พฤติกรรมของปัจเจกบุคคลแต่ละคนมารวมกัน โดยมีข้อตกลงเบื้องต้นว่า ปัจเจกบุคคล มุ่งหวังในเป้าหมายของตน และจะทากระทาการใด ๆ ตามความ พึงพอใจของตนเอง เพื่อให้บรรลุความพึงพอใจสูงสุด (Maximize utility) ซึ่งแตกต่างจากทฤษฎีการตัดสินใจของ Simon ตรงที่ความมีเหตุผลของทฤษฎี ทางเลือกสาธารณะนั้นไม่ข้อจากัด (Non-bounded rationality) ทาให้ ความพึงพอใจ และเสรีภาพในการเลือกของปัจเจกบุคคลกลายเป็นจุดใหญ่ ใจกลางของทฤษฎีทางเลือกสาธารณะ (Buchanan and Tullock, 1962; Buchanan, 1975) โดยทฤษฎีได้อธิบายว่า ประชาธิปไตยแบบตัวแทน ซึ่งอาศัยกฎของเสียงส่วนใหญ่ (Majority rule) โดยปราศจากการปกป้องจาก รัฐธรรมนูญ ***รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ เป็นการนาแนวคิดการบริหารงานจัดการภาครัฐ และภาคเอกชนความต้องการของประชาชน ปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารงานภาครัฐให้ตอบสนอง ความต้องการของประชาชนที่มีความหลากหลายมากขึ้น โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาทุจริต การจัดทา นโยบายสาธารณะที่มีผลประโยชน์ทับซ้อน กาหนดแนวคิดพื้นฐานการบริหารจัดการภาครัฐ สร้างการ เปลี่ยนแปลงระบบต่าง ๆ ของภาครัฐให้เป็นรูปธรรม เลือกแนวทางการบริหารจัดการ ดังต่อไปนี้ 1. การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน ตรงความต้องการของประชาชน 2. คานึงถึงคุณธรรม องค์การคุณธรรมพร้อมรับการตรวจสอบ จัดงานบริหารสอดคล้องกับ บริบทประชาชน ลดการต่อต้านให้น้อยสุด 3. รัฐพึงทาบทบาทเฉพาะที่รัฐให้เกิดการจัดการภาครัฐ สามารถนาความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดงานบริการสาธารณะให้เป็นรากฐาน 2 แนวคิดหลัก 3.1 เศรษฐศาสตร์เชิงสถาบันใหม่(News Institutional Economics) แนวคิดความ เชื่อมโยงการปฏิรูประบบการบริหารการจัดการคือการแข่งขันทางเลือกผู้รับบริการ ความโปร่งใส คุณธรรม โครงสร้างระบบสิ่งจูงใจการอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่าง ความไม่เท่าเทียม เนื่องจาก ความไม่เท่าเทียมทาให้เกิดการนาความต้องการไปดาเนินการบริหารจัดการ 3.2 การจัดการนิยม (Managerial) คือการนาเอาแนวทางการจัดการแบบธุรกิจนามา ปรับใช้ในภาครัฐโดยเน้นการจัดการแบบมืออาชีพมีดัชนีวัดความสาเร็จให้อานาจในการให้ดุลยพินิจ และความอิสระในการจัดการ สร้างวัฒนธรรมที่เหมาะสม คุณธรรมองค์การ Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน ตอบ ทั้ง รัฐประศาสนศาสตร์ และ การจัดการภาครัฐแนวใหม่กับการบริการภาครัฐแนวใหม่ผมสรุปได้ว่ามีลักษณะที่เป็นเช่นเดียวกันดังนี้ 1. เป็นการปรับเปลี่ยนการควบคุม ผลผลิตและผลลัพธ์ มีความเป็นสากล ให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหาร และให้ความสาคัญต่อ เรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกาหนดนโยบาย ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่ ให้มีขนาดเล็กลง รวมทั้งการประยุกต์ใช้วิธีการจัดจ้างและการแข่งขันประมูลงานเพื่อลดต้นทุน มีการสร้างแรงจูงใจ และให้รางวัลตอบแทนมากขึ้น สร้างระเบียบวินัยและความประหยัดในการใช้ จ่ายเงินงบประมาณ โดยพยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต
ส.อ.วสุพล ผ่องใส
2. แนวคิดใหม่ไม่ใช่การปฏิรูประบบ ราชการอย่างเดียวแต่ยังแปลงโฉมภาครัฐใหม่ด้วยการจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐกับสังคม ใหม่ เหตุผลหลักที่ได้รับการยอมรับคือ ตัวแบบระบบราชการเดิมใช้ไม่ได้อีกต่อไป รัฐบาลหลายประเทศ เริ่มไม่เห็นด้วยกับการทางานแบบราชการ จึงจ้างนักเศรษฐศาสตร์ที่อบรมการจัดการเข้ามาทางานแทน นักบริหารพร้อมกับหยิบยืมเทคนิคการจัดการจากภาคเอกชนมาใช้ 3. ภาครัฐแนวใหม่เป็นการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐ โดยนาหลักการ เพิ่มประสิทธิภาพและการแสวงหาประสิทธิภาพของระบบราชการที่
มุ่งสู่ความเป็นเลิศ นาเอาแนวทาง หรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้กับการบริหารงานภาครัฐ ตลอดทั้งการมุ่งเน้น การให้บริการแก่ประชาชนโดยคานึงถึงคุณภาพเป็นสาคัญ Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสู่ขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง ตอบ 1.ส่งผลให้ศาสตร์สาขาวิชาได้ถูก พัฒนาและเกิดการทบทวนองค์ความรู้ในการอธิบายการบริหารงานภาครัฐ ทาให้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐ นั้นได้ถูกจาแนกตามจุดสนใจ ทั้งในด้านการค้นหาหลักการบริหารภาครัฐและการศึกษาประเด็นสาธารณะร่วมสมัย สืบเนื่องจากแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่นั้น ได้ขยายขอบเขตการศึกษาการบริหารงานของ ภาครัฐให้กว้างขึ้น จนกระทั่งการการปฏิรูประบบราชการที่เกิดขึ้นทั่วโลก ภายใต้อิทธิพลของแนวคิดการจัดการ ภาครัฐแนวใหม่ ได้นามาสู่การศึกษาการบริการสารธารณะแนวใหม่เพื่อลดช่องว่างหลักการบริหารภาครัฐ โดย มุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของภาคพลเมืองในการดาเนินสาธารณกิจต่างๆ ร่วมกับภาครัฐและภาคเอกชนภายใต้ หลักการบริหารแบบประชาธิปไตย 2. ส่งผลให้ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ที่มุ่งประเด็นไปที่การศึกษาหลักธรรมภิบาล (good governance) ในการบริหารงานของภาครัฐ การจัดการแบบเครือข่าย (network governance) เช่น องค์การ ไม่แสวงหากาไร (nonprofit organization) อาสาสมัคร(volunteer) 3. การบริหารจัดการองค์การร่วม สมัย (contemporary organization theory) เช่น การสร้างความร่วมมือในองค์การ (collaboration) ทุนมนุษย์ (human capital) (วัชรพล ศุภจักรวัฒนจา และวัชรพล พุทธรักษา, 2561) นอกจากนี้แนวโน้มการศึกษาของ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ภายใต้บริบทการพัฒนาในยุคอุตสาหกรรมดิจิตอล ขอบเขตของการศึกษา การบริหารงานภาครัฐจะขยายประเด็นไปถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการดาเนินสาธารณกิจของภาครัฐ เช่น การจัดการข้อมูล การนาระบบอิเล็กทรอนิกส์ในการดาเนินการบริหารงานภาครัฐ (e-government) เป็นต้น รวมไปถึงการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
ตอบ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) คือ เป็นการนําแนวคิดการบริหารงานจัดการภาครัฐ และภาคเอกชนความต้องการของประชาชน ปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารงานภาครัฐให้ตอบสนอง ความต้องการของประชาชนที่มีความหลากหลายมากขึ้น โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาทุจริต การจัดทํา นโยบายสาธารณะที่มีผลประโยชน์ทับซ้อน กําหนดแนวคิดพื้นฐานการบริหารจัดการภาครัฐ สร้างการ เปลี่ยนแปลงระบบต่าง ๆ ของภาครัฐให้เป็นรูปธรรม เลือกแนวทางการบริหารจัดการ ดงั ต่อไปนี้
1. การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน ตรงความต้องการของประชาชน
2. คํานึงถึงคุณธรรม องค์การคุณธรรมพร้อมรับการตรวจสอบ จัดงานบริหารสอดคล้องกับ บริบทประชาชน ลดการต่อต้านให้น้อยสุด
3. รัฐพึงทําบทบาทเฉพาะที่รัฐให้เกิดการจัดการภาครัฐ สามารถนําความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดงานบริการสาธารณะให้เป็นรากฐาน 2 แนวคิดหลัก
3.1 เศรษฐศาสตร์เชิงสถาบันใหม่ (News Institutional Economics) แนวคิดความ เชื่อมโยงการปฏิรูประบบการบริหารการจัดการคือการแข่งขันทางเลือกผู้รับบริการ ความโปร่งใส คุณธรรม โครงสร้างระบบสิ่งจูงใจการอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่าง ความไม่เท่าเทียม เนื่องจาก ความไม่เท่าเทียมทําให้เกิดการนําความต้องการไปดําเนินการบริหารจัดการ
3.2 การจัดการนิยม (Managerial) คือการนําเอาแนวทางการจัดการแบบธุรกิจนํามา ปรับใช้ในภาครัฐโดยเน้นการจัดการแบบมืออาชีพมีดัชนีวัดความสําเร็จให้อํานาจในการให้ดุลยพินิจ และความอิสระในการจัดการ สร้างวัฒนธรรมที่เหมาะสม คุณธรรมองค์การ และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้นถึงจุดหมายปลายทางของการพัฒนาที่ยั่งยืน จําเป็นที่ต้องมีการบูรณาการให้เกิดดุลยภาพทุกมิติทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม จิตใจ รวมถึงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ต้องมีการ บริหารจัดการที่ดี มีพหุภาคีร่วมเป็นกลไกทําทุกขั้นตอน เพื่อการอยู่ดีมีสุขของประชาชนตลอดไป จึงแบ่งมิติการพัฒนาที่ยั่งยืนให้มีความชัดเจนโดยแบ่งเป็น 6 ด้าน ดังนี้
1. มนุษย์ เป็นปัจจัยที่สําคัญที่สุดสําหรับการพัฒนาอย่างยั่งยืนและเป็นเป้าหมายของการ พัฒนา ดังนั้น มนุษย์จึงควรได้รับความเท่าเทียมของคุณภาพชีวิตในด้านการศึกษา สาธารณสุข อาหาร และการมีงานทํา เพื่อให้มีความจําเป็นพื้นฐานในการดํารงชีวิต และพัฒนาจิตใจ สติปัญญา และพฤติกรรมของมนุษย์ด้วยเพื่อให้เกิดความยั่งยืน
2. สังคมและวัฒนธรรม การพัฒนาที่ยั่งยืนนั้นต้องเกิดจากการพัฒนาที่สอดคล้องกับสังคม และวัฒนธรรม ความเชื่อของท้องถิ่นนั้น ๆ และในวัฒนธรรมที่ยั่งยืนและเป็นธรรมกับทุกคนในสังคม ต้องมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม และสามารถผสมผสานความแตกต่างภายในสังคมได้อย่างสันติ
3. เศรษฐกิจ การพัฒนาที่ยั่งยืนต้องอยู่บนพื้นฐานของการเจริญเติบโตที่ไม่เป็นอันตรายต่อ สังคม การเมืองหรือสิ่งแวดล้อม และในยุคอนาคต
4. สิ่งแวดล้อม การพัฒนาที่ยั่งยืนนั้นต้องมองระบบธรรมชาติทั้งหมดให้เป็นองค์รวม (Holistic Development) ซึ่งความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อมต้องรักษาความหลากหลายของสิ่งแวดล้อม และหลักการทางนิเวศให้มั่นคง
5. เทคโนโลยี การใช้เทคโนโลยีต้องมีความเหมาะสม เป็นการสนับสนุนการพัฒนา และต้อง ไม่ทําลายสิ่งแวดล้อม
6. การเมือง เป็นปัจจัยหลักและมีความสําคัญต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เพราะการพัฒนาที่ยั่งยืน จะสําเร็จนั้นต้องอยู่ในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยที่มีธรรมรัฐ (Good Governance) กล่าวคือ ภาครัฐต้องมีความโปร่งใส รัฐต้องสนับสนุนชุมชนท้องถิ่น ค่านิยมท้องถิ่น และประชาสังคม อีกทั้งต้องมี การกระจายอํานาจหรือคืนอํานาจให้แก่ท้องถิ่น และชุมชนในการมีส่วนร่วมตัดสินใจเรื่องของการพัฒนา
การพัฒนาที่ยั่งยืนนั้นมีพื้นฐานสําคัญในความหมาย คือ การพัฒนาที่สมดุลกันทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านมนุษย์ ด้านสังคมและวัฒนธรรม ด้านเศรษฐกิจ ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านเทคโนโลยี และด้าน การเมือง การพัฒนาที่ยั่งยืน คือ การพัฒนาอย่างสมดุล ทั้งเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคม ผสมผสาน การพัฒนาอย่างสร้างสรรค์ ไม่เน้นการพัฒนาด้านเศรษฐกิจเป็นหลัก แต่คํานึงถึงวัฒนธรรม ประเพณี และคุณธรรมสมาชิกในสังคมที่มีอยู่ก่อน ซึ่งการพัฒนาที่ยั่งยืนคือ การรวมความทันสมัยและความดั้งเดิม ของสังคมและชุมชน ผสมผสานให้เป็นไปตามความต้องการของสมาชิกในสังคมนั้น ๆ
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ตอบ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะที่เป็นเช่นเดียวกัน คือ แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นรูปแบบการผสานศาสตร์ทั้ง สองศาสตร์ เพื่อการอยู่ร่วมกัน หลังเกิดการพัฒนาและการสร้างนวัตกรรม ทั้งนี้เพราะ การพัฒนาหรือ สร้างนวัตกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ผลที่ได้รับจะนํามาซึ่งความแตกต่าง ความไม่เท่าเทียม นําไปสู่รูปแบบ การบริหารจัดการ อาจเลือกใช้รูปแบบการบริหารงานภาครัฐ หรืออาจเลือกใช้รูปแบบการบริหารงาน ภาคเอกชน ร่วมการประยุกต์ใช้หลักการงคุณธรรมมาบริหารจัดการทําให้เกิดกระบวนการพัฒนาที่ ยั่งยืน โดยคํานึงถึงผลต่อไปนี้ มิติที่ 1 การคํานึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผล (efficiency & effectiveness) มิติที่ 2 ความรับผิดชอบต่อสังคม (responsiveness) มิติที่ 3 การตอบสนองต่อความ ต้องการของประชาชนในท้องถิ่น (relevance) มิติที่ 4 การให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารงาน (participation) มิติที่ 5 ความซื่อสัตย์ เป็นธรรม โปร่งใส (honest, justice & transparency) และมิติ ที่ 6 ความมีจริยธรรมและเคารพกฎหมาย (legality-morality) ผู้บริหารองค์กรจึงต้องบริหารงานเพื่อ ประโยชน์ด้วยการจัดสรรและกระจายคุณค่าให้แก่ประชาชนอย่างเป็นธรรม ตรงกับความต้องการ เหมาะสมกับสภาพของแต่ละท้องถิ่น และให้ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วม ทั้งในระดับนโยบายและ ระดับปฏิบัติได้อย่างเต็มที่ ซึ่งจะต้องยึดถือประโยชน์สุขและความต้องการของประชาชนเป็นหลัก
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขต คือ รัฐประศาสนศาสตร์มีความรู้หลากหลายและกำลังคัดแยกความรู้ที่มี ประโยชน์ต่อตัวเอง ขณะเดียวกันก็เปลี่ยนแปลงไปตามกระแสสังคม อาจกล่าวได้ว่ารัฐประศาสนศาสตร์เป็นการศึกษาการบริหารภาครัฐ อันมีแกนกลางอยู่ 3 ด้าน คือ การบริหารคนบริหารเงินและองค์การ นอกนั้นก็เป็นความรู้เกี่ยวข้องกับบบกกการเมืองและการพัฒนา ซึ่งเป็นบริบทที่ใหญ่กว่าและอยู่รอบนอกการบริหาร ได้แก่ 1.นโยบายสาธารณะการบริหาร 2.เปรียบเทียบและการบริหารการพัฒนา และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ คือ เริ่มมีการเปลี่ยนระบบการทางานใหม่ สาเหตุ พื้นฐานมาจากรัฐบาลหลายประเทศเผชิญกับปัญหารายได้ที่แท้จริงตกต่ำแต่นักการเมืองยังคงอยากให้บริการอยู่ในระดับเดิม จึงไม่มีทางอื่นนอกจากปรับปรุงประสิทธิภาพประกอบกับนักทฤษฎีท้วงติงว่า ระบบราชการเดิมไม่มีประสิทธิภาพ และเมื่อนักเศรษฐศาสตร์ศึกษาก็ได้คาตอบแบบเดียวกัน จึงเริ่มมีคำถามว่าทำไมต้องจ้างข้าราชการถาวร ทำไมไม่จ้างตามสัญญา หากจ้างตามสัญญาจะเกิดปัญหา อะไรบ้าง ส่วนแรงต่อต้านจากระบบราชก็มีน้อย เพราะประชาชนไม่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงจึงเกิดขึ้น และเป็นเหตุให้การทางานแบบระบบราชการบางอย่างหายไป ดังนั้นแนวโน้มของ“การจัดการภาครัฐ” ในอนาคตจึงมุ่งไปสู่ “การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ” (Privatization) และการใช้ “บุคคลที่สาม” (Third Party) ในการดำเนินการต่าง ๆ แทนภาครัฐเพิ่มมากขึ้นซึ่งทาให้ภาครัฐจำเป็นต้องอาศัย “แนวความคิด และวิธีการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชน” มาใช้มากขึ้นทุกทีการบริหารจัดการแบบภาคเอกชน เช่นว่านี้ทำให้เจ้าหน้าที่ของภาครัฐต้องมีความเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพมากขึ้น (Qualityfied Personnel) พร้อม ๆ กับการต้องเป็น “มืออาชีพ” มากขึ้นด้วย (Higher-Quality Professional) แต่โดยที่การบริหารในภาครัฐราชการจะต้องอยู่ภายใต้กฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ มากมาย ซึ่งต่างจากการบริหารของภาคเอกชน และอยู่ภายใต้หลักการปกครองแบบ “นิติรัฐ” (Rule of Law) ด้วยจึงทำให้ภาครัฐจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบของการปกครองแบบเข้มงวดเคร่งครัดมายึดหลักการ และบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีดังนี้
1.การคํานึงถึงประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล
2.ความรับผิดชอบต่อสังคม
3.การตอบสนองต่อความต้องการ ของประชาชนในท้องถิ่น
4.การให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการ บริหารงาน
5.ความซื่อสัตย์ เป็นธรรม โปร่งใส มิติที่ 6 ความมีจริยธรรมและเคารพกฎหมาย
กระบวนทัศน์เพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน ปัจจัยนําเข้า (Inputs) ได้แก่ ประโยชน์สาธารณะ (ความต้องการหรือ ข้อเรียกร้องของชุมชน/ท้องถิ่น) กระบวนการ (Process) ได้แก่
1.กําหนดนโยบาย นํานโยบายไปปฏิบัติ และประเมินนโยบาย
2.บริหารจัดการตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง
3.บริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้เก่ียวข้อง 4) บริหารที่มุ่งบรรลุเป้าหมายผลผลิต (Outputs) ได้แก่ ผลการนํา นโยบายไปปฏิบัติผลลัพธ์ (Outcome) คือ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง
This comment has been removed by a blog administrator.
ส.อ.เดชา มั่นรอด 64423471142
Assignment 1. Grueing ระบุว่าองค์ประกอบหลักของการบริหารราชการสมัยใหม่ในฐานะโครงสร้างคือแนวคิดของ "การปกครอง" นี่หมายถึงวิธีการจัดการสถาบันของรัฐและวิธีการตัดสินใจในสังคมประชาธิปไตย รัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่มุ่งเน้นไปที่การส่งเสริมประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความรับผิดชอบในบริการสาธารณะและโครงการต่างๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆ เช่น การพัฒนานโยบาย การจัดทำงบประมาณ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ และการวัดผลการปฏิบัติงาน เป้าหมายสูงสุดของการบริหารราชการสมัยใหม่คือการให้บริการคุณภาพสูงที่ตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของประชาชน
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีล ลักษณะเชิงมนุษยนิยม สนใจทฤษฎีปทัสถาน ปรัชญา และปฏิบัตินิยม กล่าวคือให้ความสนใจศึกษาเกี่ยวกับเกี่ยว ค่านิยม ศีลธรรม ความเป็นมนุษย์มากขึ้น และเน้นการพัฒนาองค์การในรูปแบบใหม่ ให้เป็นองค์การเชิงริเริ่มสร้างสรรค์และบุกเบิกทดลองในการพยายามตอบสนอง ความต้องการของประชาชน รวมทั้งแนวคิดการจัดองค์การสาธารณะที่มุ่งรับใช้ให้บริการแก่ประชาชน ให้ความสนใจต่อประชาชนผู้รับบริการมากขึ้น
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสู่ขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
1.ส่งผลให้ศาสตร์สาขาวิชาได้ถูก พัฒนาและเกิดการทบทวนองค์ความรู้ในการอธิบายการบริหารงานภาครัฐ ทำให้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐ นั้นได้ถูกจำแนกตามจุดสนใจ ทั้งในด้านการค้นหาหลักการบริหารภาครัฐและการศึกษาประเด็นสาธารณะร่วมสมัย สืบเนื่องจากแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่นั้น ได้ขยายขอบเขตการศึกษาการบริหารงานของ ภาครัฐให้กว้างขึ้น จนกระทั่งการการปฏิรูประบบราชการที่เกิดขึ้นทั่วโลก ภายใต้อิทธิพลของแนวคิดการจัดการ ภาครัฐแนวใหม่ ได้น ามาสู่การศึกษาการบริการสารธารณะแนวใหม่เพื่อลดช่องว่างหลักการบริหารภาครัฐ โดย มุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของภาคพลเมืองในการด าเนินสาธารณกิจต่างๆ ร่วมกับภาครัฐและภาคเอกชนภายใต้ หลักการบริหารแบบประชาธิปไตย
2. ส่งผลให้ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ที่มุ่งประเด็นไปที่การศึกษาหลักธรรมภิบาล (good governance) ในการบริหารงานของภาครัฐ การจัดการแบบเครือข่าย (network governance) เช่น องค์การ ไม่แสวงหากำไร (nonprofit organization) อาสาสมัคร(volunteer)
3. การบริหารจัดการองค์การร่วม สมัย (contemporary organization theory) เช่น การสร้างความร่วมมือในองค์การ (collaboration) ทุนมนุษย์ (human capital) (วัชรพล ศุภจักรวัฒนจา และวัชรพล พุทธรักษา, 2561) นอกจากนี้แนวโน้มการศึกษาของ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ภายใต้บริบทการพัฒนาในยุคอุตสาหกรรมดิจิตอล ขอบเขตของการศึกษา การบริหารงานภาครัฐจะขยายประเด็นไปถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการด าเนินสาธารณกิจของภาครัฐ เช่น การจัดการข้อมูล การน าระบบอิเล็กทรอนิกส์ในการด าเนินการบริหารงานภาครัฐ (e-government) เป็นต้น รวมไปถึงการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ
จ.อ.พีรศักดิ์ แววไธสง 64423471199
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
ตอบ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม ่ เป็นการนำแนวคิดการบริหารงานจัดการภาครัฐ
และภาคเอกชนความต้องการของประชาชน ปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารงานภาครัฐให้ตอบสนอง
ความต้องการของประชาชนที่มีความหลากหลายมากขึ้น โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาทุจริต การจัดทำ
นโยบายสาธารณะที่มีผลประโยชน์ทับซ้อน กำหนดแนวคิดพื้นฐานการบริหารจัดการภาครัฐ สร้างการ
เปลี่ยนแปลงระบบต่าง ๆ ของภาครัฐให้เป็นรูปธรรม เลือกแนวทางการบริหารจัดการ ดังต่อไปนี้
1. การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน ตรงความต้องการของประชาชน
2. คำนึงถึงคุณธรรม องค์การคุณธรรมพร้อมรับการตรวจสอบ จัดงานบริหารสอดคล้องกับ
บริบทประชาชน ลดการต่อต้านให้น้อยสุด
3. รัฐพึงทำบทบาทเฉพาะที ่รัฐให้เกิดการจัดการภาครัฐ สามารถนำความก้าวหน้าของ
เทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดงานบริการสาธารณะให้เป็นรากฐาน 2 แนวคิดหลัก
3.1 เศรษฐศาสตร์เชิงสถาบันใหม ่ (News Institutional Economics) แนวคิดความ
เชื ่อมโยงการปฏิรูประบบการบริหารการจัดการคือการแข ่งขันทางเลือกผู้รับบริการ ความโปร ่งใส
คุณธรรม โครงสร้างระบบสิ่งจูงใจการอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่าง ความไม่เท่าเทียม เนื่องจาก
ความไม่เท่าเทียมทำให้เกิดการนำความต้องการไปดำเนินการบริหารจัดการ
3.2 การจัดการนิยม (Managerial) คือการนำเอาแนวทางการจัดการแบบธุรกิจนำมา
ปรับใช้ในภาครัฐโดยเน้นการจัดการแบบมืออาชีพมีดัชนีวัดความสำเร็จให้อำนาจในการให้ดุลยพินิจ
และความอิสระในการจัดการ สร้างวัฒนธรรมที่เหมาะสม คุณธรรมองค์การ
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ตอบ การปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐโดยนำหลักการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการและการแสวงหาประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ โดยการนำเอาแนวทางหรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้กับการบริหารงานภาครัฐ เช่น การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ การบริหารงานแบบมืออาชีพ การคำนึงถึงหลักความคุ้มค่า การจัดการโครงสร้างที่กะทัดรัดและแนวราบ การเปิดโอกาสให้เอกชนเข้ามาแข่งขันการให้บริการสาธารณะ การให้ความสำคัญต่อค่านิยม จรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรมและจริยธรรม ตลอดทั้งการมุ่งเน้นการให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ
จ.อ.พีรศักดิ์ แววไธสง 64423471199
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสู่ขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ 1.ส่งผลให้ศาสตร์สาขาวิชาได้ถูก พัฒนาและเกิดการทบทวนองค์ความรู้ในการอธิบายการบริหารงานภาครัฐ ทำให้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐ นั้นได้ถูกจำแนกตามจุดสนใจ ทั้งในด้านการค้นหาหลักการบริหารภาครัฐและการศึกษาประเด็นสาธารณะร่วมสมัย สืบเนื่องจากแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่นั้น ได้ขยายขอบเขตการศึกษาการบริหารงานของ ภาครัฐให้กว้างขึ้น จนกระทั่งการการปฏิรูประบบราชการที่เกิดขึ้นทั่วโลก ภายใต้อิทธิพลของแนวคิดการจัดการ ภาครัฐแนวใหม่
2. ส่งผลให้ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ที่มุ่งประเด็นไปที่การศึกษาหลักธรรมภิบาลในการบริหารงานของภาครัฐ การจัดการแบบเครือข่ายเช่น องค์การไม่แสวงหากำไร
3. การบริหารจัดการองค์การร่วมสมัย เช่น การสร้างความร่วมมือในองค์การทุนมนุษย์ นอกจากนี้แนวโน้มการศึกษาของ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ภายใต้บริบทการพัฒนาในยุคอุตสาหกรรมดิจิตอล ขอบเขตของการศึกษา การบริหารงานภาครัฐจะขยายประเด็นไปถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการดำเนินสาธารณกิจของภาครัฐ เช่น การจัดการข้อมูลการนำระบบอิเล็กทรอนิกส์ในการดำเนินการบริหารงานภาครัฐ เป็นต้น รวมไปถึงการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ
ส.ท.สุชาติ ทองทา 64423471165
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง

รัฐประศาสนศาสตร์ในแนวทางใหม่ ผ่านตำราเล่มสำคัญและวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกได้พัฒนาทฤษฎีการตัดสินใจที่ให้มโนทัศน์ใหม่ความมีเหตุผลที่จำกัดความไม่สมบูรณ์ของข่าวสารความคลุมเครือในเป้าหมายข้อจำกัดทางทรัพยากรกลยุทธ์การตัดสินใจตามความพอใจ เป็นต้น ตลอดจนแบ่งศาสตร์ออกเป็น ศาสตร์บริสุทธิ์และศาสตร์ประยุกต์ และด้วยการมีมุมมองเช่นนี้ เขาจึงกล่าวว่า ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นวัตถุวิสัยสามารถนำไปใช้ในการควบคุมสิ่งแวดล้อมทางสังคม
แนวคิดในรัฐประศาสนศาสตร์ ประกอบด้วย 3 สำนักคิด คือ รัฐประศาสนศาสตร์
แนวคลาสสิกรัฐประศาสนศาสตร์ แนวนีโอคลาสสิก และ รัฐประศาสนศาสตร์ แนวใหม่ซึ่งเป็น
การรวมตัวของแนวคิดจากขบวนการเคลื่อนไหวมนุษย์สัมพันธและรัฐประศาสนศาสตร์ที่มุ่งเน้นการเมืองต่างมองเห็นสังคมว่า เต็มไปด้วยการแบ่งแยก
กีดกัน ความอยุติธรรม และความไม่เสมอภาค อีกทั้งตัวทฤษฎีทาง
รัฐประศาสนศาสตร์ที่เกี่ยวกับการบริหารแยกจากการเมือง การแบ่งแยก
ข้อเท็จจริงออกจากคุณค่า และความสามารถในการตรวจสอบได้แบบ
ประชาธิปไตยแบบตัวแทนต่างส่งเสริมให้เกิดการกดทับและความแปลกแยกดังนั้น ผู้เข้าร่วมประชุมครั้งนี้จึงผลักดันให้เกิดการปรับจุดเน้นใหม่ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ โดยเห็นว่ารัฐประศาสนศาสตร์ควร
ถอยห่างจากการมุ่งแสวงหาการบริหารที่มีประสิทธิภาพไปสู่การศึกษาเชิงโครงสร้างประชาธิปไตยทั้งภายในและภายนอกองค์การภาครัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเด็นเรื่องความเสมอภาคทางสังคม สำหรับ
พวกเขาแล้ว เป้าหมายขององค์การสาธารณะ คือ การบรรเทาความทุกข์ทรมานจากเศรษฐกิจ สังคม และทางกายภาพ และส่งเสริมโอกาสในการดำรงชีวิตทั้งภายในและภายนอกองค์การ

Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน

ที่สำคัญจากปัญหาของระบบราชการไทยที่มีหลายประการและสั่งสมมานาน และกระแสโลกาภิวัตน์ส่งผลให้สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกประเทศ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การลดความเหลื่อมล้ าที่เน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืน และทั่วถึงเป็นธรรม การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ภายใต้ปัจจัยด้านต่างๆและการเปลี่ยนแปลงในสภาวะแวดล้อมของประเทศความต้องการและความคาดหวังต่อการได้รับบริการจากภาครัฐเพิ่มสูงขึ้น ตลอดจนการมุ่งแก้ไขปัญหาที่สั่งสมมาของระบบราชการไทยในเรื่องโครงสร้างนวัตกรรม กฎหมาย กฎระเบียบ ที่เป็นอุปสรรค และ
ซ้ำซ้อนไม่ทันสมัย ทั้งนี้ได้กำหนดแผนกลยุทธ์และมาตรการในการพัฒนาระบบราชการ ได้แก่
1) การลดขั้นตอนและระยะเวลาในการปฏิบัติราชการ
2) การปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนให้เป็นที่ยอมรับ ปรับปรุง แก้ไข ยกระดับ และพัฒนากฎหมาย ระเบียบ ขั้นตอนการให้บริการการอำนวยความสะดวก และมาตรฐานของส่วนราชการ
3) การพัฒนาขีดสมรรถนะและศักยภาพของข้าราชการการน าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาใช้ในการให้บริการประชาชนการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนจากการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการและการทุจริตคอร์รัปชัน
4) การบูรณาการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานและภาคส่วนต่าง ๆ โดยยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ
ราชการจึงได้กำหนดให้ปรับปรุงกลไกภาคราชการให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส สามารถตอบสนอง
ความต้องการของประชาชนได้ และก่อให้เกิดความเชื่อมั่น ศรัทธาต่อการท างานของภาคราชการเพิ่มขึ้น
ซึ่งจะเอื้อต่อการเสริมสร้างรากฐานที่เข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และสังคมในการพัฒนาประเทศ และพร้อม
ที่จะรองรับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคต

Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง

ในปัจจุบันรัฐประศาสนศาสตร์ได้ให้ความสำคัญกับการศึกษาการบริหารงานของภาครัฐ ที่ขยาย
ขอบเขตสอดคล้องกับประเด็นร่วมสมัย ซึ่งในอนาคตการศึกษาการบริหารงานภาครัฐจะปรับเปลี่ยนไปตามกระแสการพัฒนามากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปลี่ยนแปลงของบริบทการพัฒนาที่เข้าสู่ยุคอุตสาหกรรมดิจิตอล ทั้งด้านการศึกษาเทคโนโลยีดิจิตอลและการสร้างนวัตกรรมที่ใช้ในการบริหารงานภาครัฐ
โดยพัฒนาการศึกษาการบริหารงานของภาครัฐถูกแบ่งออกเป็น 3 ยุคใหญ่ ที่มีการท้ายทายและ
เปลี่ยนแปลงองค์ความรู้ในการศึกษาการบริหารงานของภาครัฐ คือ ยุคแรก ยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2
(1887-1926) แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์จะมุ่งเน้นไปถึงการค้นหาหลักการบริหารที่มุ่งนำ ไปใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของภาครัฐ

1163 said…
จ.ส.อ.เอกสิทธิ์ กตะศิลา รหัส 64423471163
1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
-รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ มีมาตรฐานวัดได้ ใช้กลไกการตลาดเปิดโอกาสในการแข่งขันทั้งภาคเอกชนและภาค ประชาชนในการเข้าร่วมการลงทุนอย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ การให้บริการที่ตอบสนองต่อความ ต้องการของประชาชน ดังนั้นเพื่อให้ระบบราชการมีความสอดคล้องกับแนวคิดการปฏิรูประบบราชการ ควรมีลักษณะ คือ รัฐจะมีบทบาทหน้าที่เฉพาะในส่วนที่ จำเป็นจะต้องทำเท่านั้นเพื่อเปิดโอกาสให้ ประชาชนและชุมชนมีบทบาทมากขึ้น มีการบริหารจัดการภายในภาคราชการที่มีความรวดเร็ว คุณภาพสูง และมีประสิทธิภาพ มีการจัดองค์กรที่มีความกะทัดรัดคล่องตัวและปรับเปลี่ยนได้อย่างรวดเร็วเน้นการทำงานที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือตามลักษณะของการทำงานที่ทันสมัยใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมต่อการทำงานมีการพัฒนาสมรรถนข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีคุณภาพสูง ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์โดยมีประชาชนเป็นเป้าหมายมีกลไกการบริหารงานบุคคล ที่หลากหลายมีระบบค่าตอบแทนที่เป็นธรรมเพื่อเปิดโอกาสให้บุคคลที่มีความรู้ความสามารถเต็มใจมารับราชการอย่างมืออาชีพมีวัฒนธรรมองค์กรและมีบรรยากาศในการทำงานแบบมีส่วนร่วม มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ดังนั้น การบริหารจัดการภาครัฐเป็นนวัตกรรมทางการบริหารอย่างหนึ่งเพื่อดำเนินการ ขับเคลื่อนการปฏิรูประบบให้ได้มีการประยุกต์ใช้เป็นหลักคิด หลักปฏิบัติ โดยมีเป้าประสงค์ หลักของการพัฒนาระบบคือ พัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนที่ดีขึ้น ปรับบทบาท ภารกิจให้มีความเหมาะสม ยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทำงานให้เทียบเท่าเกณฑ์สากล
1163 said…
จ.ส.อ.เอกสิทธิ์ กตะศิลา รหัส 64423471163
2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
-รัฐประศาสนศาสตร์มีโฉมหน้าเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากสิ่งที่เคยศึกษากันในเรื่องของการจัดองค์การและระบบการบริหารราชการภาครัฐแบบดั้งเดิมอาจไม่เพียงพอต่อการจัดระบบการบริหารงานภาครัฐให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนที่มีลักษณะเป็นพลวัตรมากขึ้นอีกต่อไป ความเข้าใจถึงองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่จะช่วยเพิ่มศักยภาพของระบบการบริหารภาครัฐในการตอบสนองต่อผลประโยชน์สาธารณะจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง การปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐ โดยนำหลักการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการและการแสวงหาประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ เช่น การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์การบริหารงานแบบมืออาชีพ การคำนึงถึงหลักความคุ้มค่า การให้ความสำคัญต่อค่านิยม จรรยาบรรณวิชาชีพ ตลอดทั้งการมุ่งเน้นการให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ ลักษณะสำคัญของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ แม้จะมีนักวิชาการแสดงทัศนะไว้อย่าง หลากหลาย แต่นักวิชาการรุ่นแรก ๆ ที่นำเสนอแนวคิดนี้ได้อย่างครอบคลุมโดยสรุปลักษณะสำคัญของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ มีความเชื่อว่าการบริหารงานมีลักษณะความเป็นสากลสภาพ หรือไม่มีความแตกต่าง อย่างเป็นนัยสสำคัญระหว่างการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชน และการบริหารงานภาครัฐปรับเปลี่ยนการให้น้ำหนักความสำคัญจากเดิมที่มุ่งเน้นการควบคุมทรัพยากร และกฎระเบียบ เป็นเรื่องของการควบคุมผลผลิตและผลลัพธ์ หรือปรับเปลี่ยนจากการให้ความสำคัญ ในภาระรับผิดชอบต่อกระบวนงานไปสู่ภาระรับผิดชอบต่อผลสัมฤทธิ์ให้ความสำคัญต่อเรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบายโอนถ่ายอำนาจการควบคุมของหน่วยงานส่วนกลางเพื่อให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงาน ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่โดยแบ่งออกเป็น 3 ภารกิจ ได้แก่ งานเชิงพาณิชย์ (การก ากับดูแล ควบคุม) งานเชิงพาณิชย์ (การก ากับดูแล ควบคุม) และงานเชิงนโยบายและการให้บริการ เพื่อให้องค์การมีขนาดเล็กลงในรูปแบบของหน่วยงานอิสระในกำกับเน้นการบริหารกิจการของรัฐเป็นรูปแบบเอกชนและให้มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอกรวมทั้งบูรณาการวิธีการจัดจ้างและการประมูลงานเพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและลดต้นทุน ในเรื่องการทำสัญญาจ้างปรับให้เป็นระยะสั้น กำหนดเงื่อนไข ข้อตกลงให้มีความชัดเจนสามารถตรวจสอบได้นำรูปแบบการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชนที่ประสบความสำเร็จมาประยุกต์ใช้ เช่น การบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารคุณภาพเชิงรวม การจ่ายรางวัลค่าตอบแทนตามผลงาน การจัด จ้างบุคคลภายนอกให้เข้ามาปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวเฉพาะกิจการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารงานมีการสร้างแรงจูงใจในองค์การ เช่น การจ่ายตอบแทนในรูปของตัวเงินมากขึ้นเพื่อเป็นรางวัล พยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต เพื่อให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณที่คุ้มค่า ดังนั้นลักษณะสำคัญของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ เป็นการปรับเปลี่ยนกาควบคุมผลผลิตและผลลัพธ์ มีความเป็นสากล ให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหาร และให้ความสำคัญต่อเรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบาย ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่ให้มีขนาดเล็กลง รวมทั้งการประยุกต์ใช้วิธีการจัดจ้างและการแข่งขันประมูลงานเพื่อลดต้นทุนมีการสร้างแรงจูงใจ และให้รางวัลตอบแทนมากขึ้น สร้างระเบียบวินัยและความประหยัดในการใช้จ่ายเงินงบประมาณ โดยพยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต พัฒนางานบริการส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐพัฒนาระบบการเชื่อมโยงงานบริการซึ่งกันและ กันสู่ความเป็นเลิศ โดยออกแบบการบริการที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางนำเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเข้ามาใช้ในการให้บริการประชาชนยกระดับการดำเนินงานของศูนย์บริการร่วมด้วยการเชื่อมโยงและบูรณาการกระบวนงานบริการที่หลากหลายจากส่วนราชการต่าง ๆ มาไว้ ณ สถานที่ เดียวกันให้สามารถใช้บริการได้ง่ายและหลากหลายรูปแบบเน้นการบริการเชิงรุกที่มีปฏิสัมพันธ์โดยตรงระหว่างภาครัฐและประชาชนการให้บริการแบบเบ็ดเสร็จอย่างแท้จริงพัฒนาระบบการจัดการข้อร้องเรียนและแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนอย่างจริงจังโดยเน้นการจัดการเชิงรุกอย่างมี ประสิทธิภาพรวมทั้งเสริมสร้างวัฒนธรรมการบริการที่เป็นเลิศ โครงสร้างองค์การที่มีความทันสมัย ลดความซ้ำซ้อน มีความยืดหยุ่นสามารถปรับตัวได้อย่างต่อเนื่องปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการทำงานเน้นการคิดริเริ่มสร้างสรรค์พัฒนโครงสร้างพื้นฐานหลักโดยการจัดระบบงานอิเล็กทรอนิกส์พัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากรในองค์การนำรูปแบบการใช้บริการ ร่วมกันเพื่อประหยัดทรัพยากร ลดค่าใช้จ่าย ยกระดับคุณภาพมาตรฐานและเพิ่มประสิทธิภาพ การทำงานของหน่วยงานของรัฐ สร้างความรับผิดชอบต่อสังคม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน
1163 said…
จ.ส.อ.เอกสิทธิ์ กตะศิลา รหัส 64423471163
3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
-ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาการบริหารงานภาครัฐเกิดปรากฏการณ์การท้าทาย ทั้งในรูปแบบของแนวคิดทฤษฎี และหลักปฏิบัติทางการบริหาร เนื่องจากบริบทการพัฒนาตามกระแสโลกนั้นดำเนินอย่างเป็นพลวัต ส่งผลให้แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์เปลี่ยนแปลงไปตามบริบทการพัฒนา นำไปสู่การสร้างเงื่อนไขในการพัฒนาระเบียบ องค์ความรู้ แนวคิด ทฤษฎี และหลักการ ให้สอดคล้องกับบริบทการพัฒนาและปรากฏการณ์การบริหารงานภาครัฐของแต่ละยุคสมัย รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ได้ส่งผลต่อการปฏิรูปการบริหารงานของ ภาครัฐและระบบราชการ โดยมีการนำนวัตกรรมทางการจัดการในภาคเอกชนเข้ามาปรับปรุงการบริหารงานของ ภาครัฐก่อให้เกิดเป็นแนวทางการบริหารงานภาครัฐแนว และได้กลายเป็นแม่แบบการปฏิรูปการบริหารงานภาครัฐและระบบราชการที่เกิดขึ้นทั่วโลกเนื่องจากรัฐบาลในหลายประเทศต่างเผชิญหน้ากับปัญหาวิกฤติทางเศรษฐกิจ ระบบราชการที่มีขนาดใหญ่ และรายได้จากภาษีที่ลดลง ซึ่งแนวทางดังกล่าวนี้ปรับเปลี่ยนมุมมองที่มี ต่อประชาชนใหม่ในฐานะที่เป็น ลูกค้า และความเป็นลูกค้านี้ได้เป็นเปูาประสงค์สำคัญในการให้บริการของภาครัฐดงนั้นภาครัฐจึงต้องการแสวงหารายได้เพิ่มเติมจากประชาชนทั้งใน รูปแบบของสินค้าและการบริการสาธารณะ อีกทั้งยังเป็นการลดการลงทุนจากภาครัฐโดยให้ภาคเอกชนเข้ามาร่วม ลงทุนและผลิต แทนภาครัฐที่แต่เดิมต้องรับภาระในการดำเนินการบริการสาธารณะ แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่นี้จึงก่อให้เกิดการ บริหารงานภาครัฐในรูปแบบใหม่ ที่เน้นความผสมผสานเทคนิคและวิธีการบริหารระหว่างแนวคิดแบบระบบราชการและเทคนิคการจัดการของภาคเอกชนมากขึ้น เช่น การแปรรูปรัฐวิสาหกิจการจ้างเหมา สัมปทาน เป็นต้น พร้อมกับเทคโนโลยีเป็นตัวแปรสำคัญให้ระบบเศรษฐกิจและการบริหารงานของภาครัฐมีความเปลี่ยนแปลงไป ภาครัฐมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับตัวให้เข้ากับการบริหารงานขององค์การภาคเอกชน ด้วยการสร้างเครือข่าย ความร่วมมือจากภาคเอกชน ในการนำแนวคิดและนวัตกรรมของภาคเอกชนมาปรับใช้ร่วมกับการบริหารงานของ ภาครัฐ ดังนั้นแนวคิดและเทคนิคการบริหารจัดการแบบภาคเอกชนจึงกลับเข้ามีบทบาทอีกครั้งการมีส่วนร่วมในการบริหารของรัฐและมีบทบาทสำคัญในการปฏิบัติตาม นโยบายสาธารณะ มากกว่าเพียงเป็นผู้รับผลประโยชน์จากนโยบายเท่านั้น มุ่งให้ความสำคัญกับการให้บริการสาธารณะของภาครัฐที่ให้ ความสำคัญกับความเสมอภาคและการเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ขอบเขตการแสวงหาองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ถูกพัฒนาขึ้นการพัฒนาตามแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่ให้ความสำคัญกับบทบาทของภาครัฐที่มีต่อภาคประชาชนในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่ง ของผู้ขับเคลื่อนการบริการสาธารณะของภาครัฐ ด้วยหลักของการมีส่วนร่วมในการบริหารงานภาครัฐ รัฐประศาสนศาสตร์ในปัจจุบันมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆและเป็นไปอย่างยืดเยื้อหรือค่อยๆ เปลี่ยนไปโดยได้รับอิทธิพลจากหลายๆปัจจัยคือการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง กฎหมายและเทคโนโลยีรวมไปถึงอิทธิพลเทคนิคการจัดการแนวโน้มของการบริหารภาครัฐแนวโน้มการบริหารภาครัฐซึ่งเป็นตัวกำหนดค่านิยมและทิศทางการบริหาร
ส.อ.ธีรวัฒน์ หอมดี 64423471045
Assignment 1.Gruening ได้เรียก รัฐประศาสนศาสตร์แนวนี้โอคลาสสิก (Neoclassic public administration) ผ่านตำราเล่มสำคัญและ วิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของเขา คือ 'Administrative Behavior: A Study of Decision-Making in Administrative Organization' (1947) ได้พัฒนา ทฤษฎีการตัดสินใจที่ให้มโนทัศน์ใหม่ อาทิ ความมีเหตุผลที่จำกัด (Bounded rationality) ความไม่สมบูรณ์ของข่าวสาร (Incomplete information) ความคลุมเครือในเป้าหมาย (Goal ambiguity) ข้อจำกัดทางทรัพยากร (Resource limitations) กลยุทธ์การตัดสินใจตามความพอใจ (Satisficing strategy ) เป็นต้น นอกจากนี้ Simon ยังได้แบ่ง ข้อเท็จจริง ออกจาก 'การตัดสินเชิงคุณค่า' ตลอดจนแบ่งศาสตร์ออกเป็น ศาสตร์บริสุทธิ์ และศาสตร์ประยุกต์ และด้วยการมีมุมมองเช่นนี้ เขาจึงกล่าวว่า ความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ที่เป็นวัตถุวิสัยสามารถนำไปใช้ในการควบคุมสิ่งแวดล้อมทางสังคม
ได้ แนวคิดของ Simon มีอิทธิพลอย่างมากต่อการศึกษาพฤติกรรมและการตัดสินใจใน
องค์การเชิงบริหาร และได้สร้างศัพท์วิชาการใหม่ ๆ และวิธีวิทยาทางการวิจัยที่มีลักษณะแม่นยำมากขึ้น โดยอาศัยฐานความคิดจากสำนักพฤติกรรมศาสตร์
สำนักโครงสร้าง-หน้าที่นิยมและทฤษฎีระบบ เป็นสำคัญ

Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
การบริการสาธารณะแนวใหม่ กับรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ นั้นมีความเหมือนกันมากไม่ว่าจะเป็นการเน้นการมีส่วนร่วมของพลเมือง ความเป็นประชาธิปไตย บทบาทของนักบริหารรัฐกิจในการเปลี่ยนแปลงสังคมค่านิยมการบริหารที่ไม่ใช่เฉพาะเรื่องประสิทธิภาพ และความประหยัดเท่านั้น แต่ยังให้ความสำคัญกับเรื่องความเท่าเทียม ความรับผิดชอบได้ จริยธรรมในการบริหาร ซึ่งความคล้ายคลึงกันนี้ทาให้มองได้ว่าแนวคิดทั้งสองเป็นกลุ่มแนวคิดเดียวกันเป็นแนวคิดเชิงปทัสถานที่ปฏิเสธ ฐานนิยมทางตรรกะ เหมือนกัน เพียงแต่ NPS มาขยายรายละเอียดของNPA เพิ่มขึ้นในหลายๆ ประเด็นเท่านั้น โดย NPS มีระดับในเรื่องการค้นหาความต้องการหรือความจาเป็นของพลเมือง ตลอดจนเรื่องประชาธิปไตยที่มีระดับที่เพิ่มมากขึ้นกว่าNPA และยังพบอีกว่า NPA ถือเป็นหนึ่งในแนวคิดที่เป็นรากฐานของNPS

Assignment 3. แนวโน้มทำให้วิชารัฐประศาสนศาสตร์ ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อลดช่องว่างหลักการบริหารของภาครัฐ ภายใต้อิทธิพลแนวใหม่ ที่มุ่งเน้นความร่วมมือไปที่ประชาชน ส่งผลให้ ประศาสนศาสตร์มุ่งเน้น ไปที่การศึกษาการบริหารงานภาครัฐ
ส.อ.ธีรวัฒน์ หอมดี 64423471045
(ส่งซ้ำเนื่องจากอันแรกลืมใส่ชื่อครับ)

assignment ที่ 1 https://drive.google.com/file/d/1CvodEBkjU10qwADKFaE-C9esl8aN3Ez_/view?usp=sharing

assignment ที่ 2
การให้บริการภาครัฐผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ในเทคโนโลยีในตอนนี้ หลายประเทศได้ให้ความสำคัญกับการให้บริการภาครัฐผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ทำให้ การจัดการบริการต่าง ๆ ของภาครัฐให้กับประชาชนผ่านช่องทางออนไลน์ เพื่อเป็นการเพิ่มช่องทางให้กับประชาชนในการติดต่อและขอรับบริการจากภาครัฐ ซึ่งช่องทางดังกล่าวสามารถตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวกรวดเร็ว อย่างเช่นการร้องเรียนผ่านแอพพลิเคชั่น Traffy Fondue (ทราฟฟี่ ฟองดูว์) เป็นแพลตฟอร์มที่จัดทำขึ้นผ่านช่องทางแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับให้ประชาชนไว้แจ้งปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง เพื่อให้การแก้ไขปัญหาเป็นไปอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นปัญหาความสะอาด ปัญหาทางเท้า ไฟส่องสว่าง หรือถนนชำรุด อีกทั้งเป็นการแจ้งปัญหาด้วยการระบุข้อมูลอย่างชัดเจน ทั้งภาพถ่าย หรือตำแหน่งบนแผนที่ ซึ่งจะช่วยอำนวยความสะดวกให้หน่วยงานสามารถดำเนินการแก้ปัญหาได้ทันท่วงที และไม่เสียเงิน

assignment ที่ 3
หลักๆก็คือ ต้องโปร่งใส สามารถ ตรวจสอบได้ ประชาชนมีส่วนร่วมในการช่วยและมีบทบาท เป็นการบริหารงานที่ มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ มีมาตรฐานวัดได้ ใช้กลไก เปิดโอกาสในการแข่งขันทั้งภาคเอกชนและภาคประชาชนในการเข้าร่วมการลงทุนอย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ การให้บริการที่ตอบสนองต่อความ ต้องการของประชาชน ดังนั้นเพื่อให้ระบบราชการมีความสอดคล้องกับแนวคิดการปฏิรูประบบราชการ ควรมีลักษณะ คือ รัฐจะมีบทบาทหน้าที่เฉพาะในส่วนที่จำเป็นจะต้องทำเท่านั้นเพื่อเปิดโอกาสให้ ประชาชนและชุมชนมีบทบาทมากขึ้น มีการบริหารจัดการภายในภาคราชการที่มีความรวดเร็ว คุณภาพสูง และมีประสิทธิภาพ มีการจัดองค์กรที่มีความกะทัดรัดคล่องตัวและปรับเปลี่ยนได้อย่าง รวดเร็ว เน้นการทำงานที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือตามลักษณะของการทำงานที่ทันสมัย ใช้อุปกรณ์ที่ เหมาะสมต่อการทำงาน มีการพัฒนาสมรรถนะข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีคุณภาพสูง ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์โดยมีประชาชนเป็นเป้าหมาย มีกลไกการบริหารงานบุคคล ที่หลากหลาย มีระบบค่าตอบแทนที่เป็นธรรมเพื่อเปิดโอกาสให้บุคคลที่มีความรู้ความสามารถเต็มใจมารับราชการอย่างมืออาชีพ มีวัฒนธรรมองค์กรและมีบรรยากาศในการทำงานแบบมีส่วนร่วม มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้

assignment ที่ 4
4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง สำนักงานบริหารงานทั่วไปของสหรัฐ ได้นำ เสนอกรอบการจัดระเบียบ การบริหารการคลังไว้โดยมีการกำหนดประเด็นสำคัญๆ ที่จะทำ ให้การบริหารการคลังภาครัฐประสบความสำเร็จ ประกอบด้วย ทั้ง 4 ขอบข่าย ดังนี้
-การจัดการและการคัดเลือกผู้นำ ประกอบด้วยวัตถุประสงค์และความต้องการ , ด้านผู้นำ
-การจัดการงานบุคคล ประกอบด้วย ส่งเสริมจริยธรรมและการลงทุนในมนุษย์
-นโยบายการวางแผน ประกอบด้วยการวางแผนกลยุทธ์และการจัดการที่มีประสิทธิภาพ
-ข้อมูลข่าวสาร ประกอบด้วย ข้อมูลและเทคโนโลยีที่สนับสนุน และการเก็บรักษาความลับ
4.2ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ปัจจัยความสำเร็จในการพัฒนาหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลังขององค์กร ต้น แบบที่ดีภาครัฐทั้ง 6 องค์กร ส่วนใหญ่เป็น ปัจจัยด้านรูปแบบ และด้านการจัดบุคคล เข้าทำงาน ซึ่งประกอบด้วย 1.การเป็น แบบอย่างที่ดีของผู้นำ 2.การเปิดโอกาส ให้ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการ เสนอความคิด เห็นและปัญหา และ 3 มี กิจกรรมและการอบรมการนำหลักธรรมาภิบาลมา ใช้ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง
จ.ส.อ.นิวัฒน์ ราชบุตร 64423471180 รุ่น 49 ห้อง 4
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
ตอบ ในทัศนะของ Grueing มองว่าทฤษฎีการจัดการ สาธารณะ โดยเฉพาะการจัดการภาครัฐแนวใหม่ที่มีการสร้างแขนงวิชาในช่วง ทศวรรษที่ 1970s ประกอบสร้างจากรัฐประศาสนศาสตร์แนวนีโอคลาสสิก ซึ่งแตกออกเป็นทฤษฎีการจัดการสาธารณะใน 2 กลุ่ม คือ
1 กลุ่มที่มุ่งไปสู่รูปแบบการจัดการเชิงกลไกหรืออย่างมีเหตุผลที่เน้นการจัดการตามเป้าหมาย เทคนิคการวัดผลการปฏิบัติงานและการตรวจสอบ (Henry, 1990) การตลาดภาครัฐ (Kotler, 1975) และการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Wechsler and Backoff, 1986) แนวการศึกษาอย่างมีเหตุผลเน้นการเก็บรวบรวมข้อมูลและ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาคำตอบที่เหมาะสมให้กับปัญหาทางการจัดการสาธารณะ อีกทั้งยังเน้นการวัดผลการปฏิบัติงานและให้รางวัลบนพื้นของการบริหาร มุ่งผลสัมฤทธิ์
2 กลุ่มที่มุ่งไปสู่รูปแบบการจัดการเชิงมนุษย์นิยม หรือการจัดการที่มององค์การเป็นสิ่งมีชีวิตโดยการจุดประกายทางความคิดจาก ผลงานของ Peters และ Waterman (1982) ที่แสดงให้เห็นว่าบริษัทอเมริกัน ที่ดีที่สุดและประสบความสำเร็จมากที่สุดต่างมิได้ใช้รูปแบบการจัดการเชิงกลไกอย่างมีเหตุผลแต่ประการใด ในทางตรงข้ามบริษัทเหล่านี้ต่างใช้โครงสร้างแบบ มีชีวิตกลยุทธ์เชิงมนุษย์นิยม และวัฒนธรรมอย่างข้น อาทิ การสร้างวัฒนธรรมองค์การใน รูปของความรู้ ความเชื่อ ศีลธรรม ประเพณี ศิลปะ ตลอดจนกฎระเบียบต่าง ๆ ที่เป็นที่ยอมรับร่วมกันในองค์การ ต่อลูกจ้างของตน เป็นการปรับเปลี่ยนไปสู่ รูปแบบการบริหารเชิงมนุษย์นิยมมากขึ้น โดยอาศัยเทคนิคต่าง ๆ อาทิ การพัฒนาองค์การการจัดการคุณภาพโดยรวมการจัดการเชิงกลยุทธ์ที่เน้นวัฒนธรรม เป็นต้น
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ตอบ ลักษณะสำคัญของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ แม้จะมีนักวิชาการแสดงทัศนะไว้อย่าง หลากหลาย แต่นักวิชาการรุ่นแรกๆที่นำเสนอแนวคิดนี้ได้อย่างครอบคลุมที่สุดคือ โจนาธาน บอสตัน (Jonathan Boston) และคณะ(ทศพร ศิรสัมพันธ์, 2551)โดยสรุปลักษณะสำคัญของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ 10 ประการ ดังต่อไปนี้
1. มีความเชื่อว่าการบริหารงานมีลักษณะความเป็นสากลสภาพ หรือไม่มีความแตกต่าง อย่างเป็นนัยสำคัญระหว่างการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชน และการบริหารงานภาครัฐ
2. ปรับเปลี่ยนการให้น้ำหนักความสำคัญจากเดิมที่มุ่งเน้นการควบคุมทรัพยากร และกฎระเบียบ เป็นเรื่องของการควบคุมผลผลิตและผลลัพธ์ หรือปรับเปลี่ยนจากการให้ความสำคัญในภาระรับผิดชอบต่อกระบวนงาน (Process Accountability) ไปสู่ภาระรับผิดชอบต่อผลสัมฤทธิ์ (Accountability for result)
3. ให้ความสำคัญต่อเรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบาย
4. โอนถ่ายอำนาจการควบคุมของหน่วยงานส่วนกลาง (Devolution of Centralized Power) เพื่อให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงาน
5. ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่โดยแบ่งออกเป็น 3 ภารกิจ ได้แก่
5.1 งานเชิงพาณิชย์ (การกำกับดูแลควบคุม)
5.2 งานเชิงพาณิชย์ (การกำกับดูแลควบคุม )
5.3 งานเชิงนโยบายและการให้บริการ เพื่อให้องค์การมีขนาดเล็กลงในรูปแบบของหน่วยงานอิสระในกำกับ
6. เน้นการบริหารกิจการของรัฐเป็นรูปแบบเอกชนและให้มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอกรวมทั้งบูรณาการวิธีการจัดจ้างและการประมูลงาน เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและลดต้นทุน
7. บุคลากรของภาครัฐในเรื่องการทำสัญญาจ้างปรับให้เป็นระยะสั้น กำหนดเงื่อนไข ข้อตกลงให้มีความชัดเจนสามารถตรวจสอบได้
8. นำรูปแบบการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชนที่ประสบความสำเร็จมาประยุกต์ใช้ เช่น การบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารคุณภาพเชิงรวม การจ่ายรางวัลค่าตอบแทนตามผลงาน การจัด จ้างบุคคลภายนอกให้เข้ามาปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวเฉพาะกิจ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการบริหารงาน
9. มีการสร้างแรงจูงใจในองค์การ เช่น การจ่ายตอบแทนในรูปของตัวเงินมากขึ้นเพื่อ เป็นรางวัล
10. พยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต เพื่อให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณที่คุ้มค่าดังนั้นลักษณะสำคัญของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ เป็นการปรับเปลี่ยนการควบคุม ผลผลิตและผลลัพธ์ มีความเป็นสากล ให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหาร และให้ความสำคัญต่อ เรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบาย ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่ ให้มีขนาดเล็กลง รวมทั้งการประยุกต์ใช้วิธีการจัดจ้างและการแข่งขันประมูลงานเพื่อลดต้นทุน มีการสร้างแรงจูงใจ และให้รางวัลตอบแทนมากขึ้น สร้างระเบียบวินัยและความประหยัดในการใช้ จ่ายเงินงบประมาณ โดยพยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต
จ.ส.อ.นิวัฒน์ ราชบุตร 64423471180 รุ่น 49 ห้อง 4
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ หลักการรัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ เป็นแนวคิดที่เกิดขึ้นใหม่ที่เป็นทางเลือก โดยได้เสนอ แนวทางการบริหารจัดการที่สอดคล้องกับความเป็นจริงมากขึ้น สภาพแวดล้อม ในสถานการณ์ปัจจุบัน องค์กรของรัฐที่มีขนาดใหญ่ ปรับตัวได้ยาก จำเป็นที่จะต้องมีรูปแบบการบริหารงานองค์กร ให้ตอบสนองความต้องการในสถานการณ์ปัจจุบัน ทำให้เกิดการปรับตัวของทุกภาคส่วน อย่างไรก็ตาม การนำเสนอแนวทางใหม่ของการทำหน้าที่ทางการบริหารนั้น เฉพาะงานในกรณีของภาครัฐ ขณะที่ บางคนมองหรือคิดว่าการนำแนวทางนี้มาใช้ เป็นเรื่องของการลอกเลียนลักษณะที่ไม่ดีของภาคเอกชน มาใช้โดยไม่ได้พิจารณาถึงความแตกต่างพื้นฐานของสภาพแวดล้อมของภาครัฐ ซึ่งมีลักษณะแตกต่างไป จากภาคเอกชนในขณะที่บางคนมองว่า แนวทางของรัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ อาจขัดกันกับการ ให้บริการลักษณะแบบดั้งเดิม หรือแบบประเพณีนิยม ทั้งนี้ แนวทางชุดความรู้หลักการ รัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ เกิดคำถามตอบ การโต้แย้งทางวิชาการ เช่น คำถามที่ว่าการขัดกัน หรือเป็นปฏิปักษ์ต่อกันนั้นขัดกันหรือเป็นปฏิปักษ์ต่อกันในเรื่องอะไร คำตอบ คือ ขัดกันหรือเป็น ปฏิปักษ์ต่อกันในเรื่องของการส่งมอบบริการ นอกจากนี้ยังไม่มีลักษณะของประชาธิปไตยในขณะที่ ทางด้าน
รัฐประศาสนศาสตร์แบบดั้งเดิม เห็นว่าตัวแบบของรัฐประศาสนศาสตร์แบบดั้งเดิม ก็มีข้อดี หรือมีส่วนที่ดี อาทิ การมีมาตรฐานทางจริยธรรมที่สูงในการให้บริการของรัฐ ในขณะที่แนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ว่าขาดเอกลักษณ์ และไม่มีกรอบแนวคิดที่ชัดเจนของตนเองนอกจากนี้ยังได้รับการโต้แย้งเกี่ยวกับข้อสมมติฐานต่าง ๆ อีกด้วยจากการพัฒนาไปสู่แนวคิด ทางรัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ สามารถอธิบายสรุปแนวคิดที่สำคัญดังกล่าว เพื่อทำให้ได้เห็นภาพและ ทิศทางที่สำคัญในอนาคต
Module 3 จ.ท.ยศพล ชอบกิจ 64823471077
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
ตอบ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ให้ความสำคัญกับพลเมือง การมีส่วนร่วม ความเสมอภาคและการสร้างความเป็นธรรมทางสังคม ในมุมมองต่อประชาชน แนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มองประชาชนเป็นพลเมือง (Ctizen) ที่ภาครัฐต้องเปิดโอกาสให้เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารโดยเฉพาะการมีส่วนร่วมเพื่อก่อให้เกิดความเสมอภาค หรือความเป็นธรรมในสังคม (Social Ecuity)โดยมองว่าพลเมืองที่มีฐานะเป็นเจ้าของรัฐบาล และรัฐ นักการเมือง ตลอดจนนักบริหารงานภาครัฐจะกำหนดนโยบายหรือผลประโยชน์สาธารณะไม่ได้ หากไม่มีการปรึกษาหารือหรือถกแถลง ร่วมกับพลเมือง นโยบายที่กำหนดขึ้นจึงมุ่งตอบสนองต่อความต้องการและแก้ไขปัญหา ให้แก่พลเมืองโดยส่วนรวมไม่ใช่ลูกค้า มุมมองต่อผลประโยชน์ สาธารณะ โดยกระบวนการมีส่วนร่วมจากประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่ง พลเมืองที่ตื่นตัว ตื่นรู้ (Active Citizen) ในปัญหาของตนเอง ชุมชน สังคมและประเทศชาติโดยรวม ซึ่งเป็นไปในทิศทางเดียวกับแนวคิดการบริการสาธารณะใหม่ ที่เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในฐานะพลเมืองในทุกมิติ โดยเสนอว่า ภาครัฐมีบทบาทสำคัญใน การช่วยให้พลเมืองได้เชื่อมโยงกับผลประโยชน์สาธารณะ ทุกภาคส่วนในสังคมจะต้องเข้ามามีส่วนร่วมเรียนรู้ ร่วมปฏิบัติ และร่วมรับผลบนพื้นฐานของความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย บทบาทของภาครัฐจึงไม่ใช่ฝ้ายที่ดำเนินการทุกอย่างแต่เพียงผู้เดียว หรือเป็น ผู้ประกอบการนโยบายอย่างใดอย่างหนึ่ง แต่เป็นผู้สนับสนุนให้ประชาชนได้เข้าม้ามีส่วนร่วม ในการบริหารและดำเนินการต่าง ๆ นอกจากนี้แผนพัฒนาและสังคมแห่งชาติที่เน้นให้คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา และส่งเสริมสนับสนุนให้นำรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ไปปฏิบัติอย่างจริงจัง ซึ่งหากรัฐบาลยังใช้การบริหารประเทศในระบบทุนนิยมที่มุ่งเน้นการพัฒนาและสร้างคน "เก่ง" ให้มีศักยภาพในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน แต่มิได้มุ่งเน้นสร้าง "คนดี"
Grueing ระบุว่าองค์ประกอบหลักของการบริหารราชการสมัยใหม่ในฐานะโครงสร้างคือแนวคิดของ "การปกครอง" นี่หมายถึงวิธีการจัดการสถาบันของรัฐและวิธีการตัดสินใจในสังคมประชาธิปไตย รัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่มุ่งเน้นไปที่การส่งเสริมประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความรับผิดชอบในบริการสาธารณะและโครงการต่างๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆ เช่น การพัฒนานโยบาย การจัดทำงบประมาณ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ และการวัดผลการปฏิบัติงาน เป้าหมายสูงสุดของการบริหารราชการสมัยใหม่คือการให้บริการคุณภาพสูงที่ตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของประชาชน
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน ตอบ เป็นแนวคิดพื้นฐานของการบริหารจัดการภาครัฐ ซึ่งจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงระบบต่างๆ ขององค์กรภาครัฐ โดยมีแนวทางในการบริหารจัดการ 7 ประการ คือ 1) การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน2) การคำนึงถึงความต้องการของประชาชนเป็นหลัก 3) รัฐพึงทำบทบาทเฉพาะที่รัฐทำได้ดีเท่านั้น4) การลดการควบคุมจากส่วนกลาง เพิ่มความอิสระแก่หน่วยงาน 5) ระบบการบริหารงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ 6) การมีระบบสนับสนุนทางด้านบุคลากรและเทคโนโลยี 7) เน้นการแข่งขันระหว่างหน่วยงานภาครัฐกับเอกชน
Module 3 จ.ท.ยศพล ชอบกิจ 64823471077
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสู่ขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ หลักการรัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ เป็นแนวคิดที่เกิดขึ้นใหม่ที่เป็นทางเลือก โดยได้เสนอแนวทางการบริหารจัดการที่สอดคล้องกับความเป็นจริงมากขึ้น สภาพแวดล้อม ในสถานการณ์ปัจจุบันองค์กรของรัฐที่มีขนาดใหญ่ ปรับตัวได้ยาก จำเป็นที่ จะต้องมีรูปแบบการบริหารงานองค์กรให้ตอบสนองความต้องการในสถานการณ์ปัจจุบัน ทำให้เกิดการปรับตัวของทุกภาคส่วน อย่างไรก็ตามการนำเสนอแนวทางใหม่ของการทำหน้าที่ทางการบริหารนั้น เฉพาะงานในกรณีของภาครัฐ ขณะที่บางคนมองหรือคิดว่าการนำแนวทางนี้มาใช้ เป็นเรื่องของการลอกเลียนลักษณะที่ไม่ดีของภาคเอกชนมาใช้โดยไม่ได้พิจารณาถึงความแตกต่างพื้นฐานของสภาพแวดล้อมของภาครัฐ ซึ่งมีลักษณะแตกต่างไปจากภาคเอกชนในขณะที่บางคนมองว่า แนวทางของรัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ อาจขัดกันกับการให้บริการลักษณะแบบดั้งเดิม หรือแบบประเพณีนิยม ทั้งนี้ แนวทางชุดความรู้หลักการรัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ เกิดคำถามตอบ การโต้แย้งทางวิชาการ เช่น คำถามที่ว่าการขัดกันหรือเป็นปฏิปักษ์ต่อกันนั้นขัดกันหรือเป็นปฏิปักษ์ต่อกันในเรื่องอะไร คำตอบ คือ ขัดกันหรือเป็นปฏิปักษ์ต่อกันในเรื่องของการส่งมอบบริการ นอกจากนี้ยังไม่มีลักษณะของประชาธิปไตยในขณะที่ทางด้าน "รัฐประศาสนศาสตร์แบบดั้งเดิม" เห็นว่า ตัวแบบของรัฐประศาสนศาสตร์แบบดั้งเดิม ก็มีข้อดีหรือมีส่วนที่ดี อาทิ การมีมาตรฐานทางจริยธรรมที่สูงในการให้บริการของรัฐ ในขณะที่ แนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ว่าขาดเอกลักษณ์ และไม่มีกรอบแนวคิดที่ชัดเจนของตนเองนอกจากนี้ยังได้รับการโต้แย้งเกี่ยวกับข้อสมมติฐานต่าง ๆ อีกด้วยจากการพัฒนาไปสู่แนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ สามารถอธิบายสรุปแนวคิดที่สำคัญดังกล่าว เพื่อทำให้ได้เห็นภาพและทิศทางที่สำคัญในอนาคต

ส.อ.ศุภกาญจ์ ใบเกตุ 64423471175
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
ตอบ
รัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ (New Public Administration หรือ NPA) มีลักษณะ
สำคัญ กล่าวคือ รัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่สนใจต่อการสร้างตัวแบบความคิดที่เน้นการ
ผสมผสานองค์ความรู้อันหลากหลายทั้งในด้านการเมืองและการบริหาร เพื่อพัฒนาองค์การแบบ
ใหม่ที่ไม่เป็นอำนาจนิยม แต่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนให้ประชาชนมีส่วนร่วม
มากขึ้นในกิจกรรมภาครัฐมากขึ้น นัยหนึ่งนี้จึงเป็นการกระจายอำนาจการตัดสินใจจากรัฐไปสู่
ประชาชนมากขึ้น ขณะเดียวกันจึงทำให้ทราบถึงความต้องการอันแท้จริงของประชาชนมากขึ้น แม้นัก
รัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ยอมรับว่าการจัดองค์การแบบนี้อาจมีผลเสียต่อ
ประสิทธิภาพและไม่เป็นการประหยัดก็ตาม แต่ก็คุ้มค่าเมื่อมองในแง่การปรับตัวและความยืดหยุ่นของ
ระบบราชการเพื่อ "ตอบสนอง" เอาใจใส่ประชาชนผู้รับบริการมากขึ้น และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นการ
ส่งเสริมต่อความเป็นธรรมทางสังคมในการให้บริการสาธารณะ
ส.อ.ศุภกาญจ์ ใบเกตุ 64423471175
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ตอบ
1) มีความเชื่อว่าการบริหารงานมีลักษณะความเป็นสากลสภาพ หรือไม่มีความแตกต่าง อย่างเป็นนัยสาคัญระหว่างการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชน และการบริหารงานภาครัฐ
2) ปรับเปลี่ยนการให้น้าหนักความสาคัญจากเดิมที่มุ่งเน้นการควบคุมทรัพยากร
และกฎระเบียบ เป็นเรื่องของการควบคุมผลผลิตและผลลัพธ์ หรือปรับเปลี่ยนจากการให้ความสาคัญ ในภาระรับผิดชอบต่อกระบวนงาน (Process Accountability) ไปสู่ภาระรับผิดชอบต่อผลสัมฤทธิ์ (Accountability for result)
3) ให้ความสาคัญต่อเรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกาหนดนโยบาย
4) โอนถ่ายอานาจการควบคุมของหน่วยงานส่วนกลาง (Devolution of Centralized Power) เพื่อให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงาน
5) ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่โดยแบ่งออกเป็น 3 ภารกิจ ได้แก่ 1. งานเชิงพาณิชย์ (การกากับดูแล ควบคุม) 2. งานเชิงพาณิชย์ (การกากับดูแล ควบคุม) และ 3. งานเชิงนโยบายและการให้บริการ เพื่อให้องค์การมีขนาดเล็กลงในรูปแบบของหน่วยงานอิสระใน กากับ
6) เน้นการบริหารกิจการของรัฐเป็นรูปแบบเอกชนและให้มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอก
(Outsourcing) รวมทั้งบูรณาการวิธีการจัดจ้างและการประมูลงาน (Competitive Tendering) เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและลดต้นทุน
7) บุคลากรของภาครัฐในเรื่องการทาสัญญาจ้างปรับให้เป็นระยะสั้น กาหนดเงื่อนไข ข้อตกลงให้มีความชัดเจนสามารถตรวจสอบได้
8) นารูปแบบการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชนที่ประสบความสาเร็จมาประยุกต์ใช้ เช่น การบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารคุณภาพเชิงรวม การจ่ายรางวัลค่าตอบแทนตามผลงาน การจัด จ้างบุคคลภายนอกให้เข้ามาปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวเฉพาะกิจ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการบริหารงาน
9) มีการสร้างแรงจูงใจในองค์การ เช่น การจ่ายตอบแทนในรูปของตัวเงินมากขึ้นเพื่อ เป็นรางวัล (Monetary Incentives)
10) พยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต เพื่อให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณที่คุ้มค่า
ส.อ.ศุภกาญจ์ ใบเกตุ 64423471175
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสู่ขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ
ทิศทางและแนวโน้มของการศึกษาการบริหารงานภาครัฐในอนาคต จะมุ่งสู่การศึกษาการ บริหารงานที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนา และการสร้างการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการ บริหารงานภาครัฐ เพื่อธิบายปรากฏการณ์การบริหารงานภาครัฐครอบคุลมในทุกมิติ ซึ่งผู้เขียนเห็นว่าการ เปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนานี้ ส่งผลให้นักวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ต้องมีการปรับตัวและเรียนรู้ กระแสการพัฒนาที่มีความหลากหลาย และอาจนามาด้วยการขาดความเชี่ยวชาญในองค์ความรู้ใหม่ที่จะนำมา อธิบายหรือค้นหาหลักการบริหารงานภาครัฐ จนนำมาสู่วิกฤตอัตลักษณ์ด้านองค์ความรู้ของศาสตร์สาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ด้วยเหตุนี้รัฐประศาสนศาสตร์จึงจำเป็นต้องยึดแนวทางการศึกษาประเด็นสาธารณะ ร่วมสมัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของภาครัฐ เพื่อหลีกเลี่ยงงวิกฤตติด้านองค์ความรู้ที่จะเกิดขึ้นใน อนาคต
ในปัจจุบันนี้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์น้ัน มีการขยาย ขอบเขตที่กว้างขึ้นและร่วมสมัยมากขึ้น ทั้งในด้านการศึกษาหลักธรรมภิบาล (good governance) การจัดการ แบบเครือข่าย (network governance) และการบริหารจัดการองค์การร่วมสมัย (contemporary organization theory) ท้ังนี้ในอนาคตการศึกษาการบริหารงานภาครัฐจะปรับเปลี่ยนไปตามกระแสการพัฒนามากขึ้น ทั้งการศึกษาการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ จึงกล่าวได้ว่าการศึกษาการ บริหารงานภาครัฐในแนวทางของรัฐประศาสนศาสตร์น้ันมีแนวโน้มในการพัฒนาศาสตร์องค์ความรู้ในเชิงปฏิบัติที่ สอดคล้องกับบริบทการพัฒนา ทั้งองค์รู้ที่เป็นแนวคิดกระแสหลักและกระแสรองเพื่อตอบสนองกับการอธิบาย ปรากฏการณ์การพัฒนาในสังคมที่มีความหลากหลาย
ส.อ.ธนาวัฒน์ หนูลอย 64423471189
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
ตอบ ในทัศนะของ Grueing มองว่าทฤษฎีการจัดการสาธารณะ โดยเฉพาะการจัดการภาครัฐแนวใหม่ที่มีการสร้างแขนงวิชาในช่วงทศวรรษที่ 1970s ประกอบสร้างจากรัฐประศาสนศาสตร์แนวนีโอคลาสสิก ซึ่งแตกออกเป็นทฤษฎีการจัดการสาธารณะใน 2 กลุ่ม คือ 1.กลุ่มที่มุ่งไปสู่
รูปแบบการจัดการเชิงกลไกหรืออย่างมีเหตุผลที่เน้นการจัดการตามเป้าหมาย เทคนิคการวัดผลการปฏิบัติงานและการตรวจสอบ การตลาดภาครัฐ และการจัดการเชิงกลยุทธ์ แนวการศึกษาอย่างมีเหตุผลเน้นการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาคำตอบที่เหมาะสมให้กับปัญหาทางการจัดการสาธารณะอีกทั้งยังเน้นการวัดผลการปฏิบัติงานและให้รางวัลบนพื้นของการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ และ 2.กลุ่มที่มุ่งไปสู่รูปแบบการจัดการเชิงมนุษย์นิยม หรือการจัดการที่มององค์การเป็นสิ่งมีชีวิต และวัฒนธรรม อาทิ การสร้างวัฒนธรรมองค์การในรูปของความรู้ ความเชื่อ ศีลธรรม ประเพณี ศิลปะ ตลอดจนกฎระเบียบต่าง ๆ ที่เป็นที่ยอมรับร่วมกันในองค์การ ต่อลูกจ้างของตน เป็นการปรับเปลี่ยนไปสู่รูปแบบการบริหารเชิงมนุษย์นิยมมากขึ้น โดยอาศัยเทคนิคต่าง ๆ อาทิการพัฒนาองค์การ การจัดการคุณภาพ การจัดการเชิงกลยุทธ์ที่เน้นวัฒนธรรมเป็นต้น

รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้นไปที่ 1.การคำนึงถึงประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล 2.ความรับผิดชอบต่อสังคม 3.การตอบสนองต่อความต้องการ ของประชาชนในท้องถิ่น 4.การให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการ บริหารงาน 5.ความซื่อสัตย์เป็นธรรม โปร่งใส 6.ความมีจริยธรรมและเคารพ กฎหมาย
ส.อ.ธนาวัฒน์ หนูลอย 64423471189
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ตอบ การบริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS) กับรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (NPA) นั้นมีสาระสำคัญและค่านิยมพื้นฐานที่คล้ายคลึงกันมาก ไม่ว่าจะเป็นการเน้นการมีส่วนร่วมของพลเมือง ความเป็นประชาธิปไตยบทบาทของนักบริหารรัฐกิจในการเปลี่ยนแปลงสังคมค่านิยมการบริหารที่ไม่ใช่เฉพาะเรื่องประสิทธิภาพประสิทธิผล และประหยัดเท่านั้น แต่ยังให้ความสำคัญกับเรื่องความเสมอภาค เป็นธรรม ความรับผิดชอบได้จริยธรรมในการบริหาร ซึ่งความคล้ายคลึงกันนี้ทำให้มองได้ว่าแนวคิดทั้งสองเป็นกลุ่มแนวคิดเดียวกัน เป็นแนวคิดเชิงปทัสถานที่ปฏิเสธปฏิฐานนิยมทางตรรกะ เหมือนกัน เพียงแต่การบริการสาธารณะแนวใหม่มาขยายรายละเอียดของ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่เพิ่มขึ้นในหลายๆประเด็นเท่านั้น โดย การบริการสาธารณะแนวใหม่ มีระดับในเรื่องการค้นหาความต้องการหรือความจำเป็นของพลเมือง ตลอดจนเรื่องประชาธิปไตยที่มีระดับที่เพิ่มมากขึ้นกว่า รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ และยังพบอีกว่า รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ ถือเป็นหนึ่งในแนวคิดที่เป็นรากฐานสำหรับความแตกต่างระหว่างการบริการสาธารณะแนวใหม่กับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
ส.อ.ธนาวัฒน์ หนูลอย 64423471189
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ ทิศทางและแนวโน้มการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต แนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่นั้น ได้ขยายขอบเขตการศึกษาการบริหารงานของภาครัฐให้กว้างขึ้น จนกระทั่งการการปฏิรูประบบราชการที่เกิดขึ้นทั่วโลก ภายใต้อิทธิพลของแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ ได้นำมาสู่การศึกษาการบริการสารธารณะแนวใหม่เพื่อลดช่องว่างหลักการบริหารภาครัฐ โดยมุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของภาคพลเมืองในการดำเนินสาธารณกิจต่างๆ ร่วมกับภาครัฐและ ภาคเอกชนภายใต้หลักการบริหารแบบประชาธิปไตยส่งผลให้ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ที่มุ่งประเด็นไปที่การศึกษาหลักธรรมภิบาล ในการบริหารงานของภาครัฐ การจัดการแบบเครือข่าย เช่น องค์การไม่แสวงหากำไร อาสาสมัคร เป็นต้น และการบริหารจัดการองค์การร่วมสมัย เช่น การสร้างความร่วมมือในองค์การทุนมนุษย์ นอกจากนี้แนวโน้มการศึกษาของสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ภายใต้บริบทการพัฒนาในยุคอุตสาหกรรมดิจิตอล ขอบเขตของการศึกษาการบริหารงานภาครัฐจะขยายประเด็นไปถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการดำเนินสาธารณกิจของภาครัฐ เช่น การจัดการข้อมูล การนำระบบอิเล็กทรอนิกส์ในการดำเนินการบริหารงานภาครัฐ เป็นต้น รวมไปถึงการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ ดังนั้นทิศทางและแนวโน้มของการศึกษาการบริหารงานภาครัฐในอนาคต จะมุ่งสู่การศึกษาการบริหารงานที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนา และการสร้างการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการบริหารงานภาครัฐ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์การบริหารงานภาครัฐครอบคุลมในทุกมิติ ซึ่งผู้เขียนเห็นว่าการเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนานี้ ส่งผลให้นักวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ต้องมีการปรับตัวและเรียนรู้กระแสการพัฒนาที่มีความหลากหลาย และอาจนำมาด้วยการขาดความเชี่ยวชาญในองค์ความรู้ใหม่ที่จะนำมาอธิบายหรือค้นหาหลักการบริหารงานภาครัฐ จนนำมาสู่วิฤตอัตลักษณ์ด้านองค์ความรู้ของศาสตร์สาขาวิชา
รัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ด้วยเหตุนี้รัฐประศาสนศาสตร์จึงจำเป็นต้องยึดแนวทางการศึกษาประเด็นสาธารณะร่วมสมัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของภาครัฐ เพื่อหลีกเลี่ยงวิกฤติด้านองค์ความรู้ที่จะเกิดขึ้นใน

Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
ตอบ พัฒนาการและฐานคิดเชิงทฤษฎีของการจัดการภาครัฐ: จากการ
จัดการภาครัฐดั้งเดิมสู่การจัดการภาครัฐแนวใหม่พัฒนาการในทฤษฎีการจัดการภาครัฐเกิดขึ้นพร้อมกันกับการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific management) ของ Frederick W. Taylor
(1911) ที่มีการประยุกต์แนวการศึกษา ‘Time-and -motion’ ในกิจกรรม
สาธารณะเพื่อหาแนวทางที่ดีที่สุด (The one best way) ในระยะเริ่มแรกนั้น
การจัดการแบบวิทยาศาสตร์นั้นแยกต่างหากจากการจัดการทั่วไป ซึ่งเน้นศึกษา
การจัดการองค์การ/ การทำงานของเจ้าหน้าที่ การงบประมาณ การเจ้าหน้าที่
เป็นต้น โดยการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ถูกมองเป็นศาสตร์ลูกผสมระหว่าง
วิศวกรรมศาสตร์และการบริหารธุรกิจ มีการใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการ
(Operation research) ที่ประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์และศาสตร์/ ตัวแบบการ
คำนวณในการบริหารธุรกิจ อาทิ การกำหนดราคา การควบคุมคุณภาพ
ประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต การจัดส่งสินค้า สินค้าคงคลัง เป็นต้น
ในช่วงแรกของสาขาวิชาการบริหารสมัยใหม่นั้น มักจะพบทฤษฎีการจัดการ
แบบวิทยาศาสตร์และการประยุกต์ใช้ทฤษฎีเหล่านี้ในสาขางานโยธา (Public
works) จนกระทั่งในทศวรรษที่ 1960s สมาคมนักรัฐประศาสนศาสตร์อเมริกัน
(American Society of Public Administrators) สมาคมโยธาธิการ
แห่งอเมริกา (American Public Works Association) และสมาคมการจัดการ
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ตอบ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ตอบ ลักษณะของรัฐประศาสตร์แนวใหม่
1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่' (New Public Administration: NPA) เป็นการผสมผสานแนวคิด
ขบวนการเคลื่อนไหวมนุษย์สัมพันธ์ (Human-relations movement) และรัฐประศาสนศาสตร์ที่
มุ่งเน้นการเมือง (Political-oriented public administration)
2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ ที่ศึกษา เชิงโครงสร้างประชาธิปไตยทั้งกายในและกายนอกองค์การภาครัฐ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเด็นเรื่องความเสมอภาคทางสังคม (Social equality) เน้นการ มีส่วนร่วม โดยเฉพาะ
แนวคิดของกลุ่มชุมชนนิยม ซึ่งมองว่าสังคมปัจจุบันไร้ราก เป็นปัจเจกสูง จึงจำเป็นต้องกระตุ้นให้เกิดการมี
ส่วนร่วมทางการเมืองและ โครงสร้างการบริหาร
3. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ ที่เน้นการศึกษาค้านบทบาทของเครือข่ายสาธารณะในฐานะผู้ใกล่เกลี่ยของ
กลุ่มผลประโชชน์ต่าง ๆ
องค์ประกอบและส่วนประกอบเชิงโครงสร้างของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่
- รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีการขยายแนวคิดไปสู่การจัดการสาธารณะใหม่และการบริการสาธารณะใหม่
ดังนั้น จะเห็นว่า ทั้งสองแนวความคิดเป็นสิ่งที่มีผลต่อการพัฒนารัฐประศาสนศาสตร์ใหม่
- จึงถือได้ว่า รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีองค์ประกอบของ การจัดการภาครัฐแนวใหม่และการบริการภาครัฐแนวใหม่เป็นส่วนหนึ่งเชิงโครงสร้างของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ที่ต้องมีเค้าโครงของแนวคิดการจัดการเป็นกลไกทางการบริหารและการบริการ แนวคิดได้ให้ความสำกัญต่อโครงสร้างความเป็นประชาธิปไตยทั้งภายในและภายนอกองค์การ เช่น การมีส่วนร่วม ความเสมอภาค เป็นต้นองค์ประกอบและส่วนประกอบเชิงโครงสร้างของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่
- รัฐประศาสศาสตร์แนวใหม่เน้นองค์ประกอบของความรู้ที่สอดคล้องกับปัญหา
สังคม (Social Relevant) ความเป็นธรรมทาง สังคม (Social Equity) ค่านิยม(Values) ผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) และนโยบายสาธารณะ (PublicPolicy)
- มีโครงสร้างแนวคิดคล้ายคลึงกับการบริการสาธารณะใหม่รวมถึงการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่แม้จะมีความแตกต่างกันอยู่มาก
หลักรัฐประศาสนุศาสตร์องค์ประกอบและส่วนประกอบเชิงโครงสร้างของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ความแตกต่างและความเหมือนของรัฐประศาสนศาสตร์ใหม่กับการจัดการสาธารณะใหม่และการบริการสาธารณะใหม่ ได้แก่
- การจัดการสาธารณะใหม่NPM)การมองถึงผู้รับบริการเป็นลูกค้าและกาคสาธารณะคือตลาดของ แต่แนวคิด
รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มองว่าเป็นผู้รับบริการจะต้องได้รับผลประโยชน์สาธารณะ เป็นต้น
-รัฐประศาสนศาสตร์ใหม่กลับมีความคล้ายคลึงกับการบริการสาธารณะใหม่อย่างมากในประเด็น ความเป็น
ธรรมทางสังคม การให้คุณค่า ความเป็นประชาธิปไตย ความรับผิดชอบ ฯลฯ
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ใหม่" มุ่งสู่การศึกษาการบริหารงานที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนาแนวคิดมีทิศทางของการสร้างการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนต่อการบริหารงานภาครัฐมากขึ้นสามารถอธิบายปรากฏการณ์ของการบริหารงานภาครัฐครอบคุลมในทุกมิติสามารถศึกษาและค้นหาหลักการทางการบริหารงานภาครัฐได้อย่างมีอัตลักษณ์มากขึ้น
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ แนวคิดที่มีอิทธิพลต่อการปฏิรูปการบริหารภาครัฐทั่วโลก แนวคิดใหม่ไม่ใช่การปฏิรูประบบ
ราชการอย่างเดียวแต่ยังแปลงโฉมภาครัฐใหม่ด้วยการจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐกับสังคม
ใหม่ เหตุผลหลักที่ได้รับการยอมรับคือ ตัวแบบระบบราชการเดิมใช้ไม่ได้อีกต่อไป รัฐบาลหลายประเทศ
เริ่มไม่เห็นด้วยกับการท างานแบบราชการ จึงจ้างนักเศรษฐศาสตร์ที่อบรมการจัดการเข้ามาท างานแทน
นักบริหารพร้อมกับหยิบยืมเทคนิคการจัดการจากภาคเอกชนมาใช้ย้อนกลับไปใช้วิธีการแบ่งกิจกรรม
ภาครัฐกับภาคเอกชนออกจากกันเพื่อหาทางตัดค่าใช้จ่าย และเริ่มเปลี่ยนระบบการท างานใหม่ สาเหตุ
พื้นฐานมาจากรัฐบาลหลายประเทศเผชิญกับปัญหารายได้ที่แท้จริงตกต่ า แต่นักการเมืองยังคงอยาก
ให้บริการอยู่ในระดับเดิม จึงไม่มีทางอื่นนอกจากปรับปรุงประสิทธิภาพประกอบกับนักทฤษฎีท้วงติงว่า
ระบบราชการเดิมไม่มีประสิทธิภาพ และเมื่อนักเศรษฐศาสตร์ศึกษาก็ได้ค าตอบแบบเดียวกัน จึงเริ่มมี
ค าถามว่าท าไมต้องจ้างข้าราชการถาวร ท าไมไม่จ้างตามสัญญา หากจ้างตามสัญญาจะเกิดปัญหา
อะไรบ้าง ส่วนแรงต่อต้านจากระบบราชก็มีน้อย เพราะประชาชนไม่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงจึงเกิดขึ้น
และเป็นเหตุให้การท างานแบบระบบราชการบางอย่างหายไป ดังนั้นแนวโน้มของ“การจัดการภาครัฐ”
ในอนาคตจึงมุ่งไปสู่ “การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ” (Privatization) และการใช้ “บุคคลที่สาม” (Third
Party) ในการด าเนินการต่าง ๆ แทนภาครัฐเพิ่มมากขึ้นซึ่งท าให้ภาครัฐจ าเป็นต้องอาศัย “แนวความคิด
และวิธีการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชน” มาใช้มากขึ้นทุกทีการบริหารจัดการแบบภาคเอกชน
เช่นว่านี้ท าให้เจ้าหน้าที่ของภาครัฐต้องมีความเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพมากขึ้น (Qualityfied
Personnel) พร้อม ๆ กับการต้องเป็น “มืออาชีพ” มากขึ้นด้วย (Higher-Quality Professional)
แต่โดยที่การบริหารในภาครัฐราชการจะต้องอยู่ภายใต้กฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ มากมาย ซึ่งต่าง
จากการบริหารของภาคเอกชน และอยู่ภายใต้หลักการปกครองแบบ “นิติรัฐ” (Rule of Law)
ด้วยจึงทำให้ภาครัฐจ าเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบของการปกครองแบบเข้มงวดเคร่งครัดมายึดหลักการ
ผ่อนปรนภายใต้ “ธรรมาภิบาล” หรือ “การก ากับดูแลที่ดี” (Good Governance) มากขึ้น ปัญหาใน
ปัจจุบันจึงอยู่ที่การเร่งสร้างองค์กรเครือข่ายของภาครัฐและภาคเอกชนที่อาศัยหลักการของ
“ธรรมาภิบาล” ซึ่งอยู่ภายใต้การก ากับของหลักแห่งศีลธรรมที่ดีงามทุกวันนี้ภาคเอกชนไม่เพียงแต่
เรียกร้องและต้องการ Good Governance เท่านั้นแต่ยังเรียกร้อง “Good Judgment” จากเจ้าหน้าที่
ของรัฐทุกระดับชั้นมากยิ่งขึ้นด้วย (ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร, 2552)
ดังนั้นข้อเสนอในการจัดการภาครัฐแนวใหม่เป็นการแปลงโฉมภาครัฐใหม่ด้วยการจัดระบบ
ความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐกับสังคมใหม่ และเริ่มเปลี่ยนระบบการท างานใหม่ไปสู่การแปรรูป
รัฐวิสาหกิจและการใช้บุคคลที่สามในการด าเนินการต่าง ๆ แทนภาครัฐเพิ่มมากขึ้น แต่การบริหาร
ในภาครัฐราชการจะต้องอยู่ภายใต้กฎหมายและกฎระเบียบต่าง ๆ มากมาย ซึ่งต่างจากการบริหารของ
ภาคเอกชนจึงท าให้ภาครัฐจ าเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบของการปกครองแบบเข้มงวดเคร่งครัดมายึด
หลักการผ่อนปรนภายใต้ “ธรรมาภิบาล” หรือ “การกำกับดูแลที่ดี” (Good Governance) มากขึ้น
ส.อ.ฐนภัทร แข่งขัน รหัส64423471022
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง  
ตอบ ในทัศนะของ Gruening (2001, p. 5) มาจากเมื่อสิ้นทศวรรษที่ 19605 แนวคิดในรัฐประศาสนศาสตร์ ประกอบด้วย 3 สำนักคิด คือ รัฐประศาสนศาสตร์ แนวคลาสสิก (Classical public administration) รัฐประศาสนศาสตร์ แนวนีโอคลาสสิก (Neoclassical public administration) และ รัฐประศาสนศาสตร์ แนวใหม่ (New public administration)
ทฤษฎีที่ต่อยอดจากรัฐประศาสนศาสตร์แนวนีโอคลาสสิก แล้ว ทฤษฎีทางเลือกสาธารณะ (Public choice theory) และสำนัก เศรษฐศาสตร์สถาบันใหม่ คือ สำนักคิดที่สืบทอดแนวคิดและทฤษฎีจาก รัฐประศาสนศาสตร์แนวคลาสสิก (Gruening, 2001; Lane, 2000) โดยทฤษฎี ทางเลือกสาธารณะนั้นก่อตั้งโดย James Buchanan และ Warren Nutter ทั้งคู่มาจากศูนย์โทมัส เจเฟอร์สันเพื่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมืองและ ปรัชญาสังคมแห่งมหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย ซึ่งศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคม โดยใช้หน่วยในการวิเคราะห์เป็นปัจเจกบุคคล อาศัย ลัทธิปัจเจกชนนิยม เชิงระเบียบวิธี” (Methodological individualism) เป็นแนวทางพื้นฐานใน การศึกษา อันเป็นการอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมจากผลรวบยอดของ พฤติกรรมของปัจเจกบุคคลแต่ละคนมารวมกัน โดยมีข้อตกลงเบื้องต้นว่า ปัจเจกบุคคล มุ่งหวังในเป้าหมายของตน และจะทำกระทำการใด ๆ ตามความ พึงพอใจของตนเอง เพื่อให้บรรลุความพึงพอใจสูงสุด (Maximize utility) ซึ่งแตกต่างจากทฤษฎีการตัดสินใจของ Simon ตรงที่ความมีเหตุผลของทฤษฎี ทางเลือกสาธารณะนั้นไม่ข้อจํากัด (Non-bounded rationality) ทำให้ ความพึงพอใจ และเสรีภาพในการเลือกของปัจเจกบุคคลกลายเป็นจุดใหญ่ ใจกลางของทฤษฎีทางเลือกสาธารณะ (Buchanan and Tullock, 1962; Buchanan, 1975) โดยทฤษฎีได้อธิบายว่า ประชาธิปไตยแบบตัวแทน ซึ่งอาศัยกฎของเสียงส่วนใหญ่ (Majority rule) โดยปราศจากการปกป้อง
ส.อ.ฐนภัทร แข่งขัน รหัส64423471022
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ตอบ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่และการจัดการภาครัฐแนวใหม่รวมถึงการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะคล้ายกันคือต้องการที่จะเปลี่ยนแปลงระบบราชการให้มีความคุ้มค่ามีการใช้เครื่องมือในยุคใหม่มีการนำระบบและแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่และการบริการภาครัฐแนวใหม่ เพื่อพัฒนาองค์กรแบบใหม่ ที่ ไม่เป็นแบบอำนาจนิยม แต่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน ให้ประชาชนมีส่วนร่วมกับภาครัฐมากขึ้น นั้ยหนึ่งเป็นการ กระจายอำนาจรัฐให้กลับคืนสู่ประชาชนมากขึ้น เพื่อให้ทราบถึงความต้องการที่แท้จริงของประชาชนมากขึ้น

Assignment  3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง  และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ ในอนาคตแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในความ หมายใหม่นั้นมีค่านิยมที่สำคัญในการผลักดันให้ระบบ บริหารราชการนั้นสามารถที่จะสร้างความเท่าเทียมใน สังคมขึ้นได้ ซึ่งมีหลักการบริหารแบบประชาธิปไตยเป็น ฐานรองรับอยู่ อีกทั้งยังเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่พยายาม แก้ไขด้านวิกฤตเอกลักษณ์ทางรัฐประศาสนศาสตร์อีก ด้วย โดยการพยายามสร้างทฤษฎีแนวความคิดให้เป็น ของตัวเอง แม้ว่าจะมีการหยิบยืมทฤษฎีต่างๆ จากสาขาวิ ชาอื่นๆ มาบ้างก็ตาม อย่างไรก็ดี รัฐประศาสนศาสตร์ใน ความหมายใหม่ยังคงเป็นหนึ่งในแนวคิดและแนวทางที่ พยายามผลักดันให้เกิดการปฏิรูประบบราชการ โดยต้อง คำนึงถึงค่านิยมที่ปรากฏอยู่ในข้อเท็จจริงทางสังคมด้วย ซึ่งทำให้องค์ความรู้ทางด้านรัฐประศาสนศาสตร์นั้นมี ความสมจริงมากขึ้นต่อการนำไปปรับใช้
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง

Grueing ระบุว่าองค์ประกอบหลักของการบริหารราชการสมัยใหม่ในฐานะโครงสร้างคือแนวคิดของ "การปกครอง" นี่หมายถึงวิธีการจัดการสถาบันของรัฐและวิธีการตัดสินใจในสังคมประชาธิปไตย รัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่มุ่งเน้นไปที่การส่งเสริมประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความรับผิดชอบในบริการสาธารณะและโครงการต่างๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆ เช่น การพัฒนานโยบาย การจัดทำงบประมาณ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ และการวัดผลการปฏิบัติงาน เป้าหมายสูงสุดของการบริหารราชการสมัยใหม่คือการให้บริการคุณภาพสูงที่ตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของประชาชน

Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน

มีลักษณะที่เป็นเช่นเดียวกันคือ ให้ความสำคัญกับพลเมือง การมีส่วนร่วม ความเสมอภาค และการสร้างความเป็นธรรมทางสังคม ในมุมมองต่อประชาชนภาครัฐต้องเปิดโอกาสให้เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหาร โดยเฉพาะการมีส่วนร่วมเพื่อก่อให้เกิดความเสมอภาค หรือความเป็นธรรมในสังคมนโยบายที่กำหนดขึ้นจึงมุ่งตอบสนองต่อความต้องการและแก้ไขปัญหา ให้แก่พลเมืองโดย ส่วนรวมไม่ใช่ลูกค้า มุมมองต่อผลประโยชน์ สาธารณะ โดยกระบวนการมีส่วนร่วมจากประชาชนในปัญหาของตนเอง ชุมชน สังคมและ ประเทศชาติโดยรวม ซึ่งเป็นไปในทิศทางเดียวกับแนวคิดการบริการสาธารณะใหม่ ที่เน้นการมีส่วนร่วม ของประชาชนในฐานะพลเมืองในทุกมิติ โดยเสนอว่า ภาครัฐมีบทบาทสำคัญใน การช่วยให้พลเมืองได้ เชื่อมโยงกับผลประโยชน์สาธารณะ ทุกภาคส่วนในสังคมจะต้องเข้ามามีส่วนร่วมเรียนรู้ ร่วมปฏิบัติ และ ร่วมรับผลบนพื้นฐานของความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย


Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสู่ขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง

รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่กับแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนเพื่อการอยู่ร่วมกัน หลังเกิดการพัฒนาและการสร้างนวัตกรรมนี้เพราะ การพัฒนาหรือ สร้างนวัตกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ผลที่ได้รับจะนำมาซึ่งความแตกต่าง ความไม่เท่าเทียม นำไปสู่รูปแบบ การบริหารจัดการ อาจเลือกใช้รูปแบบการบริหารงานภาครัฐ หรือ เอกชนร่วมการประยุกต์ใช้หลักการงคุณธรรมมาบริหารจัดการทำให้เกิดกระบวนการพัฒนาที่ ยั่งยืน โดยคำนึงถึงผลต่อ -การคำนึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผล -ความรับผิดชอบต่อสังคม -การตอบสนองต่อความ ต้องการของประชาชน -การให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารงาน -ความซื่อสัตย์ เป็นธรรม โปร่งใส -ความมีจริยธรรมและเคารพกฎหมาย ซึ่งจะต้องยึดถือประโยชน์สุขและความต้องการของประชาชนเป็นหลัก
ส.อ. อภิสิทธิ์ ปิ่นทอง
64423471176
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
ตอบ เป็นการนำแนวคิดการบริหารงานจัดการภาครัฐ และภาคเอกชนความต้องการของประชาชน ปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารงานภาครัฐให้ตอบสนอง ความต้องการของประชาชนที่มีความหลากหลายมากขึ้น โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาทุจริต การจัดทำ นโยบายสาธารณะที่มีผลประโยชน์ทับซ้อน กำหนดแนวคิดพื้นฐานการบริหารจัดการภาครัฐ สร้างการ เปลี่ยนแปลงระบบต่าง ๆ ของภาครัฐให้เป็นรูปธรรม เลือกแนวทางการบริหารจัดการ การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน ตรงความต้องการของประชาชน คำนึงถึงคุณธรรม องค์การคุณธรรมพร้อมรับการตรวจสอบ จัดงานบริหารสอดคล้องกับ บริบทประชาชน ลดการต่อต้านให้น้อยสุด รัฐพึงทำบทบาทเฉพาะที่รัฐให้เกิดการจัดการภาครัฐ สามารถนำความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดงานบริการสาธารณะให้เป็นรากฐาน แนวคิดหลัก เศรษฐศาสตร์เชิงสถาบันใหม่ แนวคิดความ เชื่อมโยงการปฏิรูประบบการบริหารการจัดการคือการแข่งขันทางเลือกผู้รับบริการ ความโปร่งใส คุณธรรม โครงสร้างระบบสิ่งจูงใจการอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่าง ความไม่เท่าเทียม เนื่องจาก ความไม่เท่าเทียมทำให้เกิดการนำความต้องการไปดำเนินการบริหารจัดการ การจัดการนิยม คือการนำเอาแนวทางการจัดการแบบธุรกิจนำมา ปรับใช้ในภาครัฐโดยเน้นการจัดการแบบมืออาชีพมีดัชนีวัดความสำเร็จให้อำนาจในการให้ดุลยพินิจ และความอิสระในการจัดการ สร้างวัฒนธรรมที่เหมาะสม คุณธรรมองค์การเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประเทศชาติ
ส.อ. อภิสิทธิ์ ปิ่นทอง
64423471176
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
ตอบ เป็นการนำแนวคิดการบริหารงานจัดการภาครัฐ และภาคเอกชนความต้องการของประชาชน ปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารงานภาครัฐให้ตอบสนอง ความต้องการของประชาชนที่มีความหลากหลายมากขึ้น โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาทุจริต การจัดทำ นโยบายสาธารณะที่มีผลประโยชน์ทับซ้อน กำหนดแนวคิดพื้นฐานการบริหารจัดการภาครัฐ สร้างการ เปลี่ยนแปลงระบบต่าง ๆ ของภาครัฐให้เป็นรูปธรรม เลือกแนวทางการบริหารจัดการ การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน ตรงความต้องการของประชาชน คำนึงถึงคุณธรรม องค์การคุณธรรมพร้อมรับการตรวจสอบ จัดงานบริหารสอดคล้องกับ บริบทประชาชน ลดการต่อต้านให้น้อยสุด รัฐพึงทำบทบาทเฉพาะที่รัฐให้เกิดการจัดการภาครัฐ สามารถนำความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดงานบริการสาธารณะให้เป็นรากฐาน แนวคิดหลัก เศรษฐศาสตร์เชิงสถาบันใหม่ แนวคิดความ เชื่อมโยงการปฏิรูประบบการบริหารการจัดการคือการแข่งขันทางเลือกผู้รับบริการ ความโปร่งใส คุณธรรม โครงสร้างระบบสิ่งจูงใจการอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่าง ความไม่เท่าเทียม เนื่องจาก ความไม่เท่าเทียมทำให้เกิดการนำความต้องการไปดำเนินการบริหารจัดการ การจัดการนิยม คือการนำเอาแนวทางการจัดการแบบธุรกิจนำมา ปรับใช้ในภาครัฐโดยเน้นการจัดการแบบมืออาชีพมีดัชนีวัดความสำเร็จให้อำนาจในการให้ดุลยพินิจ และความอิสระในการจัดการ สร้างวัฒนธรรมที่เหมาะสม คุณธรรมองค์การเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประเทศชาติ
ส.อ. อภิสิทธิ์ ปิ่นทอง
64423471176
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ตอบ มีลักษณะเชิงมนุษยนิยม สนใจทฤษฎีปทัสถาน ปรัชญา และปฏิบัตินิยม กล่าวคือให้ความสนใจศึกษาเกี่ยวกับเกี่ยว ค่านิยม ศีลธรรม ความเป็นมนุษย์มากขึ้น และเน้นการพัฒนาองค์การในรูปแบบใหม่ ให้เป็นองค์การเชิงริเริ่มสร้างสรรค์และบุกเบิกทดลองในการพยายามตอบสนอง ความต้องการของประชาชน รวมทั้งแนวคิดการจัดองค์การสาธารณะที่มุ่งรับใช้ให้บริการแก่ประชาชน ให้ความสนใจต่อประชาชนผู้รับบริการมากขึ้นรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
New Public Administration (NPA) and New Public Management (NPM) เป็นสองแนวทางการบริหารราชการที่มีความคล้ายคลึงกันในแง่ของลักษณะของบริการภาครัฐใหม่ ทั้ง NPA และ NPM มุ่งเน้นการให้บริการภาครัฐคุณภาพสูงที่ตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งคู่ตระหนักถึงความสำคัญของความรับผิดชอบ ความโปร่งใส และการปรับปรุงการดำเนินงานของรัฐบาลอย่างต่อเนื่อง
ส.อ. อภิสิทธิ์ ปิ่นทอง
64423471176
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสู่ขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ คือ เครือข่ายการบริหารกิจการบ้านเมือง การมีส่วนร่วมของประชาชน การบริหารกิจการบ้านเมืองอิเล็กทรอนิกส์ ความโปร่งใส และความเป็นหุ้นส่วน ระหว่างรัฐ-เอกชน ส่วนประเด็นการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญอื่น ๆ ได้แก่ รูปร่างของ หน่วยงานภาครัฐ การปฏิรูปการจัดการภาครัฐ ความเท่าเทียมกัน การจัดการคน และองค์การ ความสอดคล้องกับสังคม และความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม ซึ่งมี
รายละเอียดดังต่อไปนี้ เครือข่ายการบริหารกิจการบ้านเมือง โครงสร้างภาครัฐกำลังเปลี่ยนแปลงและกลไกใหม่ ๆ จะถูกนำมาใช้เพื่อ ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงข้างต้น ส่วนนิยามของเครือข่ายการบริหารกิจการ บ้านเมือง หมายถึง การเชื่อมต่อกันในแนวระดับ แต่ผู้ปฏิบัติมีอิสระใน การดำเนินงาน ผู้ปฏิบัตินี้ปฏิบัติต่อกันและกันโดยการเจรจาต่อรอง เกิดขึ้น โดยเครือข่ายที่มีกฎระเบียบ ตามบรรทัดฐาน มีการรับรู้เข้าใจ และมีจินตนาการ ซึ่งนำไปสู่ขอบเขตเฉพาะในการจัดระเบียบของตนเอง และ อันจะสนับสนุนให้เกิดการดำเนินงานตามเป้าประสงค์ของประชาชนในเรื่องใดเรื่องหนึ่งอนาคตของการบริหารรัฐกิจจะเห็นการขยายขอบเขตที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีและการตัดสินใจที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูล ซึ่งหมายความว่าผู้บริหารภาครัฐจะต้องได้รับการฝึกอบรมให้ใช้เทคโนโลยีใหม่และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาสังคม
อิทธิพลของแนวคิดการบริหารราชการแบบใหม่ เช่น การกำกับดูแลแบบมีส่วนร่วม การกำกับดูแลแบบร่วมมือ และการกำกับดูแลเครือข่าย ก็จะมี กระทบต่อพฤติกรรมของผู้บริหารภาครัฐ แนวคิดเหล่านี้ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของพลเมืองและการทำงานร่วมกันระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ ในกระบวนการตัดสินใจ ซึ่งหมายความว่าผู้ดูแลระบบภาครัฐจะต้องตอบสนองต่อความต้องการของพลเมืองมากขึ้นและมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกันมากขึ้น
Assignment ที่ 1 สภาพแวดล้อมขององค์การว่าประกอบด้วยปัจจัยหรือส่วนต่างๆ 10 ส่วนด้วยกัน ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ถือเป็นสภาพแวดล้อมของงาน มีผลกระทบต่อการบรรลุเป้าหมายขององค์การโดยตรง ปัจจัยเหล่านี้ได้แก่
1.1. ปัจจัยด้านอุตสาหกรรมรม ซึ่งได้แก่ขนาดของอุตสาหกรรมและสภาพการแข่งขันของอุตสาหกรรมนั้นๆ รวมถึงอุตสาหกรรมที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ คู่แข่งที่ทำกิจการประเภทเดียวกัน
1.2. ปัจจัยด้านปัจจัยผลิตหรือวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต จะพิจารณาถึงปัจจัยที่สนับสนุนการทำงานในองค์การ ผู้ป้อนวัตถุดิบให้แก่องค์การ โรงงานผลิต การบริการที่เกี่ยวข้อง
1.3. ปัจจัยด้านทรัพยากรมนุษย์ (Human resources sector) ได้แก่ การพิจารณาถึงตลาดแรงงานหน่วยงานจัดหางาน สถาบันการศึกษาในฐานะที่เป็นแหล่งสร้างแรงงานที่จะป้อนเข้าสู่ระบบ สถานฝึกอบรมสหภาพแรงงาน และพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานอื่น
1.4. ปัจจัยด้านการเงิน (Financial resources sector) สภาพแวดล้อมในส่วนนี้จะพิจารณาในเรื่องการซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ ระบบการเงิน ธนาคาร อัตราการออม การกู้เงิน อัตราดอกเบี้ยและการลงทุนของเอกชน
1.5. ปัจจัยด้านการตลาด (Market sector) เป็นการพิจารณาถึงสภาวะการตลาด
1.6. ปัจจัยด้านเทคโนโลยี (Technology sector) ซึ่งได้แก่ เทคนิคการผลิตวิทยาการต่างๆการวิจัยในด้านที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือหรืออุปกรณ์อัตโนมัติปัจจัยการผลิตใหม่ๆ
1.7. ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ (Economic conditions sector) จะประกอบด้วยสภาพการณ์ต่างๆทางด้านเศรษฐกิจ เช่น อัตราการทำงาน อัตราเงินเฟ้อ อัตราการลงทุน การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เป็นต้น
1.8. ปัจจัยด้านการควบคุมหรือภาคราชการ (Government sector) ในส่วนนี้จะพิจารณาถึงกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับของหน่วยงานราชการทั้งในส่วนกลางและส่วนท้องถิ่นระบบและอัตราภาษี ระบบและกระบวนการทางการเมือง กระบวนการยุติธรรม การจัดบริการต่างๆที่รัฐจัดให้
1.9. ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม (socio-cultural sector) จะเป็นเรื่องของค่านิยมและวัฒนธรรมในสังคมที่มีผลต่อการดำเนินงานขอององค์การ เช่น โครงสร้างประชากร อายุของประชาชนในสังคม ค่านิยมความเชื่อของคน ระดับการศึกษาของประชาชน ศาสนา จริยธรรมในการทำงาน การบริโภค การเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม
1.10 ปัจจัยจากต่างประเทศ (International sector) ปัจจัยนี้เป็นสภาพของการทำงานขององค์การที่ถูกกระทบจากสภาวะโลกาภิวัตน์ ที่มีการดำเนินกิจกรรมต่างๆข้ามชาติมากขึ้น การแข่งขันในระหว่างองค์การมีมากขึ้น การกีดกันทางการค้าไม่สามารถทำได้ ปัจจัยในด้านนี้จะพิจารณาถึงการแข่งขันจากบริษัทต่างชาติการเข้าสู่ระดับนานาชาติ หรือตลาดต่างประเทศ ระเบียบกฎเกณฑ์ต่างๆในการดำเนินกิจการ ระบบศุลกากรและอัตราการแลกเปลี่ยน เป็นต้น
Assignment ที่ 1 สภาพแวดล้อมขององค์การว่าประกอบด้วยปัจจัยหรือส่วนต่างๆ 10 ส่วนด้วยกัน ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ถือเป็นสภาพแวดล้อมของงาน มีผลกระทบต่อการบรรลุเป้าหมายขององค์การโดยตรง ปัจจัยเหล่านี้ได้แก่
1.1. ปัจจัยด้านอุตสาหกรรมรม ซึ่งได้แก่ขนาดของอุตสาหกรรมและสภาพการแข่งขันของอุตสาหกรรมนั้นๆ รวมถึงอุตสาหกรรมที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ คู่แข่งที่ทำกิจการประเภทเดียวกัน
1.2. ปัจจัยด้านปัจจัยผลิตหรือวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต จะพิจารณาถึงปัจจัยที่สนับสนุนการทำงานในองค์การ ผู้ป้อนวัตถุดิบให้แก่องค์การ โรงงานผลิต การบริการที่เกี่ยวข้อง
1.3. ปัจจัยด้านทรัพยากรมนุษย์ (Human resources sector) ได้แก่ การพิจารณาถึงตลาดแรงงานหน่วยงานจัดหางาน สถาบันการศึกษาในฐานะที่เป็นแหล่งสร้างแรงงานที่จะป้อนเข้าสู่ระบบ สถานฝึกอบรมสหภาพแรงงาน และพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานอื่น
1.4. ปัจจัยด้านการเงิน (Financial resources sector) สภาพแวดล้อมในส่วนนี้จะพิจารณาในเรื่องการซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ ระบบการเงิน ธนาคาร อัตราการออม การกู้เงิน อัตราดอกเบี้ยและการลงทุนของเอกชน
1.5. ปัจจัยด้านการตลาด (Market sector) เป็นการพิจารณาถึงสภาวะการตลาด
1.6. ปัจจัยด้านเทคโนโลยี (Technology sector) ซึ่งได้แก่ เทคนิคการผลิตวิทยาการต่างๆการวิจัยในด้านที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือหรืออุปกรณ์อัตโนมัติปัจจัยการผลิตใหม่ๆ
1.7. ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ (Economic conditions sector) จะประกอบด้วยสภาพการณ์ต่างๆทางด้านเศรษฐกิจ เช่น อัตราการทำงาน อัตราเงินเฟ้อ อัตราการลงทุน การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เป็นต้น
1.8. ปัจจัยด้านการควบคุมหรือภาคราชการ (Government sector) ในส่วนนี้จะพิจารณาถึงกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับของหน่วยงานราชการทั้งในส่วนกลางและส่วนท้องถิ่นระบบและอัตราภาษี ระบบและกระบวนการทางการเมือง กระบวนการยุติธรรม การจัดบริการต่างๆที่รัฐจัดให้
1.9. ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม (socio-cultural sector) จะเป็นเรื่องของค่านิยมและวัฒนธรรมในสังคมที่มีผลต่อการดำเนินงานขอององค์การ เช่น โครงสร้างประชากร อายุของประชาชนในสังคม ค่านิยมความเชื่อของคน ระดับการศึกษาของประชาชน ศาสนา จริยธรรมในการทำงาน การบริโภค การเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม
1.10 ปัจจัยจากต่างประเทศ (International sector) ปัจจัยนี้เป็นสภาพของการทำงานขององค์การที่ถูกกระทบจากสภาวะโลกาภิวัตน์ ที่มีการดำเนินกิจกรรมต่างๆข้ามชาติมากขึ้น การแข่งขันในระหว่างองค์การมีมากขึ้น การกีดกันทางการค้าไม่สามารถทำได้ ปัจจัยในด้านนี้จะพิจารณาถึงการแข่งขันจากบริษัทต่างชาติการเข้าสู่ระดับนานาชาติ หรือตลาดต่างประเทศ ระเบียบกฎเกณฑ์ต่างๆในการดำเนินกิจการ ระบบศุลกากรและอัตราการแลกเปลี่ยน เป็นต้น
ส.อ นครา ปานกลาง 64423471043
Assignment ที่ 1 สภาพแวดล้อมขององค์การว่าประกอบด้วยปัจจัยหรือส่วนต่างๆ 10 ส่วนด้วยกัน ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ถือเป็นสภาพแวดล้อมของงาน มีผลกระทบต่อการบรรลุเป้าหมายขององค์การโดยตรง ปัจจัยเหล่านี้ได้แก่
1.1. ปัจจัยด้านอุตสาหกรรมรม ซึ่งได้แก่ขนาดของอุตสาหกรรมและสภาพการแข่งขันของอุตสาหกรรมนั้นๆ รวมถึงอุตสาหกรรมที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ คู่แข่งที่ทำกิจการประเภทเดียวกัน
1.2. ปัจจัยด้านปัจจัยผลิตหรือวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต จะพิจารณาถึงปัจจัยที่สนับสนุนการทำงานในองค์การ ผู้ป้อนวัตถุดิบให้แก่องค์การ โรงงานผลิต การบริการที่เกี่ยวข้อง
1.3. ปัจจัยด้านทรัพยากรมนุษย์ (Human resources sector) ได้แก่ การพิจารณาถึงตลาดแรงงานหน่วยงานจัดหางาน สถาบันการศึกษาในฐานะที่เป็นแหล่งสร้างแรงงานที่จะป้อนเข้าสู่ระบบ สถานฝึกอบรมสหภาพแรงงาน และพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานอื่น
1.4. ปัจจัยด้านการเงิน (Financial resources sector) สภาพแวดล้อมในส่วนนี้จะพิจารณาในเรื่องการซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ ระบบการเงิน ธนาคาร อัตราการออม การกู้เงิน อัตราดอกเบี้ยและการลงทุนของเอกชน
1.5. ปัจจัยด้านการตลาด (Market sector) เป็นการพิจารณาถึงสภาวะการตลาด
1.6. ปัจจัยด้านเทคโนโลยี (Technology sector) ซึ่งได้แก่ เทคนิคการผลิตวิทยาการต่างๆการวิจัยในด้านที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือหรืออุปกรณ์อัตโนมัติปัจจัยการผลิตใหม่ๆ
1.7. ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ (Economic conditions sector) จะประกอบด้วยสภาพการณ์ต่างๆทางด้านเศรษฐกิจ เช่น อัตราการทำงาน อัตราเงินเฟ้อ อัตราการลงทุน การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เป็นต้น
1.8. ปัจจัยด้านการควบคุมหรือภาคราชการ (Government sector) ในส่วนนี้จะพิจารณาถึงกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับของหน่วยงานราชการทั้งในส่วนกลางและส่วนท้องถิ่นระบบและอัตราภาษี ระบบและกระบวนการทางการเมือง กระบวนการยุติธรรม การจัดบริการต่างๆที่รัฐจัดให้
1.9. ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม (socio-cultural sector) จะเป็นเรื่องของค่านิยมและวัฒนธรรมในสังคมที่มีผลต่อการดำเนินงานขอององค์การ เช่น โครงสร้างประชากร อายุของประชาชนในสังคม ค่านิยมความเชื่อของคน ระดับการศึกษาของประชาชน ศาสนา จริยธรรมในการทำงาน การบริโภค การเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม
1.10 ปัจจัยจากต่างประเทศ (International sector) ปัจจัยนี้เป็นสภาพของการทำงานขององค์การที่ถูกกระทบจากสภาวะโลกาภิวัตน์ ที่มีการดำเนินกิจกรรมต่างๆข้ามชาติมากขึ้น การแข่งขันในระหว่างองค์การมีมากขึ้น การกีดกันทางการค้าไม่สามารถทำได้ ปัจจัยในด้านนี้จะพิจารณาถึงการแข่งขันจากบริษัทต่างชาติการเข้าสู่ระดับนานาชาติ หรือตลาดต่างประเทศ ระเบียบกฎเกณฑ์ต่างๆในการดำเนินกิจการ ระบบศุลกากรและอัตราการแลกเปลี่ยน เป็นต้น
ส.อ นครา ป่านกลาง 64423471043
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Gureing (2001)
และ รัฐประศาสนตาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
หลักการของ NPM แยกเป็น 20 ข้อ ได้แก่ (1) การตัดงบประมาณ(2) การใช้คูปองใช้สิทธิแทนเงิน
(vouchers) (3) ภาระรับผิดชอบต่อผดงาน (4) การตรวจสอบผลการดำเนินงาน (performance auditing)(5) การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (6) การน้นลูกค้า (บริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว, การจัดการเป็นเฉพาะราย)
(7) การกระจายอำนาฐ (8) การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ (3) การแยกหน่วยที่ทำหน้าที่การจัดหา
ออกจากหน่วยที่ทำหน้าที่การผลิต (separation of provision and production)/ (10) การแข่งขัน
(1 1) การวัดผลการปฏิบัติงาน (12) การจัดการแบบมุ่งการูเปลี่ยนแปลง (13) การจ้างเหมางานเอกชน (Contracting out) (14)
การให้อิสระในการจัดการ(น้นเพื่อความคล่องตัว) (15) การปรับปรุงการบัญชี
(16) การจัดการบุคคล (น้นด้านแรงจูงใจ) (17) การเรียกเก็บค่าบริการจากผู้ใช้ (user charges)
(18) การแบ่งแยกระหว่างการเมืองและการบริหาร( 19) การปรับปรุงการจัดการทางการเงิน และ (20) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้น
- รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Pubic Management : NPM ให้ความสำคัญต่อสัมฤทธิผลของการบริหารจัดการ และความรับผิดชอบต่อผลงานการบริหาร โดยจะมีการกำหนด วัตถุประสงค์และเป้าหมายอย่างชัดเจน
ในรูปตัวชี้วัดผลงานเพื่อ ตรวจสอบและวัดผลสำเร็จตามผลงาน
ส.อ นครา ปานกลาง 64423471043
Assign ment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่
เป็นเช่นเดียวกัน การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ 10 ประการ ดังต่อไปนี้ 1) มีความเชื่อว่าการบริหารงานมีลักษณะ
ความเป็นสากลสภาพ หรือไม่มีความแตกต่าง อย่างเป็นนัยสำคัญระหว่างการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชน และการ
บริหารงานภาครัฐ 2) ปรับเปลี่ยนการให้น้ำหนักความสำคัญจากเดิมที่มุ่งเน้นการควบคุมทรัพยากร และกฎระเบียบ เป็น
เรื่องของการควบคุมผลผลิตและผลลัพธ์ หรือปรับเปลี่ยนจากการให้ความสำคัญ ในภาระรับผิดชอบต่อกระบวนงาน
Process Accountability) ไปสู่ภาระรับผิดชอบต่อผลสัมฤทธิ์ (Accountability for result) 3) ให้ความสำคัญต่อเรื่อง
ทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบาย 4 โนถ่ายอำนาจการควบคุมของหน่วยงานส่วนกลาง
(Devolution of Centralized Power) เพื่อให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงาน 5) ปรับเปลี่ยน
โครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่โดยแบ่งออกเป็น 3 ภารกิจ ได้แก่ 1. งานเชิงพาณิชย์ (การกำกับดูแล ควบคุม) 2. งานเชิง
พาณิชย์ (การกำกับดูแล ควบคุม) และ 3. งานเชิงนโยบายและการให้บริการ เพื่อให้องค์การมีขนาดเล็กลงในรูปแบบของหน่วยงานอิสระใน กำกับ 6) เน้นการบริหารกิจการของรัฐเป็นรูปแบบเอกชนและให้มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอก
(Outsourcing) รวมทั้งบูรณาการวิธีการจัดจ้างและการประมูลงาน (Competitive Tendering) เพื่อปรับปรุงคุณภาพ
การให้บริการและลดต้นทุน 7) บุคลากรของภาครัฐในเรื่องการทำสัญญาจ้างปรับให้เป็นระยะสั้น กำหนดเงื่อนไข ข้อตกลง
ให้มีความชัดเจนสามารถตรวจสอบได้ 8 นำรูปแบบการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกซนที่ประสบความสำเร็จมา
ประยุกต์ใช้ เช่น การบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารคุณภาพเชิงรวม การจ่ายรางวัลค่าตอบแทนตามผลงาน การจัด จ้าง
บุคคลภายนอกให้เข้ามาปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวเฉพาะกิจ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการบริหารงาน
9) มีการสร้างแรงจูงใจในองค์การ เช่น การจ่ายตอบแทนในรูปของตัวเงินมากขึ้นเพื่อ เป็นรางวัล (Monetary
Incentives) 10) พยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต เพื่อให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณที่คุ้มค่า
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐ
ประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
Holzer and Schwesler (2016, pp. 402-422) กล่าวว่า อนาคตของ รัฐประศาสนศาสตร์ย่อมแตกต่างจาก
อดีต การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญยังมีต่อเนื่อง เพื่อเปลี่ยนโฉมของภาครัฐทั่วทั้งโลก แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญมี 5
แนวน้ม คือ เครือข่ายการบริหารกิจการบ้านเมือง การมีส่วนร่วมของประชาชน การบริหารกิจการบ้านเมืองอิเล็กทรอนิกส์
ความโปร่งใส และความเป็นหุ้นส่วน ระหว่างรัฐ-เอกชน ส่วนประเด็นการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญอื่น ๆ ได้แก่ รูปร่างของ
หน่วยงานภาครัฐ การปฏิรูปการจัดการภาครัฐ ความเท่าเทียมกัน การจัดการคน และองค์การ ความสอดคล้องกับสังคม
และความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม ซึ่งมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. เครือข่ายการบริหารกิจการบ้านเมือง (Governance
Networks) โครงสร้างภาครัฐกำลังเปลี่ยนแปลงและกลไกใหม่ ๆ จะถูกนำมาใช้เพื่อ ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงข้างต้น
ส่วนนิยามของเครือข่ายการบริหารกิจการ บ้านเมือง หมายถึง (1) การเชื่อมต่อกันในแนวระดับ แต่ผู้ปฏิบัติมีอิสระใน กา
รด าเนินงาน (2) ผู้ปฏิบัตินี้ปฏิบัติต่อกันและกันโดยการเจรจาต่อรอง (3) เกิดขึ้น โดยเครือข่ายที่มีกฎระเบียบ ตามบรรทัดฐาน มีการรับรู้เข้าใจ และมีจินตนาการ (4) ซึ่งนำไปสู่ขอบเขตเฉพาะในการจัดระเบียบของตนเอง และ (5) อันจะ
สนับสนุนให้เกิดการด าเนินงานตามเป้าประสงค์ของประชาชนในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
Bovaird and Loeffler (20 16, pp. 396-397 ได้กล่าวถึงสิ่งบอกเหตุ ว่าหน่วยงานภาครัฐจะค่อย ๆ หมดไป
เพราะถูกต่อต้านและถูกลดขนาดลงใน หลาย ๆ ประเทศ แต่ก็เป็นเพียงช่วงเปลี่ยนผ่าน เพราะภาครัฐจะยังคงอยู่ต่อไป ไม่
สูญหายไปไหนจากเหตุผล 2 ประการคือ ประการแรก ภาครัฐเผชิญวิกฤติการเงินเพราะการเกิดวิกฤตทางการเงิน ใน
ภาคเอกชนก่อน ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการขยายตัวของตลาดการเงินในภาคเอกชน ขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ภาวะ
ถดถอยทางเศรษฐกิจได้ทำลายเศรษฐกิจ ภาคเอกชนมากกว่าเศรษฐกิจภาครัฐและกิจกรรมภาคเอกชนจำนวนมากไม่มี
ประสิทธิภาพและมูลค่าเพิ่มต่ำ บริษัทที่เติบโตใหม่ ๆ มีค่าจ้างแรงงานต่ำและ ความมั่นคงของตำแหน่งงานก็ต่ำทำให้การ
สนับสนุนที่มีต่อเศรษฐกิจภาพรวมจึงมี น้อยไปด้วย ประการที่สอง ความไร้ประสิทธิภาพของภาคเอกชนได้เพิ่มขึ้นอย่างมี
นัยสำคัญ ตั้งแต่เริ่มมีการถดถอยทางเศรษฐกิจขนาดใหญ่ระดับนานาชาติใน ปี ค.ศ. 2008 นักวิชาการยืนยันว่ารัฐต้องมี
บทบาทสำคัญมากขึ้นโดยเฉพาะ การกำหนดกฎเกณฑ์และการจัดการกับความไม่เท่าเทียมกัน ทั้งกำหนดให้ ภาคเอกชน
ต้องรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคมมากขึ้น ซึ่งบางครั้งภาครัฐต้องเข้าไป พิทักษ์อนาคตของรัฐประศาสนศาสตร์ จะเกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์แบบดั้งเดิม การจัดการภาครัฐ และ การ
บริหารกิจการบ้านเมืองสาธารณะ ซึ่งผู้ปฏิบัติสามารถเลือกใช้องค์ความรู้ต่าง ๆ ให้เหมาะสมตามสภาพแวดล้อมและ
สถานการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้น สำหรับนักวิชาการที่มองเชิงรุกก็ต้องค้นคว้า วิจัย และแสวงหาทางเลือกใหม่ ๆ ให้
เหมาะสมสอดคล้องกับบริบทที่ทุกภาคส่วน ในสังคมต้องรับผิดชอบต่อการบริหารประเทศร่วมกันบริษัท เอกชน หรือเข้าไปฟื้นฟูเพื่อไม่ให้เกิดผลเสียหายต่อประเทศ
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่กับแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นรูปแบบการผสานศาสตร์ทั้งสองศาสตร์เพื่อการอยู่ร่วมกัน หลังเกิดการพัฒนาและการสร้างนวัตกรรม ทั้งนี้เพราะ การพัฒนาหรือ
สร้างนวัตกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ผลที่ได้รับจะนำมาซึ่งความแตกต่าง ความไม่เท่าเทียม นำไปสู่รูปแบบ
การบริหารจัดการ อาจเลือกใช้รูปแบบการบริหารงานภาครัฐ หรืออาจเลือกใช้รูปแบบการบริหารงานภาคเอกชน ร่วมการประยุกต์ใช้หลักการงคุณธรรมมาบริหารจัดการทำให้เกิดกระบวนการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยคำนึงถึงผลต่อไปนี้
มิติที่1 การคำนึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผล
มิติที่ 2 ความรับผิดชอบต่อสังคม
มิติที่ 3 การตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น
มิติที่ 4 การให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารงาน
มิติที่ 5 ความซื่อสัตย์ เป็นธรรม โปร่งใส
มิติที่ 6 ความมีจริยธรรมและเคารพกฎหมาย ผู้บริหารองค์กรจึงต้องบริหารงานเพื่อประโยชน์ด้วยการจัดสรรและกระจายคุณค่าให้แก่ประชาชนอย่างเป็นธรรม ตรงกับความต้องการเหมาะสมกับสภาพของแต่ละท้องถิ่น และให้ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วม ทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติได้อย่างเต็มที่จะต้องยึดถือประโยชน์สุขและความต้องการประชาชนเป็นหลัก
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
คือ การปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐโดยนำหลักการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการและการแสวงหาประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ ซึ่งตั้งอยู่บนสมมติฐานของความเป็นสากลของทฤษฎีการบริหาร
และเทคนิค วิธีการจัดการ ว่า สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ทั้งในแง่ของการบริหารรัฐกิจ และการบริหารธุรกิจโดยการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่นั้น จะมุ่งเน้นถึงวัตถุประสงค์และสัมฤทธิผลของ การดำนินงาน ทั้งด้านผลผลิต
(Output) ผลลัพธ์ (Outcome) และความคุ้มค่าของเงิน (Value for Money) รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพ และสร้าง ความพึงพอใจให้แก่ประชาชนผู้รับบริการ โดยนำเอาเทคนิควิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่ เข้ามาประยุกต์ใช้
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ปัจจุบันตามหลักการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาตร์ที่ว่า “การบริหารราชการเป็นผลอันเกิดมาจากทายะสมบัติทางการเมืองและสังคม” (public administration is a product of political and social heritage)
หมายถึงรูปการบริหารราชการที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบันนี้เป็นส่วนหนึ่งที่ได้มาจากการรับมรดกตกทอดมาจาก
บรรพบุรุษและอีกส่วนหนึ่งคือส่วนที่ชนรุ่นหลังหรือรุ่นปัจจุบันได้ทำารปรับปรุงไขให้พัฒนาดีขึ้นเพื่อให้ก้าวทัน
ต่อสถานการณ์ของประเทศและบริบทสังคมโลก
การใช้หลักทางสังคมวิทยาทำให้ทราบลักษณะของสภาพแวดล้อมในสังคมที่มีอิทธิพลต่อ
การบริหาร เช่น ขนบประเพณีทางสังคม และคุณค่านิยมทางสังคมที่มีอิทธิพลต่อการบริหารในระบบราชการ
เช่น การทำบุญขึ้นบ้านใหม่ ผู้อยู่อาศัยได้เสริมสิริมงคลและอยู่ในบ้านอย่างมีความสุขสำหรับหน่วยงาน
ราชการเมื่อมีการสร้างสำานักงานใหม่หรือปรับปรุงให้ดีขึ้นก็จะมีพิธีกรรมทำบุญเปิดสำนักงาน โดยมีความ
มุ่งหมายที่ต้องการให้บุคลากรทำงานอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น การงานเจริญก้าวหน้าบรรลุเป้าหมาย ซึ่งอิทธิพล
ของขนบธรรมเนียมประเพณีทางสังคมและคุณค่าทางสังคมที่ระบบราชการ น ามาใช้และยึดถือเป็นคุณค่าใน
การบริหารราชการ (administrative values) สามารถช่วยรักษาขนบธรรมเรียมประเพณีและคุณค่าทางสังคม
ที่ดีของไทยไว้เป็นส่วนสำคัญในการสร้างวัฒนธรรมองค์การที่ดีของระบบราชการไทย
ส.อ.ธนาวัฒน์ หนูลอย 64423471189
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง

ตอบ ทิศทางและแนวโน้มการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต แนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่นั้น ได้ขยายขอบเขตการศึกษาการบริหารงานของภาครัฐให้กว้างขึ้น จนกระทั่งการการปฏิรูประบบราชการที่เกิดขึ้นทั่วโลก ภายใต้อิทธิพลของแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ ได้นำมาสู่การศึกษาการบริการสารธารณะแนวใหม่เพื่อลดช่องว่างหลักการบริหารภาครัฐ โดยมุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของภาคพลเมืองในการดำเนินสาธารณกิจต่างๆ ร่วมกับภาครัฐและ ภาคเอกชนภายใต้หลักการบริหารแบบประชาธิปไตยส่งผลให้ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ที่มุ่งประเด็นไปที่การศึกษาหลักธรรมภิบาล ในการบริหารงานของภาครัฐ การจัดการแบบเครือข่าย เช่น องค์การไม่แสวงหากำไร อาสาสมัคร เป็นต้น และการบริหารจัดการองค์การร่วมสมัย เช่น การสร้างความร่วมมือในองค์การทุนมนุษย์ นอกจากนี้แนวโน้มการศึกษาของสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ภายใต้บริบทการพัฒนาในยุคอุตสาหกรรมดิจิตอล ขอบเขตของการศึกษาการบริหารงานภาครัฐจะขยายประเด็นไปถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการดำเนินสาธารณกิจของภาครัฐ เช่น การจัดการข้อมูล การนำระบบอิเล็กทรอนิกส์ในการดำเนินการบริหารงานภาครัฐ เป็นต้น รวมไปถึงการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ ดังนั้นทิศทางและแนวโน้มของการศึกษาการบริหารงานภาครัฐในอนาคต จะมุ่งสู่การศึกษาการบริหารงานที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนา และการสร้างการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการบริหารงานภาครัฐ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์การบริหารงานภาครัฐครอบคุลมในทุกมิติ ซึ่งผู้เขียนเห็นว่าการเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนานี้ ส่งผลให้นักวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ต้องมีการปรับตัวและเรียนรู้กระแสการพัฒนาที่มีความหลากหลาย และอาจนำมาด้วยการขาดความเชี่ยวชาญในองค์ความรู้ใหม่ที่จะนำมาอธิบายหรือค้นหาหลักการบริหารงานภาครัฐ จนนำมาสู่วิฤตอัตลักษณ์ด้านองค์ความรู้ของศาสตร์สาขาวิชา
รัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ด้วยเหตุนี้รัฐประศาสนศาสตร์จึงจำเป็นต้องยึดแนวทางการศึกษาประเด็นสาธารณะร่วมสมัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของภาครัฐ เพื่อหลีกเลี่ยงวิกฤติด้านองค์ความรู้ที่จะเกิดขึ้นใน
ส.อ.สราวุฒิ สังข์ติยานนท์ 64423471120
-Assignment1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
ทัศนะของ Grueing (2001) คือ เป็นการนําแนวคิดการบริหารงานจัดการภาครัฐ และภาคเอกชนความต้องการของประชาชน ปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารงานภาครัฐให้ตอบสนอง ความต้องการของประชาชนที่มีความหลากหลายมากขึ้น โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาทุจริต การจัดทํา นโยบายสาธารณะที่มีผลประโยชน์ทับซ้อน กําหนดแนวคิดพื้นฐานการบริหารจัดการภาครัฐ สร้างการ เปลี่ยนแปลงระบบต่าง ๆ ของภาครัฐให้เป็นรูปธรรม
รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ เป็นการนำแนวคิดการบริหารงานจัดการภาครัฐ และภาคเอกชนความต้องการของประชาชน ปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารงานภาครัฐให้ตอบสนอง ความต้องการของประชาชนที่มีความหลากหลายมากขึ้น โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาทุจริต การจัดทำ นโยบายสาธารณะที่มีผลประโยชน์ทับซ้อน กำหนดแนวคิดพื้นฐานการบริหารจัดการภาครัฐ สร้างการเปลี่ยนแปลงระบบต่าง ๆ ของภาครัฐให้เป็นรูปธรรม
-Assignment2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่เป็นการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐ โดยนำหลักการ เพิ่มประสิทธิภาพและการแสวงหาประสิทธิภาพของระบบราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ นำเอาแนวทาง หรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้กับการบริหารงานภาครัฐ ตลอดทั้งการมุ่งเน้น การให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ เหตุผลที่มีการนำแนวคิดการ บริหารงาน ภาครัฐแนวใหม่มาใช้เนื่องจากกระแสโลกาภิวัตน์ การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่จึงเป็นแนวคิดพื้นฐานของการบริหารจัดการภาครัฐ ซึ่งจะ นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงระบบของภาครัฐและยุทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ ที่เป็นรูปธรรม โดยมีแนวทางใน การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน กำหนดการวัดผลและการให้รางวัลแก่ผลการดำเนินงานทั้งใน ระดับองค์กรและระดับบุคคล เปิดกว้างต่อแนวคิดในเรื่องของการแข่งขัน ทั้งการแข่งขันระหว่างหน่วย งานของรัฐ ด้วยกันและระหว่างหน่วยงานของรัฐกับหน่วยงานของภาคเอกชน ลดการควบคุม จากส่วนกลางและเพิ่มอิสระในการบริหารให้แก่หน่วยงาน สร้างระบบสนับสนุนทั้งในด้านบุคลากร เทคโนโลยีเพื่อช่วยให้หน่วยงาน สามารถทำงานได้อย่างบรรลุวัตถุประสงค์
-Assignment3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสู่ขอบเขตอะไรบ้างและอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ในปัจจุบันนี้การศึกษาการบริหารงานภาครัฐในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์นั้น มีการขยาย ขอบเขตที่กว้างขึ้นและร่วมสมัยมากขึ้น ทั้งในด้านการศึกษาหลักธรรมภิบาล (good governance) การจัดการ แบบเครือข่าย (network governance) และการบริหารจัดการองค์การร่วมสมัย (contemporary organization theory) ทั้งนี้ในอนาคตการศึกษาการบริหารงานภาครัฐจะปรับเปลี่ยนไปตามกระแสการพัฒนามากขึ้น ทั้งการศึกษาการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ จึงกล่าวได้ว่าการศึกษาการ บริหารงานภาครัฐในแนวทางของรัฐประศาสนศาสตร์นั้นมีแนวโน้มในการพัฒนาศาสตร์องค์ความรู้ในเชิงปฏิบัติที่ สอดคล้องกับบริบทการพัฒนา ทั้งองค์รู้ที่เป็นแนวคิดกระแสหลักและกระแสรองเพื่อตอบสนองกับการอธิบายปรากฏการณ์การพัฒนาในสังคมที่มีความหลากหลาย
ส.อ.ณัฐพงศ์ บุญเรือง
64423471046
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
ส่วนประกอบรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่
1 การคำนึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผล
2 ความรับผิดชอบต่อสังคม
3 การตอบสนองต่อความต้องการ ของประชาชนในท้องถิ่น
4 การให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการ บริหารงาน
5 ความซื่อสัตย์ เป็นธรรม โปร่งใส
6 ความมีจริยธรรมและเคารพ กฎหมาย
รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้นให้ความสำคัญกับพลเมือง การมีส่วนร่วม ความเสมอภาค และการสร้างความเป็นธรรมทางสังคม ในมุมมองต่อประชาชน แนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ มองประชาชนเป็นพลเมือง (Citizen) ที่ภาครัฐต้องเปิดโอกาสให้เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหาร โดยเฉพาะการมีส่วนร่วมเพื่อก่อให้เกิดความเสมอภาค หรือความเป็นธรรมในสังคม (Social Equity) โดยมองว่าพลเมืองที่มีฐานะเป็นเจ้าของรัฐบาล และรัฐ นักการเมือง ตลอดจนนักบริหารงานภาครัฐ จะกำหนดนโยบายหรือผลประโยชน์สาธารณะไม่ได้ หากไม่มีการปรึกษาหารือหรือถกแถลง ร่วมกับ พลเมือง นโยบายที่กำหนดขึ้นจึงมุ่งตอบสนองต่อความต้องการและแก้ไขปัญหา ให้แก่พลเมืองโดย ส่วนรวมไม่ใช่ลูกค้า มุมมองต่อผลประโยชน์ สาธารณะ โดยกระบวนการมีส่วนร่วมจากประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พลเมืองที่ตื่นตัว ตื่นรู้ (Active Citizen) ในปัญหาของตนเอง ชุมชน สังคมและประเทศชาติโดยรวม

ส.อ.ณัฐพงศ์ บุญเรือง
64423471046
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ตอบ การที่มีจุดมุ่งเน้นไปที่วัตถุประสงค์ หรือผลสัมฤทธิ์ทั้งในแง่ของผลผลิต ความคุ้มค่าของเงิน รวมทั้ง การพัฒนาคุณภาพและการสร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการโดยนำเอาเทคนิควิธีการบริหารจัดการ สมัยใหม่เข้ามาใช้รวมถึงการมุ่งเน้นให้ความสำคัญต่อการมีส่วนร่วมในการบริหารราชการของประชาชน ในฐานะที่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) ด้วย นอกจากนี้แนวคิดดังกล่าวยังมุ่งเน้นให้ความ สนใจทั้งปัจจัยภายในและภายนอกองค์การไปพร้อมๆกัน รวมตลอดทั้ง มีการใช้องค์ความรู้แบบบูรณาการ
ส.อ.ณัฐพงศ์ บุญเรือง
64423471046
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ทิศทางและแนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต
1.การจัดการภาครัฐและรัฐบาลอิเล็คทรอนิคส์
2. ธรรมาภิบาลและการมีส่วนร่วมของประชาชน
3. กลไกตลาดและการบริการสาธารณะ

อิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบ
1. เห็นว่านักบริหาร (administrators) เป็นผู้ที่ปฏิบัติงานทั้ง 2 อย่าง คือ กำหนดนโยบายและบริหารนโยบาย ดังนั้น เรื่องนโยบายและการบริหารจึงควรเป็นเรื่องที่ต่อเนื่องกัน นักบริหารควรได้รับการมอบหมายทั้งเรื่องการจัดการที่ดีและความเป็นธรรมในสังคม ซึ่งถือเป็นค่านิยม, วัตถุประสงค์ หรือเหตุผลร่วมกันของรัฐประศาสนศาสตร์
2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ห่วงใยเรื่องการเปลี่ยนแปลง คือ รัฐประศาสนศาสตร์จะต้องพยายามแสวงหาหนทางที่จะเปลี่ยนแปลงนโยบายและโครงสร้างต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคขัดขวางความเป็นธรรมในสังคม ทั้งนี้โดยมุ่งส่งเสริมวัตถุประสงค์ของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ คือ การจัดการที่ดี มีประสิทธิภาพ ประหยัด และ
มีความเป็นธรรมทางสังคม
3. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ มีแนวโน้มที่จะศึกษาแบบทดลองหรือสนับสนุนรูปแบบของการจัดองค์การราชการ ที่แก้ไขในแนวคิดบางประการ เช่น การกระจายอำนาจ, การมอบอำนาจลดหลั่นกันไปเป็นอันดับ โครงการ, สัญญาการฝึกอบรมแบบรับรู้ความต้องการต่าง ๆ อย่างที่เรียกว่าการขยายความรับผิดชอบ การเผชิญหน้า และการนำเอาผู้รับบริการเข้ามาร่วมด้วย ล้วนเป็นแนวความคิดที่เป็นปฏิปักษ์กับระบบราชการในแง่ของสาระสำคัญทั้งสิ้น
4. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ สนับสนุนการปกครองโดยฝ่ายบริหารที่ไม่แต่เพียงพยายามแสวงหาทางที่จะให้ฝ่ายบริหารปฏิบัติหน้าที่ในการกำหนดนโยบายตามอำนาจที่ได้รับมอบให้เป็นผลสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ และประหยัดที่สุด แต่พึงพยายามแสวงหาหนทางที่จะใช้ในการบริหารนโยบาย เพื่อช่วยปรับปรุงคุณภาพของชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน
5).รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ พยายามที่จะให้มีการมุ่งความสนใจไปที่ตัวปัญหาและพยายามพิจารณาทางเลือกต่าง ๆ ที่เป็นไปได้ในการเผชิญกับปัญหานั้น ๆ โดยสถาบัน เช่น ปัญหายาเสพติด, ปัญหาอาชญากรรม เป็นต้น ซึ่งนักรัฐประศาสนศาสตร์ได้พยายามที่จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงสถาบันต่าง ๆ หรือไม่ก็ปรับปรุงใหม่ให้เป็นสถาบันที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายกว่า โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้สามารถบรรลุถึงการแก้ปัญหาที่ใกล้เคียงความเป็นจริงมากกว่า
6.รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่เน้นในส่วนที่เป็นราชการมากกว่าบริหารทั่ว ๆ ไปในการแก้ไขปัญหา
Assignment 1 ตอบ. จากข้อมูลของ Grueing (2001) แกนหลักหรือองค์ประกอบของรัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ที่สร้างโครงสร้างคือ "การจัดการสาธารณะ" การจัดการภาครัฐเกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้หลักการและเทคนิคการจัดการกับภาครัฐ รวมถึงการวางแผน การจัดระเบียบ การสั่งการ การควบคุม และการประเมินโปรแกรมและบริการสาธารณะ จุดเน้นของการบริหารภาครัฐสมัยใหม่นั่นคือการปรับปรุงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความรับผิดชอบ ขององค์การมหาชน สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนไปสู่การจัดการตามผลลัพธ์ ซึ่งองค์กรสาธารณะมีหน้าที่รับผิดชอบต่อการบรรลุผลลัพธ์ที่เฉพาะเจาะจงและส่งมอบคุณค่าที่คุ้มค่าเงิน กลยุทธ์หลักในการบรรลุเป้าหมายนี้ ได้แก่ การวัดประสิทธิภาพ การเปรียบเทียบ และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง นอกเหนือจากองค์ประกอบหลักเหล่านี้แล้ว การบริหารราชการสมัยใหม่ยังเน้นความสำคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชน ความโปร่งใส และพฤติกรรมที่มีจริยธรรมในทุกแง่มุมของการให้บริการสาธารณะ โดยการส่งเสริมคุณค่าเหล่านี้ รัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่พยายามที่จะสร้างความไว้วางใจและความเชื่อมั่นในสถาบันของรัฐและส่งเสริมธรรมาภิบาล

Assignment 2 ตอบ. New Public Administration (NPA), New Public Management (NPM) และ New Public Service (NPS) เป็นสามกระบวนทัศน์ที่แตกต่างกันในด้านการบริหารรัฐกิจ
กระบวนทัศน์ทั้งสามมีเป้าหมายร่วมกันในการปรับปรุงบริการภาครัฐ แต่มีแนวทางที่แตกต่างกันในการบรรลุเป้าหมายนี้ NPA เน้นความสำคัญของการมีส่วนร่วม การทำงานร่วมกัน และการเสริมพลังชุมชนในการให้บริการสาธารณะ ซึ่งหมายความว่า NPA เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการให้พลเมืองและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ และสร้างโอกาสให้พวกเขามีส่วนร่วมในการพัฒนาและส่งมอบบริการสาธารณะ ในทางกลับกัน NPA เน้นประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และแนวทางที่มุ่งเน้นตลาดในการให้บริการสาธารณะ ซึ่งหมายความว่า NPM เน้นการใช้เทคนิคการจัดการภาคเอกชนเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของหน่วยงานภาครัฐ เช่น การวัดประสิทธิภาพ การจัดการตามผลลัพธ์ และการบริการลูกค้า ส่วน NPS เป็นกระบวนทัศน์ใหม่ที่พยายามเชื่อมช่องว่างระหว่าง NPA และ NPM โดยเน้นความสำคัญของการทำงานร่วมกัน นวัตกรรม และการมีส่วนร่วมของพลเมืองในการให้บริการสาธารณะ ในขณะเดียวกันก็ตระหนักถึงความจำเป็นในการจัดการประสิทธิภาพและประสิทธิภาพ
โดยสรุปแล้ว กระบวนทัศน์ทั้งสามมีจุดเน้นร่วมกันที่การปรับปรุงบริการภาครัฐ แต่มีแนวทางที่แตกต่างกันในการบรรลุเป้าหมายนี้ NPA เน้นการทำงานร่วมกันและการมีส่วนร่วม ส่วน NPM เน้นประสิทธิภาพและแนวทางที่มุ่งเน้นตลาด และ NPS พยายามที่จะสร้างความสมดุลระหว่างแนวทางทั้งสองนี้โดยเน้นการทำงานร่วมกัน นวัตกรรม และการมีส่วนร่วมของพลเมือง ในขณะเดียวกันก็ตระหนักถึงความจำเป็นในการจัดการประสิทธิภาพและประสิทธิภาพ
Assignment 3 ตอบ. สืบเนื่องจากแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่นั้น ได้ขยายขอบเขตการศึกษาการบริหารงานของภาครัฐให้กว้างขึ้น จนกระทั่งการการปฏิรูประบบราชการที่เกิดขึ้นทั่วโลก ภายใต้อิทธิพลของแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ ได้นำมาสู่การศึกษาการบริการสารธารณะแนวใหม่เพื่อลดช่องว่างหลักการบริหารภาครัฐ โดยมุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของภาคพลเมืองในการดำเนินสาธารณกิจต่างๆ ร่วมกับภาครัฐและภาคเอกชนภายใต้หลักการบริหารแบบประชาธิปไตยส่งผลให้ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ที่มุ่งประเด็นไปที่การศึกษาหลักธรรมภิบาลในการบริหารงานของภาครัฐ และการจัดการแบบเครือข่าย เช่น องค์การไม่แสวงหากำไร, อาสาสมัคร เป็นต้น
ดังนั้นทิศทางและแนวโน้มของการศึกษาการบริหารงานภาครัฐในอนาคต จะมุ่งสู่การศึกษาการบริหารงานที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนา และการสร้างการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการบริหารงานภาครัฐ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์การบริหารงานภาครัฐครอบคุลมในทุกมิติ จากการศึกษาข้อมูลจะเห็นว่าการเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนานี้ ส่งผลให้นักวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ต้องมีการปรับตัวและเรียนรู้กระแสการพัฒนาที่มีความหลากหลาย และอาจนำมาด้วยการขาดความเชี่ยวชาญในองค์ความรู้ใหม่ที่จะนำมาอธิบายหรือค้นหาหลักการบริหารงานภาครัฐ จนนำมาสู่วิกฤตอัตลักษณ์ด้านองค์ความรู้ของศาสตร์สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคต ด้วยเหตุนี้รัฐประศาสนศาสตร์จึงจำเป็นต้องยึดแนวทางการศึกษาประเด็นสาธารณะร่วมสมัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของภาครัฐ เพื่อหลีกเลี่ยงวิกฤตติด้านองค์ความรู้ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
ทั้งนี้ในอนาคตการศึกษาการบริหารงานภาครัฐจะปรับเปลี่ยนไปตามกระแสการพัฒนามากขึ้น ทั้งการศึกษาการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและการสร้างนวัตกรรมในการบริหารงานภาครัฐ จึงกล่าวได้ว่าการศึกษาการบริหารงานภาครัฐในแนวทางของรัฐประศาสนศาสตร์นั้นมีแนวโน้มในการพัฒนาศาสตร์องค์ความรู้ในเชิงปฏิบัติที่สอดคล้องกับบริบทการพัฒนา ทั้งองค์รู้ที่เป็นแนวคิดกระแสหลักและกระแสรองเพื่อตอบสนองกับการอธิบายปรากฏการณ์การพัฒนาในสังคมที่มีความหลากหลาย
ส.อ.พันธกานต์ มณีกุล 64423471110
ข้อ1. 1. การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน ตรงความต้องการของประชาชน
2. คํานึงถึงคุณธรรม องค์การคุณธรรมพร้อมรับการตรวจสอบ จัดงานบริหารสอดคล้องกับ บริบทประชาชน ลดการต่อต้านให้น้อยสุด
3. รัฐพึงทําบทบาทเฉพาะที่รัฐให้เกิดการจัดการภาครัฐ สามารถนําความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดงานบริการสาธารณะให้เป็นรากฐาน 2 แนวคิดหลัก
3.1 เศรษฐศาสตร์เชิงสถาบันใหม่ (News Institutional Economics) แนวคิดความ เชื่อมโยงการปฏิรูประบบการบริหารการจัดการคือการแข่งขันทางเลือกผู้รับบริการ ความโปร่งใส คุณธรรม โครงสร้างระบบสิ่งจูงใจการอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่าง ความไม่เท่าเทียม เนื่องจาก ความไม่เท่าเทียมทําให้เกิดการนําความต้องการไปดําเนินการบริหารจัดการ
3.2 การจัดการนิยม (Managerial) คือการนําเอาแนวทางการจัดการแบบธุรกิจนํามา ปรับใช้ในภาครัฐโดยเน้นการจัดการแบบมืออาชีพมีดัชนีวัดความสําเร็จให้อํานาจในการให้ดุลยพินิจ และความอิสระในการจัดการ สร้างวัฒนธรรมที่เหมาะสม คุณธรรมองค์การ
ข้อ2. การเกิดขึ้นของแนวคิดวิชารัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่นั้น ได้มีการนําแนวคิดทางการจัดการ มาใช้เป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ ซึ่งถือเป็นการท้าทายทฤษฎียุคดั้งเดิม โดยนักวิชาการ ที่ทําการโต้แย้งได้พัฒนาแนวคิดเป็นศาสตร์แห่งการบริหารรวมถึงกลุ่มพฤติกรรมศาสตร์ ทําให้การศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์มีการทบทวนองค์ความรู้เอกลักษณ์ของวิชา และมีการพัฒนาให้เป็นศาสตร์มากขึ้น ผลที่เกิดขึ้น คือ การรวมกรอบแนวคิด ระหว่างกรอบแนวคิด การบริหารเป็นส่วนหนึ่งของการเมือง และการบริหารเป็นส่วนหนึ่งของศาสตร์การบริหาร มารวมกับทฤษฎีความสอดคล้องกับความต้องการ
ของสังคม
ข้อ.3 รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) เป็นศาสตร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงานของภาครัฐ ที่มีความเกี่ยวข้องกับสาธารณกิจ (Public Affairs) ซึ่งเป็นการดำเนินกิจกรรมในมิติต่าง ๆ ของ ภาครัฐ อันส่งผลกระทบกับประชาชนหรือส่วนรวม ในภายหลังเรียกได้ว่าเป็นการบริหารรัฐกิจ (public administration)เพื่ออธิบายกระบวนการบริหารกิจกรรมต่างๆของภาครัฐในการการดำเนินงาน สาธารณกิจ ดังนั้นองค์ความรู้ (body of knowledge) ของรัฐประศาสนศาสตร์จึงเกี่ยวข้องกับการบริหารรัฐกิจและกระบวนการดาเนินกิจกรรมของภาครัฐในภาคปฏิบัติ ด้วยเหตุนี้แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ จึงสามารถถูกนำไปทดสอบและนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินกิจกรรมของภาครัฐได้
ส.อ.ภานุรุจ แก้วเล็ก รหัส น.ศ.64423471197 ข้อที่ 1 Grueing ระบุว่าองค์ประกอบหลักของการบริหารราชการสมัยใหม่ในฐานะโครงสร้างคือแนวคิดของ "การปกครอง" นี่หมายถึงวิธีการจัดการสถาบันของรัฐและวิธีการตัดสินใจในสังคมประชาธิปไตย รัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่มุ่งเน้นไปที่การส่งเสริมประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความรับผิดชอบในบริการสาธารณะและโครงการต่างๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆ เช่น การพัฒนานโยบาย การจัดทำงบประมาณ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ และการวัดผลการปฏิบัติงาน ป้าหมายสูงสุดของการบริหารราชการสมัยใหม่คือการให้บริการคุณภาพสูงที่ตอบสนองความต้องการของประชาชนข้อที่ 2 New Public Administration (NPA) and New Public Management (NPM) เป็นสองแนวทางการบริหารราชการที่มีความคล้ายคลึงกันในแง่ของลักษณะของบริการภาครัฐใหม่ ทั้ง NPA และ NPM มุ่งเน้นการให้บริการภาครัฐคุณภาพสูงที่ตอบสนองความต้องการของประชาชน วามโปร่งใส และการปรับปรุงการดำเนินงานของรัฐบาลอย่างต่อเนื่องแนวทาง NPA เน้นการทำงานร่วมกัน การมีส่วนร่วมของชุมชน และความเท่าเทียมทางสังคม ในขณะที่แนวทาง NPM เน้นประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และการจัดการตามผลลัพธ์ สิ่งนี้สามารถส่งผลให้มีการเน้นที่แตกต่างกันในพื้นที่ต่างๆ ในการบริการของรัฐ ตัวอย่างเช่น NPM อาจเน้นที่การปรับปรุงกระบวนการและการวัดผลลัพธ์ ในขณะที่ NPA อาจเน้นที่การมีส่วนร่วมกับชุมชนและการให้บริการทางสังคมแก่กลุ่มคนชายขอบแบบดั้งเดิม ข้อที่ 3 อนาคตของการบริหารรัฐกิจจะเห็นการขยายขอบเขตที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีและการตัดสินใจที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูล ซึ่งหมายความว่าผู้บริหารภาครัฐจะต้องได้รับการฝึกอบรมให้ใช้เทคโนโลยีใหม่และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาสังคม
อิทธิพลของแนวคิดการบริหารราชการแบบใหม่ เช่น การกำกับดูแลแบบมีส่วนร่วม การกำกับดูแลแบบร่วมมือ และการกำกับดูแลเครือข่ายแนวคิดเหล่านี้ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของพลเมืองและการทำงานร่วมกันระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆซึ่งหมายความว่าผู้ดูแลระบบภาครัฐจะต้องตอบสนองต่อความต้องการของพลเมืองมากขึ้นและมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกันมากขึ้น การให้บริการสาธารณะ และการดำเนินนโยบายของรัฐบาล อย่างไรก็ตาม ด้วยการเน้นที่การมีส่วนร่วมและการทำงานร่วมกันของพลเมืองมากขึ้น ผู้ดูแลระบบภาครัฐก็จำเป็นต้องมีทักษะในการสร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และอำนวยความสะดวกในกระบวนการตัดสินใจแบบมีส่วนร่วม
ส.ท.อนุพงษ์ กุลนอก 64423471200
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
1 Grueing ระบุว่าองค์ประกอบหลักของการบริหารราชการสมัยใหม่ในฐานะโครงสร้างคือแนวคิดของ "การปกครอง" นี่หมายถึงวิธีการจัดการสถาบันของรัฐและวิธีการตัดสินใจในสังคมประชาธิปไตย รัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่มุ่งเน้นไปที่การส่งเสริมประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความรับผิดชอบในบริการสาธารณะและโครงการต่างๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆ เช่น การพัฒนานโยบาย การจัดทำงบประมาณ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ และการวัดผลการปฏิบัติงาน เป้าหมายสูงสุดของการบริหารราชการสมัยใหม่คือการให้บริการคุณภาพสูงที่ตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของประชาชน
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ตอบ ทั้ง รัฐประศาสนศาสตร์ และ การจัดการภาครัฐแนวใหม่กับการบริการภาครัฐแนวใหม่ผมสรุปได้ว่ามีลักษณะที่เป็นเช่นเดียวกันดังนี้
1. เป็นการปรับเปลี่ยนการควบคุม ผลผลิตและผลลัพธ์ มีความเป็นสากล ให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหาร และให้ความสำคัญต่อ เรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบาย ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่ ให้มีขนาดเล็กลง รวมทั้งการประยุกต์ใช้วิธีการจัดจ้างและการแข่งขันประมูลงานเพื่อลดต้นทุน มีการสร้างแรงจูงใจ และให้รางวัลตอบแทนมากขึ้น สร้างระเบียบวินัยและความประหยัดในการใช้ จ่ายเงินงบประมาณ โดยพยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต
2. แนวคิดใหม่ไม่ใช่การปฏิรูประบบ ราชการอย่างเดียวแต่ยังแปลงโฉมภาครัฐใหม่ด้วยการจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐกับสังคม ใหม่ เหตุผลหลักที่ได้รับการยอมรับคือ ตัวแบบระบบราชการเดิมใช้ไม่ได้อีกต่อไป รัฐบาลหลายประเทศ เริ่มไม่เห็นด้วยกับการท างานแบบราชการ จึงจ้างนักเศรษฐศาสตร์ที่อบรมการจัดการเข้ามาท างานแทน นักบริหารพร้อมกับหยิบยืมเทคนิคการจัดการจากภาคเอกชนมาใช้
3. ภาครัฐแนวใหม่เป็นการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐ โดยนำหลักการ เพิ่มประสิทธิภาพและการแสวงหาประสิทธิภาพของระบบราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ นำเอาแนวทาง หรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้กับการบริหารงานภาครัฐ ตลอดทั้งการมุ่งเน้น การให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขต คือ รัฐประศาสนศาสตร์มีความรู้หลากหลายและกำลังคัดแยกความรู้ที่มี ประโยชน์ต่อตัวเอง ขณะเดียวกันก็เปลี่ยนแปลงไปตามกระแสสังคม อาจกล่าวได้ว่ารัฐประศาสนศาสตร์เป็นการศึกษาการบริหารภาครัฐ อันมีแกนกลางอยู่ 3 ด้าน คือ การบริหารคนบริหารเงินและองค์การ นอกนั้นก็เป็นความรู้เกี่ยวข้องกับบบกกการเมืองและการพัฒนา ซึ่งเป็นบริบทที่ใหญ่กว่าและอยู่รอบนอกการบริหาร ได้แก่ 1.นโยบายสาธารณะการบริหาร 2.เปรียบเทียบและการบริหารการพัฒนา และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ คือ เริ่มมีการเปลี่ยนระบบการทางานใหม่ สาเหตุ พื้นฐานมาจากรัฐบาลหลายประเทศเผชิญกับปัญหารายได้ที่แท้จริงตกต่ำแต่นักการเมืองยังคงอยากให้บริการอยู่ในระดับเดิม จึงไม่มีทางอื่นนอกจากปรับปรุงประสิทธิภาพประกอบกับนักทฤษฎีท้วงติงว่า ระบบราชการเดิมไม่มีประสิทธิภาพ และเมื่อนักเศรษฐศาสตร์ศึกษาก็ได้คาตอบแบบเดียวกัน จึงเริ่มมีคำถามว่าทำไมต้องจ้างข้าราชการถาวร ทำไมไม่จ้างตามสัญญา หากจ้างตามสัญญาจะเกิดปัญหา อะไรบ้าง ส่วนแรงต่อต้านจากระบบราชก็มีน้อย เพราะประชาชนไม่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงจึงเกิดขึ้น และเป็นเหตุให้การทางานแบบระบบราชการบางอย่างหายไป
ส.อ.ภานุรุจ แก้วเล็ก รหัส น.ศ.64423471197 ข้อที่ 1 Grueing ระบุว่าองค์ประกอบหลักของการบริหารราชการสมัยใหม่ในฐานะโครงสร้างคือแนวคิดของ "การปกครอง" นี่หมายถึงวิธีการจัดการสถาบันของรัฐและวิธีการตัดสินใจในสังคมประชาธิปไตย รัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่มุ่งเน้นไปที่การส่งเสริมประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความรับผิดชอบในบริการสาธารณะและโครงการต่างๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆ เช่น การพัฒนานโยบาย การจัดทำงบประมาณ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ และการวัดผลการปฏิบัติงาน ป้าหมายสูงสุดของการบริหารราชการสมัยใหม่คือการให้บริการคุณภาพสูงที่ตอบสนองความต้องการของประชาชน
ข้อที่ 2 New Public Administration (NPA) and New Public Management (NPM) เป็นสองแนวทางการบริหารราชการที่มีความคล้ายคลึงกันในแง่ของลักษณะของบริการภาครัฐใหม่ ทั้ง NPA และ NPM มุ่งเน้นการให้บริการภาครัฐคุณภาพสูงที่ตอบสนองความต้องการของประชาชน วามโปร่งใส และการปรับปรุงการดำเนินงานของรัฐบาลอย่างต่อเนื่องแนวทาง NPA เน้นการทำงานร่วมกัน การมีส่วนร่วมของชุมชน และความเท่าเทียมทางสังคม ในขณะที่แนวทาง NPM เน้นประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และการจัดการตามผลลัพธ์ สิ่งนี้สามารถส่งผลให้มีการเน้นที่แตกต่างกันในพื้นที่ต่างๆ ในการบริการของรัฐ ตัวอย่างเช่น NPM อาจเน้นที่การปรับปรุงกระบวนการและการวัดผลลัพธ์ ในขณะที่ NPA อาจเน้นที่การมีส่วนร่วมกับชุมชนและการให้บริการทางสังคมแก่กลุ่มคนชายขอบแบบดั้งเดิม
ข้อที่ 3 อนาคตของการบริหารรัฐกิจจะเห็นการขยายขอบเขตที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีและการตัดสินใจที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูล ซึ่งหมายความว่าผู้บริหารภาครัฐจะต้องได้รับการฝึกอบรมให้ใช้เทคโนโลยีใหม่และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาสังคม
อิทธิพลของแนวคิดการบริหารราชการแบบใหม่ เช่น การกำกับดูแลแบบมีส่วนร่วม การกำกับดูแลแบบร่วมมือ และการกำกับดูแลเครือข่ายแนวคิดเหล่านี้ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของพลเมืองและการทำงานร่วมกันระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆซึ่งหมายความว่าผู้ดูแลระบบภาครัฐจะต้องตอบสนองต่อความต้องการของพลเมืองมากขึ้นและมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกันมากขึ้น การให้บริการสาธารณะ และการดำเนินนโยบายของรัฐบาล อย่างไรก็ตาม ด้วยการเน้นที่การมีส่วนร่วมและการทำงานร่วมกันของพลเมืองมากขึ้น ผู้ดูแลระบบภาครัฐก็จำเป็นต้องมีทักษะในการสร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และอำนวยความสะดวกในกระบวนการตัดสินใจแบบมีส่วนร่วม
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของGrueing(2001)และรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้นอะไรบ้าง
ตอบ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ เป็นการนำแนวคิดการบริหารงานจัดการภาครัฐ และภาคเอกชนความต้องการของประชาชน ปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารงานภาครัฐให้ตอบสนอง ความต้องการของประชาชนที่มีความหลากหลายมากขึ้น โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาทุจริต การจัดทำ นโยบายสาธารณะที่มีผลประโยชน์ทับซ้อน กำหนดแนวคิดพื้นฐานการบริหารจัดการภาครัฐ สร้างการ เปลี่ยนแปลงระบบต่าง ๆ ของภาครัฐให้เป็นรูปธรรม เลือกแนวทางการบริหารจัดการ ดังต่อไปนี้
1. การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน ตรงความต้องการของประชาชน
2. คำนึงถึงคุณธรรม องค์การคุณธรรมพร้อมรับการตรวจสอบ จัดงานบริหารสอดคล้องกับ บริบทประชาชน ลดการต่อต้านให้น้อยสุด
3. รัฐพึงทำบทบาทเฉพาะที่รัฐให้เกิดการจัดการภาครัฐ สามารถนำความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดงานบริการสาธารณะให้เป็นรากฐาน
2 แนวคิดหลัก
3.1 เศรษฐศาสตร์เชิงสถาบันใหม่ แนวคิดความ เชื่อมโยงการปฏิรูประบบการบริหารการจัดการคือการแข่งขันทางเลือกผู้รับบริการ ความโปร่งใส คุณธรรม โครงสร้างระบบสิ่งจูงใจการอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่าง ความไม่เท่าเทียม เนื่องจาก ความไม่เท่าเทียมทำให้เกิดการนำความต้องการไปดำเนินการบริหารจัดการ
3.2 การจัดการนิยม คือการนำเอาแนวทางการจัดการแบบธุรกิจนำมา ปรับใช้ในภาครัฐโดยเน้นการจัดการแบบมืออาชีพมีดัชนีวัดความสำเร็จให้อำนาจในการให้ดุลยพินิจ และความอิสระในการจัดการ สร้างวัฒนธรรมที่เหมาะสม คุณธรรมองค์การ
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ตอบ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีล ลักษณะเชิงมนุษยนิยม สนใจทฤษฎีปทัสถาน ปรัชญา และปฏิบัตินิยม กล่าวคือให้ความสนใจศึกษาเกี่ยวกับเกี่ยว ค่านิยม ศีลธรรม ความเป็นมนุษย์มากขึ้น และเน้นการพัฒนาองค์การในรูปแบบใหม่ ให้เป็นองค์การเชิงริเริ่มสร้างสรรค์และบุกเบิกทดลองในการพยายามตอบสนอง ความต้องการของประชาชน รวมทั้งแนวคิดการจัดองค์การสาธารณะที่มุ่งรับใช้ให้บริการแก่ประชาชน ให้ความสนใจต่อประชาชนผู้รับบริการมากขึ้น
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขต คือ รัฐประศาสนศาสตร์มีความรู้หลากหลายและกำลังคัดแยกความรู้ที่มี ประโยชน์ต่อตัวเอง ขณะเดียวกันก็เปลี่ยนแปลงไปตามกระแสสังคม อาจกล่าวได้ว่ารัฐประศาสนศาสตร์เป็นการศึกษาการบริหารภาครัฐ อันมีแกนกลางอยู่ 3 ด้าน คือ การบริหารคนบริหารเงินและองค์การ นอกนั้นก็เป็นความรู้เกี่ยวข้องกับบบกกการเมืองและการพัฒนา ซึ่งเป็นบริบทที่ใหญ่กว่าและอยู่รอบนอกการบริหาร ได้แก่ 1.นโยบายสาธารณะการบริหาร 2.เปรียบเทียบและการบริหารการพัฒนา และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ คือ เริ่มมีการเปลี่ยนระบบการทางานใหม่ สาเหตุ พื้นฐานมาจากรัฐบาลหลายประเทศเผชิญกับปัญหารายได้ที่แท้จริงตกต่ำแต่นักการเมืองยังคงอยากให้บริการอยู่ในระดับเดิม จึงไม่มีทางอื่นนอกจากปรับปรุงประสิทธิภาพประกอบกับนักทฤษฎีท้วงติงว่า ระบบราชการเดิมไม่มีประสิทธิภาพ และเมื่อนักเศรษฐศาสตร์ศึกษาก็ได้คาตอบแบบเดียวกัน จึงเริ่มมีคำถามว่าทำไมต้องจ้างข้าราชการถาวร ทำไมไม่จ้างตามสัญญา หากจ้างตามสัญญาจะเกิดปัญหา อะไรบ้าง ส่วนแรงต่อต้านจากระบบราชก็มีน้อย เพราะประชาชนไม่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงจึงเกิดขึ้น และเป็นเหตุให้การทางานแบบระบบราชการบางอย่างหายไป ดังนั้นแนวโน้มของ“การจัดการภาครัฐ” ในอนาคตจึงมุ่งไปสู่ “การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ” (Privatization) และการใช้ “บุคคลที่สาม” (Third Party) ในการดำเนินการต่าง ๆ แทนภาครัฐเพิ่มมากขึ้นซึ่งทาให้ภาครัฐจำเป็นต้องอาศัย “แนวความคิด และวิธีการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชน” มาใช้มากขึ้นทุกทีการบริหารจัดการแบบภาคเอกชน เช่นว่านี้ทำให้เจ้าหน้าที่ของภาครัฐต้องมีความเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพมากขึ้น (Qualityfied Personnel) พร้อม ๆ กับการต้องเป็น “มืออาชีพ” มากขึ้นด้วย (Higher-Quality Professional) แต่โดยที่การบริหารในภาครัฐราชการจะต้องอยู่ภายใต้กฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ มากมาย ซึ่งต่างจากการบริหารของภาคเอกชน และอยู่ภายใต้หลักการปกครองแบบ “นิติรัฐ” (Rule of Law) ด้วยจึงทำให้ภาครัฐจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบของการปกครองแบบเข้มงวดเคร่งครัดมายึดหลักการ และบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีดังนี้
1.การคํานึงถึงประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล
2.ความรับผิดชอบต่อสังคม
3.การตอบสนองต่อความต้องการ ของประชาชนในท้องถิ่น
4.การให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการ บริหารงาน
5.ความซื่อสัตย์ เป็นธรรม โปร่งใส มิติที่ 6 ความมีจริยธรรมและเคารพกฎหมาย
กระบวนทัศน์เพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน ปัจจัยนําเข้า (Inputs) ได้แก่ ประโยชน์สาธารณะ (ความต้องการหรือ ข้อเรียกร้องของชุมชน/ท้องถิ่น) กระบวนการ (Process) ได้แก่
1.กําหนดนโยบาย นํานโยบายไปปฏิบัติ และประเมินนโยบาย
2.บริหารจัดการตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง
3.บริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้เก่ียวข้อง 4) บริหารที่มุ่งบรรลุเป้าหมายผลผลิต (Outputs) ได้แก่ ผลการนํา นโยบายไปปฏิบัติผลลัพธ์ (Outcome) คือ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง
ส.ท.อภิสิทธิ์ ฟองงาม64423471249
Assignment1 หนึ่งในการโต้แย้งที่สร้างผลสะเทือนมากที่สุดในสาขาวิชา
รัฐประศาสนศาสตร์ คือการวิพากษ์ของ Herbert Simon (1946) ที่แสดง
ให้เห็นว่าหลักการของรัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะขัดแย้งกัน มีความสามารถ
เพียงเล็กน้อยในการที่จะเป็นทฤษฎีที่มีลักษณะทั่วไป (Generalized theory)
ซึ่งทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะไม่แม่นยำ (ขาดความสามารถในการ
ทำนาย) และแตกออกเป็นฝอย ๆ ด้วยเหตุนี้เขาจึงได้พัฒนารัฐประศาสนศาสตร์
ในแนวทางใหม่ที่ Gruening (2001, p. 4) เรียกว่า ‘รัฐประศาสนศาสตร์แนว
นีโอคลาสสิก’ (Neoclassic public administration) ผ่านตำราเล่มสำคัญและ
วิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของเขา คือ ‘Administrative Behavior: A Study of
Decision-Making in Administrative Organization’ (1947) ได้พัฒนา
ทฤษฎีการตัดสินใจที่ให้มโนทัศน์ใหม่ อาทิ ความมีเหตุผลที่จำกัด (Bounded
rationality) ความไม่สมบูรณ์ของข่าวสาร (Incomplete information)
ความคลุมเครือในเป้าหมาย (Goal ambiguity) ข้อจำกัดทางทรัพยากร
(Resource limitations) กลยุทธ์การตัดสินใจตามความพอใจ (Satisficing
strategy ) เป็นต้น นอกจากนี้ Simon ยังได้แบ่ง ‘ข้อเท็จจริง’ (Facts)
ออกจาก ‘การตัดสินเชิงคุณค่า’ ตลอดจนแบ่งศาสตร์ออกเป็น ศาสตร์บริสุทธิ์
และศาสตร์ประยุกต์ และด้วยการมีมุมมองเช่นนี้ เขาจึงกล่าวว่า ความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ที่เป็นวัตถุวิสัยสามารถนำไปใช้ในการควบคุมสิ่งแวดล้อมทางสังคม
ได้ (Simon, 1947; Simon, Smithburg and Thompson, 1962) แนวคิด
ของ Simon มีอิทธิพลอย่างมากต่อการศึกษาพฤติกรรมและการตัดสินใจใน
องค์การเชิงบริหาร และได้สร้างศัพท์วิชาการใหม่ ๆ และวิธีวิทยาทางการวิจัย
ที่มีลักษณะแม่นยำมากขึ้น โดยอาศัยฐานความคิดจากสำนักพฤติกรรมศาสตร์
สำนักโครงสร้าง-หน้าที่นิยมและทฤษฎีระบบ เป็นสำคัญ
อย่างไรก็ตาม ทฤษฎีการตัดสินใจเชิงปฏิฐานนิยม (Positivist
decision-theory) ที่ Simon ได้วางรากฐานไว้มีอิทธิพลอย่างมากในสาขาวิชา
รัฐประศาสนศาสตร์ แต่สำหรับ Christopher Hood และ Michael Jackson
ส.ท.อภิสิทธิ์ ฟองงาม64423471249Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ตอบ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ตอบ ลักษณะของรัฐประศาสตร์แนวใหม่
1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่' (new public administration: npa) เป็นการผสมผสานแนวคิด
ขบวนการเคลื่อนไหวมนุษย์สัมพันธ์ (human-relations movement) และรัฐประศาสนศาสตร์ที่
มุ่งเน้นการเมือง (political-oriented public administration)
2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ ที่ศึกษา เชิงโครงสร้างประชาธิปไตยทั้งกายในและกายนอกองค์การภาครัฐ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเด็นเรื่องความเสมอภาคทางสังคม (social equality) เน้นการ มีส่วนร่วม โดยเฉพาะ
แนวคิดของกลุ่มชุมชนนิยม ซึ่งมองว่าสังคมปัจจุบันไร้ราก เป็นปัจเจกสูง จึงจำเป็นต้องกระตุ้นให้เกิดการมี
ส่วนร่วมทางการเมืองและ โครงสร้างการบริหาร
3. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ ที่เน้นการศึกษาค้านบทบาทของเครือข่ายสาธารณะในฐานะผู้ใกล่เกลี่ยของ
กลุ่มผลประโชชน์ต่าง ๆ
องค์ประกอบและส่วนประกอบเชิงโครงสร้างของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่
- รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีการขยายแนวคิดไปสู่การจัดการสาธารณะใหม่และการบริการสาธารณะใหม่
ดังนั้น จะเห็นว่า ทั้งสองแนวความคิดเป็นสิ่งที่มีผลต่อการพัฒนารัฐประศาสนศาสตร์ใหม่
- จึงถือได้ว่า รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีองค์ประกอบของ การจัดการภาครัฐแนวใหม่และการบริการภาครัฐแนวใหม่เป็นส่วนหนึ่งเชิงโครงสร้างของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ที่ต้องมีเค้าโครงของแนวคิดการจัดการเป็นกลไกทางการบริหารและการบริการ แนวคิดได้ให้ความสำกัญต่อโครงสร้างความเป็นประชาธิปไตยทั้งภายในและภายนอกองค์การ เช่น การมีส่วนร่วม ความเสมอภาค เป็นต้นองค์ประกอบและส่วนประกอบเชิงโครงสร้างของรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่
ส.ท.อภิสิทธิ์ ฟองงาม64423471249Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ใหม่" มุ่งสู่การศึกษาการบริหารงานที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนาแนวคิดมีทิศทางของการสร้างการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนต่อการบริหารงานภาครัฐมากขึ้นสามารถอธิบายปรากฏการณ์ของการบริหารงานภาครัฐครอบคุลมในทุกมิติสามารถศึกษาและค้นหาหลักการทางการบริหารงานภาครัฐได้อย่างมีอัตลักษณ์มากขึ้นแนวคิดที่มีอิทธิพลต่อการปฏิรูปการบริหารภาครัฐทั่วโลก แนวคิดใหม่ไม่ใช่การปฏิรูประบบ
ราชการอย่างเดียวแต่ยังแปลงโฉมภาครัฐใหม่ด้วยการจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐกับสังคม
ใหม่ เหตุผลหลักที่ได้รับการยอมรับคือ ตัวแบบระบบราชการเดิมใช้ไม่ได้อีกต่อไป รัฐบาลหลายประเทศ
เริ่มไม่เห็นด้วยกับการท างานแบบราชการ จึงจ้างนักเศรษฐศาสตร์ที่อบรมการจัดการเข้ามาท างานแทน
นักบริหารพร้อมกับหยิบยืมเทคนิคการจัดการจากภาคเอกชนมาใช้ย้อนกลับไปใช้วิธีการแบ่งกิจกรรม
ภาครัฐกับภาคเอกชนออกจากกันเพื่อหาทางตัดค่าใช้จ่าย และเริ่มเปลี่ยนระบบการท างานใหม่ สาเหตุ
พื้นฐานมาจากรัฐบาลหลายประเทศเผชิญกับปัญหารายได้ที่แท้จริงตกต่ า แต่นักการเมืองยังคงอยาก
ให้บริการอยู่ในระดับเดิม จึงไม่มีทางอื่นนอกจากปรับปรุงประสิทธิภาพประกอบกับนักทฤษฎีท้วงติงว่า
ระบบราชการเดิมไม่มีประสิทธิภาพ และเมื่อนักเศรษฐศาสตร์ศึกษาก็ได้ค าตอบแบบเดียวกัน จึงเริ่มมี
ค าถามว่าท าไมต้องจ้างข้าราชการถาวร ท าไมไม่จ้างตามสัญญา หากจ้างตามสัญญาจะเกิดปัญหา
อะไรบ้าง ส่วนแรงต่อต้านจากระบบราชก็มีน้อย เพราะประชาชนไม่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงจึงเกิดขึ้น
และเป็นเหตุให้การท างานแบบระบบราชการบางอย่างหายไป ดังนั้นแนวโน้มของ“การจัดการภาครัฐ”
ในอนาคตจึงมุ่งไปสู่ “การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ” (Privatization) และการใช้ “บุคคลที่สาม” (Third
Party) ในการด าเนินการต่าง ๆ แทนภาครัฐเพิ่มมากขึ้นซึ่งท าให้ภาครัฐจ าเป็นต้องอาศัย “แนวความคิด
และวิธีการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชน” มาใช้มากขึ้นทุกทีการบริหารจัดการแบบภาคเอกชน
เช่นว่านี้ท าให้เจ้าหน้าที่ของภาครัฐต้องมีความเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพมากขึ้น (Qualityfied
Personnel) พร้อม ๆ กับการต้องเป็น “มืออาชีพ” มากขึ้นด้วย (Higher-Quality Professional)
แต่โดยที่การบริหารในภาครัฐราชการจะต้องอยู่ภายใต้กฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ มากมาย ซึ่งต่าง
จากการบริหารของภาคเอกชน และอยู่ภายใต้หลักการปกครองแบบ “นิติรัฐ” (Rule of Law)
ด้วยจึงทำให้ภาครัฐจ าเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบของการปกครองแบบเข้มงวดเคร่งครัดมายึดหลักการ
ผ่อนปรนภายใต้ “ธรรมาภิบาล” หรือ “การก ากับดูแลที่ดี” (Good Governance) มากขึ้น ปัญหาใน
ปัจจุบันจึงอยู่ที่การเร่งสร้างองค์กรเครือข่ายของภาครัฐและภาคเอกชนที่อาศัยหลักการของ
“ธรรมาภิบาล” ซึ่งอยู่ภายใต้การก ากับของหลักแห่งศีลธรรมที่ดีงามทุกวันนี้ภาคเอกชนไม่เพียงแต่
เรียกร้องและต้องการ Good Governance เท่านั้นแต่ยังเรียกร้อง “Good Judgment” จากเจ้าหน้าที่
ของรัฐทุกระดับชั้นมากยิ่งขึ้นด้วย (ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร, 2552)
ดังนั้นข้อเสนอในการจัดการภาครัฐแนวใหม่เป็นการแปลงโฉมภาครัฐใหม่ด้วยการจัดระบบ
ความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐกับสังคมใหม่ และเริ่มเปลี่ยนระบบการท างานใหม่ไปสู่การแปรรูป
รัฐวิสาหกิจและการใช้บุคคลที่สามในการด าเนินการต่าง ๆ แทนภาครัฐเพิ่มมากขึ้น แต่การบริหาร
ในภาครัฐราชการจะต้องอยู่ภายใต้กฎหมายและกฎระเบียบต่าง ๆ มากมาย ซึ่งต่างจากการบริหารของ
ภาคเอกชนจึงท าให้ภาครัฐจ าเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบของการปกครองแบบเข้มงวดเคร่งครัดมายึด
หลักการผ่อนปรนภายใต้ “ธรรมาภิบาล” หรือ “การกำกับดูแลที่ดี” (Good Governance) มากขึ้น
ส.ท.อนุพงษ์ กุลนอก 64423471200
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
1 Grueing ระบุว่าองค์ประกอบหลักของการบริหารราชการสมัยใหม่ในฐานะโครงสร้างคือแนวคิดของ "การปกครอง" นี่หมายถึงวิธีการจัดการสถาบันของรัฐและวิธีการตัดสินใจในสังคมประชาธิปไตย รัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่มุ่งเน้นไปที่การส่งเสริมประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความรับผิดชอบในบริการสาธารณะและโครงการต่างๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆ เช่น การพัฒนานโยบาย การจัดทำงบประมาณ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ และการวัดผลการปฏิบัติงาน เป้าหมายสูงสุดของการบริหารราชการสมัยใหม่คือการให้บริการคุณภาพสูงที่ตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของประชาชน
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
ตอบ ทั้ง รัฐประศาสนศาสตร์ และ การจัดการภาครัฐแนวใหม่กับการบริการภาครัฐแนวใหม่ผมสรุปได้ว่ามีลักษณะที่เป็นเช่นเดียวกันดังนี้
1. เป็นการปรับเปลี่ยนการควบคุม ผลผลิตและผลลัพธ์ มีความเป็นสากล ให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหาร และให้ความสำคัญต่อ เรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบาย ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่ ให้มีขนาดเล็กลง รวมทั้งการประยุกต์ใช้วิธีการจัดจ้างและการแข่งขันประมูลงานเพื่อลดต้นทุน มีการสร้างแรงจูงใจ และให้รางวัลตอบแทนมากขึ้น สร้างระเบียบวินัยและความประหยัดในการใช้ จ่ายเงินงบประมาณ โดยพยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต
2. แนวคิดใหม่ไม่ใช่การปฏิรูประบบ ราชการอย่างเดียวแต่ยังแปลงโฉมภาครัฐใหม่ด้วยการจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐกับสังคม ใหม่ เหตุผลหลักที่ได้รับการยอมรับคือ ตัวแบบระบบราชการเดิมใช้ไม่ได้อีกต่อไป รัฐบาลหลายประเทศ เริ่มไม่เห็นด้วยกับการท างานแบบราชการ จึงจ้างนักเศรษฐศาสตร์ที่อบรมการจัดการเข้ามาท างานแทน นักบริหารพร้อมกับหยิบยืมเทคนิคการจัดการจากภาคเอกชนมาใช้
3. ภาครัฐแนวใหม่เป็นการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐ โดยนำหลักการ เพิ่มประสิทธิภาพและการแสวงหาประสิทธิภาพของระบบราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ นำเอาแนวทาง หรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้กับการบริหารงานภาครัฐ ตลอดทั้งการมุ่งเน้น การให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขต คือ รัฐประศาสนศาสตร์มีความรู้หลากหลายและกำลังคัดแยกความรู้ที่มี ประโยชน์ต่อตัวเอง ขณะเดียวกันก็เปลี่ยนแปลงไปตามกระแสสังคม อาจกล่าวได้ว่ารัฐประศาสนศาสตร์เป็นการศึกษาการบริหารภาครัฐ อันมีแกนกลางอยู่ 3 ด้าน คือ การบริหารคนบริหารเงินและองค์การ นอกนั้นก็เป็นความรู้เกี่ยวข้องกับบบกกการเมืองและการพัฒนา ซึ่งเป็นบริบทที่ใหญ่กว่าและอยู่รอบนอกการบริหาร ได้แก่ 1.นโยบายสาธารณะการบริหาร 2.เปรียบเทียบและการบริหารการพัฒนา และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ คือ เริ่มมีการเปลี่ยนระบบการทางานใหม่ สาเหตุ พื้นฐานมาจากรัฐบาลหลายประเทศเผชิญกับปัญหารายได้ที่แท้จริงตกต่ำแต่นักการเมืองยังคงอยากให้บริการอยู่ในระดับเดิม จึงไม่มีทางอื่นนอกจากปรับปรุงประสิทธิภาพประกอบกับนักทฤษฎีท้วงติงว่า ระบบราชการเดิมไม่มีประสิทธิภาพ และเมื่อนักเศรษฐศาสตร์ศึกษาก็ได้คาตอบแบบเดียวกัน จึงเริ่มมีคำถามว่าทำไมต้องจ้างข้าราชการถาวร ทำไมไม่จ้างตามสัญญา หากจ้างตามสัญญาจะเกิดปัญหา อะไรบ้าง ส่วนแรงต่อต้านจากระบบราชก็มีน้อย เพราะประชาชนไม่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงจึงเกิดขึ้น และเป็นเหตุให้การทางานแบบระบบราชการบางอย่างหายไป
ส.ท.กฤตย แซ่ลี้ 64423471188
Assignment 1. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มีอะไรเป็นแกนหรือส่วนประกอบจนเป็นโครงสร้างตามทัศนะของ Grueing (2001) และ รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่มุ่งเน้น อะไรบ้าง
องค์ประกอบหลักของการบริหารราชการสมัยใหม่ในฐานะโครงสร้างคือแนวคิดของ "การปกครอง" นี่หมายถึงวิธีการจัดการสถาบันของรัฐและวิธีการตัดสินใจในสังคมประชาธิปไตย รัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่มุ่งเน้นไปที่การส่งเสริมประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความรับผิดชอบในบริการสาธารณะและโครงการต่างๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆ เช่น การพัฒนานโยบาย การจัดทำงบประมาณ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ และการวัดผลการปฏิบัติงาน เป้าหมายสูงสุดของการบริหารราชการสมัยใหม่คือการให้บริการคุณภาพสูงที่ตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของประชาชน
Assignment 2. รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ และการบริการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะอะไรที่เป็นเช่นเดียวกัน
New Public Administration (NPA) and New Public Management (NPM) เป็นสองแนวทางการบริหารราชการที่มีความคล้ายคลึงกันในแง่ของลักษณะของบริการภาครัฐใหม่ ทั้ง NPA และ NPM มุ่งเน้นการให้บริการภาครัฐคุณภาพสูงที่ตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งคู่ตระหนักถึงความสำคัญของความรับผิดชอบ ความโปร่งใส และการปรับปรุงการดำเนินงานของรัฐบาลอย่างต่อเนื่อง
อย่างไรก็ตาม แนวทาง NPA เน้นการทำงานร่วมกัน การมีส่วนร่วมของชุมชน และความเท่าเทียมทางสังคม ในขณะที่แนวทาง NPM เน้นประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และการจัดการตามผลลัพธ์ สิ่งนี้สามารถส่งผลให้มีการเน้นที่แตกต่างกันในพื้นที่ต่างๆ ในการบริการของรัฐ ตัวอย่างเช่น NPM อาจเน้นที่การปรับปรุงกระบวนการและการวัดผลลัพธ์ ในขณะที่ NPA อาจเน้นที่การมีส่วนร่วมกับชุมชนและการให้บริการทางสังคมแก่กลุ่มคนชายขอบแบบดั้งเดิ
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
อนาคตของการบริหารรัฐกิจจะเห็นการขยายขอบเขตที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีและการตัดสินใจที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูล ซึ่งหมายความว่าผู้บริหารภาครัฐจะต้องได้รับการฝึกอบรมให้ใช้เทคโนโลยีใหม่และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาสังคม
อิทธิพลของแนวคิดการบริหารราชการแบบใหม่ เช่น การกำกับดูแลแบบมีส่วนร่วม การกำกับดูแลแบบร่วมมือ และการกำกับดูแลเครือข่าย ก็จะมี กระทบต่อพฤติกรรมของผู้บริหารภาครัฐ แนวคิดเหล่านี้ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของพลเมืองและการทำงานร่วมกันระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ ในกระบวนการตัดสินใจ ซึ่งหมายความว่าผู้ดูแลระบบภาครัฐจะต้องตอบสนองต่อความต้องการของพลเมืองมากขึ้นและมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกันมากขึ้น
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ใหม่" มุ่งสู่การศึกษาการบริหารงานที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนาแนวคิดมีทิศทางของการสร้างการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนต่อการบริหารงานภาครัฐมากขึ้นสามารถอธิบายปรากฏการณ์ของการบริหารงานภาครัฐครอบคุลมในทุกมิติสามารถศึกษาและค้นหาหลักการทางการบริหารงานภาครัฐได้อย่างมีอัตลักษณ์มากขึ้น

Popular posts from this blog

หลักรัฐประศาสนศาสตร์ Module 1; ภาค/ ปีการศึกษา 3/2565

หลักรัฐประศาสนศาสตร์ Module 2 ; ภาค/ปีการศึกษา 3/2565