POS 2211 การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ กลุ่ม 394 2/2565 Module 2


        การบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

              1. นักศึกษาควรเข้าศึกษาในชั้นเรียนด้วยควบคู่ไปกับการศึกษาออนไลน์ 

              2. นักศึกษาควรศึกษาเอกสาร อิเลคทรอนิคส์ที่ให้ไว้เพื่อประกอบการศึกษา 

                3. นักศึกษาต้องทำAssignment ที่ให้ไว้จนครบ การทำ Assignment นักศึกษา 
ต้องทำใน Blog ของหน้าเพจใน Module 1 นี้  ซึ่งใต้หน้าเพจนี้จะเขียนไว้ว่า   Post a Comment นักศึกษาคลิกที่นี่ จะปรากฏ กล่อง สำหรับทำ Assignment ที่ได้รับมอบหมาย  

                4.  นักศึกาษาจะต้องส่ง Assignment ใน Blog ใต้เพจของ Module วิชาการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ นี้เท่านั้นไม่รับส่งทาง Email และ ทางไลน์ ทั้งนี้ เพื่อสะดวกในการตรวจสอบและประเมินผล โดยนักศึกษาที่ทำ Assignment ต้องใส่ โปรไฟล์  ชื่อ รหัส นักศึกษาจะใส่รูปถ่าย-รูปภาพหรือไม่ก็ได้  

        5. นักศึกษาศึกษาเอกสารและวิดีโอ 

              5.1 วิดีโอประกอบการศึกษา

              5.2 เอกสารประกอบการศึกษา

                    ศึกษาวิดีโอและเอกสารได้ที่นี่ 

                 https://supwat.wixsite.com/-education/การบร-หารการพ-ฒนาทร-พยากรมน-ษย-module2

         

     6.  นักศึกษาทำ  แบบฝึกหัด (Assignment) ตอบคำถามในกล่องความคิดเห็น(คลิก Post a Comment แล้วจะเห็นกล่องข้อมความสำหรับตอบคำถาม)

          1. ให้ความหมายของการฝึกอบรม  อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม

          2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน

         3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง

  

Comments

ส.อ.จรินทร์ ทีเกาะ รหัสนักศึกษา 65423471155
1. ให้ความหมายของการฝึกอบรม อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
ตอบ การฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร เป็นกิจกรรมการเรียนรู้เฉพาะของบุคคล เพื่อที่จะปรับปรุงและเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และทัศนคติอันเหมาะสมสามารถก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมและทัศนคติต่อการปฏิบัติงานในหน้าที่ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ประโยชน์ของการฝึกอบรม
1. การฝึกอบรมช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
2. การฝึกอบรมช่วยส่งเสริมให้เกิดการประหยัด
3. การฝึกอบรมช่วยลดระยะเวลาในการเรียนรู้งาน
4. การฝึกอบรมช่วยลดภาระหน้าที่ของหัวหน้างาน
5. การฝึกอบรมช่วยกระตุ้นพนักงานให้ปฏิบัติงานเพื่อความก้าวหน้าของคน
2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
ตอบ สำหรับการอภิปรายผล ได้จำแนกเป็น 2 ประเด็นตามวัตถุประสงค์การวิจัยและผลการวิจัยที่ค้นพบ คือ
ผลสัมฤทธิ์ของการฝึกอบรม และ ปัจจัยที่มีผลต่อการนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ รายละเอียดดังนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ของการฝึกอบรม ตามแนวคิดของเคิร์กแพทริก กล่าวไว้ว่า การประเมินผลสัมฤทธิ์ของการฝึกอบรม ระดับพฤติกรรม เป็นการประเมินที่ต้องการรู้ผลที่เกิดขึ้นหลังจากการฝึกอบรม ว่ามีผู้เข้าร่วมอบรมพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่เปลี่ยนแปลงไปหรือไม่อย่างไรภายหลังจากการอบรมเป็นการประเมินว่าผู้เข้าร่วมอบรมได้นำเอาความรู้ทักษะความสามารถที่เรียนรู้จากการร่วมโครงการฝึกอบรมกลับไปใช้ในการปฏิบัติงานจริงหรือไม่ กล่าวคือ เมื่อผู้เข้าร่วมอบรมผ่านการเรียนรู้มีความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหาที่ได้เรียนรู้ ก็น่าจะน าไปใช้ในการปฏิบัติงานจริงจ นเกิดผลดีต่อหน่วยงานผลสัมฤทธิ์ของการฝึกอบรม (ศริภัสสรศ์ วงศ์ทอง ,2556; สุธินี ฤกษ์ข า,2557) ซึ่งจากผลการวิจัยพบว่าผู้ให้ข้อมูลทั้ง 3 กลุ่ม ได้แก่ ผู้เข้าร่วมอบรม โครงการพัฒนาผู้น ายุคดิจิตอล เพื่อนร่วมงานของผู้เข้าร่วมอบรม และหัวหน้างาน ของผู้เข้าร่วมอบรม ได้มีความคิดเห็นสอดคล้องกันว่าหลังเข้าร่วมอบรม ผู้เข้าร่วมอบรมมีพฤติกรรมการท างานที่เปลี่ยนแปลงไปหลังการอบรมเป็นการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดีขึ้น ผู้เข้าร่วมอบรมโครงการ ได้มีการน าความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการทำงาน ได้แก่ มีการวางแผน ลำดับความสำคัญของงานที่ได้รับมอบหมาย ปรับเปลี่ยนวิธีการดำเนินงานเพื่อให้เกิดความรวดเร็ว โดยใช้เทคโนโลยีมาช่วยเหลือในการติดต่อสื่อสารและนำเสนองานมีความคิดสร้างสรรค์ มีความมั่นใจตัวเอง กล้าแสดงออก กล้าพูดการเสนอความคิดเห็น รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นมากขึ้น และสามารถจัดสรรงานให้เหมาะกับความสามารถของลูกทีม ดังนั้น การฝึกอบรมโครงการผู้น ายุคดิจิตอลนี้ ถือว่าเกิดผลสัมฤทธิ์ เนื่องจาก ผู้เข้าร่วมอบรมผ่านการเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจ และนำไปใช้ในการปฏิบัติงานจริงจนเกิดผลดีต่อหน่วยงาน
2. ปัจจัยที่มีผลต่อการนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ ผลการวิจัยพบว่าผู้ให้ข้อมูลทั้ง 3 กลุ่ม ได้แก่ ผู้เข้าร่วมอบรมโครงการพัฒนาผู้นายุคดิจิตอล เพื่อนร่วมงานของผู้เข้าร่วมอบรม และหัวหน้างาน ของผู้เข้าร่วมอบรม ได้มีความคิดเห็นตรงกันว่ามีปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ของการ ฝึกอบรมอยู่ 4 ปัจจัยใหญ่ ๆ ได้แก่ 1) ปัจจัยด้านนโยบายองค์กรโครงสร้างองค์กรและวัฒนธรรมองค์กร 2) ปัจจัยด้านผู้บริหารระดับสูง และหัวหน้างาน

3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
ตอบ 1. การจดบันทึกข้อมูล เช่น วัน เวลา สถานที่ ปัญหา
2. การสังเกตพฤติกรรม สังเกตพฤติกรรมรวม ๆ และการสังเกตพฤติกรรมย่อย
3. การวีดีทัศน์และการบันทึกเทป ได้ข้อมูลตามสภาพที่เป็นจริง
4. การสัมภาษณ์ เป็นการหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการฝึกอบรม
5. การวัดผล มีหลายวิธีเช่น การทดสอบ การสำรวจตนเอง
6. การวิเคราะห์เอกสาร ผู้ประเมินต้องตอบคำถามให้ได้ว่าจะวิเคราะห์ในประเด็นอะไรของเอกสาร
7. การประเมินสภาพแวดล้อมและบรรยากาศ เช่น ความสะอาด
Unknown said…
ส.ท.ศุภชัย วินดี
รหัสนักศึกษา 65423471172

1. ให้ความหมายของการฝึกอบรม อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
คำนิยามความหมายของการฝึกอบรมไว้อย่างมากมาย ขึ้นอยู่กับว่ามองการฝึกอบรมจากแนวคิด (Approach) ใด เช่น

เมื่อมองการฝึกอบรม ในฐานะที่เป็นแนวทางในการพัฒนาข้าราชการตามนโยบายของรัฐ "การฝึกอบรม หมายถึง กระบวนการต่าง ๆ ที่ใช้เพื่อช่วยให้ข้าราชการมีความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ และเพื่อให้เกิด ความร่วมมือกันระหว่างข้าราชการในการปฏิบัติงานร่วมกันในองค์การ" หรือ
การฝึกอบรม คือ " การถ่ายทอดความรู้เพื่อเพิ่มพูนทักษะ ความชำนาญ ความสามารถ และทัศนคติในทางที่ถูกที่ควร เพื่อช่วยให้การปฏิบัติงานและภาระหน้าที่ต่าง ๆ ในปัจจุบันและอนาคตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และ..ไม่ว่าการฝึกอบรม จะมีขึ้นที่ใดก็ตามวัตถุประสงค์ก็คือ เป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงาน หรือเพิ่มขีดความสามารถในการจัดรูปขององค์การ.."
ในระยะหลัง เรามักจะมองการฝึกอบรมในเชิงของกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันสืบเนื่องมาจากเรียนรู้ การฝึก อบรมจึงหมายถึง " กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างมีระบบ เพื่อให้บุคคลมีความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถที่จำเป็น และมีทัศนคติที่ดีสำหรับการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่งของหน่วยงานหรือองค์การนั้น " และ
การฝึกอบรม คือ " กระบวนการในอันที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ และความชำนาญ ในเรื่องหนึ่งเรื่องใด และเปลี่ยนพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
จะเห็นได้ว่า ความหมายของการฝึกอบรมมีมากมาย ขึ้นอยู่กับว่าจะพิจารณาจากแนวคิด (Approach)ใดที่เกี่ยวกับ การฝึกอบรม ทั้งนี้ มีแนวคิดและทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวกับการฝึกอบรม

2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
การวิเคราะห์งาน หมายถึง กระบวนการที่มีการจัดการอย่างเป็นระบบ ซึ่งถูกนำมาใช้ในการศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงาน เพื่อที่จะได้สารสนเทศของงานนั้น เพียงพอที่จะนำไปใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมอื่นๆ ในอนาคต
สรุปประโยชน์โดยรวมการจากวิเคราะห์งาน
1.ช่วยในการวางแผนอัตรากำลัง (Manpower Planning)
2.ช่วยในการสรรหาและคัดเลือกบุคลกร (Recruitment & Selection)
3.ช่วยในการฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร (Training & Development)
4.ช่วยในการวัดผลและประเมินผลการปฎิบัติงาน (Performance Evaluation)

5.ช่วยในการกำหนดค่าตอบแทนที่เหมาะสม (Compensation)
6.ช่วยในการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน (Safety Reinforcement)
7.ช่วยในการออกแบบงาน (Job Design)
8.เป็นเครื่องมือในการบริหาร (Management)
9.เป็นมาตรฐานในการทำงานในแต่ละตำแหน่ง (Job Standard)
10.สามารถจัดบุคลากรให้เหมาะสมกับความสามารถ (Put the right man on the right job)
11.นำไปใช้ในการจัดทำความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path)

3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
ขั้นตอนในการวิเคราะห์ความจำเป็นในการฝึกอบรม
1. ระบุผลลัพธ์ของการอบรม

1) ปรับปรุงอัตราความพึงพอใจของลูกค้า

2) ลดเวลาในส่งมอบการบริการ

3) ปรับปรุงขวัญและกำลังใจของพนักงานผ่านการดูแลของผู้บริหาร

4) ปรับปรุงความรวดเร็วในการกรอกข้อมูลการสั่งซื้อ

2. เชื่อมผลลัพธ์ที่ต้องการกับพฤติกรรมของพนักงาน

1) กำหนดสมรรถนะขีดความสามารถ (ความรู้ ทักษะ คุณภาพ และ ความรู้ที่เข้ากับผลลัพธ์ที่ต้องการ)

2) เก็บข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะห์สมรรถนะที่มีปัญหาอันจะทำให้ไม่บรรลุเป้าหมายทางธุรกิจที่กำหนด

a) ทักษะด้านไหนที่ต้องการเพื่อให้เป้าหมายสำเร็จ?

b) ข้อมูลที่จำเป็นเพื่อให้การทำงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์?

c) พฤติกรรมที่จะเป็นผลลบต่อความสำเร็จในงานที่ทำคืออะไร?

3) บ่งชี้ความสามารถที่ต้องฝึกอบรม อันจำทำให้งานนั้น ๆ สำเร็จได้

4) ประเมินสมรรถนะความสามารถในปัจจุบัน เปรียบเทียบกับ ความสามารถที่ต้องการ การประเมินทำได้โดยการประเมินผลการปฏิบัติงาน แบบทดสอบ แบบสำรวจ ประเมินตนเอง สอบถาม ข้อมูลสะท้อนกลับจากลูกค้า เป็นต้น
3. เรียงลำดับความสำคัญของความจำเป็นในการฝึกอบรม

1) กำหนดเปอร์เซ็นต์ผู้ที่จำเป็นต้องอบรมในเรื่องขีดความสามารถ

2) พิจารณาความสำคัญของขีดความสามารถที่จะช่วยให้ธุรกิจเป็นไปตามเป้าหมาย

3) รวมความจำเป็นเข้ากับความสำคัญแล้วจึงเรียงลำดับความสำคัญก่อนหลัง
ส.ท.ชินดนัย แปรชน 1164
ข้อที่1 ตอบ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management: HRM ) เดิมเรียกกันว่าการบริหารงานบุคคล (Personnel Management) แต่เมื่อโลกธุรกิจปัจจุบันมีความเจริญเติบโตขยายตัวมากขึ้น กรอบแนวคิดด้านงานบุคคลจึงจำเป็นต้องขยายและพัฒนาให้สอดคล้องกับความเปฃี่ยนแปลงดังกล่าว ซึ่งนักวิชาการส่วนใหญ่ไม่ได้มองว่าบุคลากรในองค์การเป็นเพียงผู้รับคำสั่งตามที่มองหมายเท่านั้น ในบทบาทใหม่บุคลากรมีฐานะเป็นทรัพยากรขององค์การ หรือในปัจจุบันเรียกว่า “ทุนมนุษย์” ที่มีส่วนร่วมส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาระงานต่างๆ ขององค์การดำเนินปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สร้างความสำเร็จ ความเจริญเติบโตก้าวหน้าให้แก่องค์การ ด้วยเหตุนี้เองจึงทำให้การบริหารทรัพยากรมนุษย์เป็นที่ยอมรับและมีความสำคัญยิ่งต่อองค์การ ในส่วนของความหมายตามที่นักวิชาการให้ไว้ การวางแผนเพื่อสรรหาบุคลากรเข้ามาปฎิบัติ การดูแลบำรุงรักษา จนกระทั่งบุคลากรพ้นไปจากการปฎิบัติงาน ซึ่งงานในแต่ละหน้าที่นั้น

ข้อที่2 ตอบ ความหมายของการสรรหาและการคดัเลือก
การสรรหา
หมายถึงกระบวนการในการแสวงหาและจูงใจ ผู้สมัครงานที่มีความสามารถเข้ามาทางานในองค์การ กระบวนการนีจ้ะเริ่มต้นต้งัแต่การแสวงหาคนเข้าทางาน และสิ้นสุด เมื่อบุคคลได้มาสมัครงานในองค์การ
การสรรหาจึงป็นศูนย์รวมของผู้สมัครงานเพื่อ ดาเนินการคดัเลือกเป็นพนักงานใหม่ต่อไป
ความหมายของการสรรหาและการคดัเลือก
การคดัเลือก
หมายถึง กระบวนการที่องค์การใช้เครื่องมือต่างๆ มาดาเนินการพจิารณาคดัเลือกผ้สูมัครจานวนมากให้เหลือตาม จานวนที่องค์การต้องการ ฉะน้ัน การคดั เลือกจาเป็นที่จะต้อง มีเกณฑ์กาหนดขึ้นเพื่อเป็นกรอบในการพิจารณาให้ได้คนที่มี คุณสมบัตติ รงกบั งานที่เปิดรับ

ข้อที่3 ตอบ กระบวนการวางแผนทรัพยากรมนุษย์  มี  6  ขั้นตอน  คือ
            1.  ศึกษาเป้าหมายและแผนขององค์การ  เป็นขั้นตอนการเตรียมการก่อนการวางแผน  จะต้องศึกษาถึงเป้าหมายและแผนขององค์การซึ่งเป็นปัจจัยภายในที่มีผลกระทบต่อการวางแผนกำลังคน  จำเป็นต้องทราบว่าองค์กรมีเป้าหมายอย่างไร  แนวโน้มจะขยายกิจการหรือแผนการผลิตอย่างไร
            2.  วิเคราะห์สถานการณ์  ทั้งภายในและภายนอกองค์การ  ซึ่งเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินกิจกรรมและการวางแผนกำลังคนโดการเก็บรวบรวมข้อมูลและนำมาวิเคราะห์แนวโน้มของสถานการณ์ในอนาคต  เพื่อนำไปใช้ในการวางแผน  ดังนั้นผู้วิเคราะห์สถานการณ์จะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้และความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์ต่าง ๆ ได้ดีเพื่อให้ได้ข้อมูลอ้างอิงที่มีความน่าเชื่อถือไปใช้วิเคราะห์เพื่อการวางแผน
            3.  การคาดการณ์ความต้องการ  เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลเรียบร้อยแล้ว  นำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการคาดการณ์ความต้องการบุคลากรซึ่งฝ่ายจัดการจะต้องคาดการณ์ถึงจำนวนบุคลากรที่องค์การต้องการทั้งหมดและนำมาเปรียบเทียบกับจำนวนที่มีอยู่ในองค์การ  จะทราบว่าบุคลากรในปัจจุบันมีมากหรือน้อยเกินความความต้องการหรือไม่
            4.  การกำหนดแผนปฏิบัติการ  เป็นการกำหนดวิธีการจัดการโดยวิธีการจัดการกำลังคนประกอบด้วยการรับบุคคลเพิ่ม การโยกย้ายภายใน  การจ้างออกและการปรับโครงสร้างภายใน  จากนั้นจึงกำหนดแผนการปฏิบัติงานตามวิธีการจัดการที่เลือกไว้
            5.  การตรวจสอบและการปรับปรุง  ต้องทำการตรวจสอบแผนการปฏิบัติก่อนนำไปใช้  เพื่อพิจารณาถึงข้อบกพร่องและปรับปรุงให้เหมาะสมและพิจารณาให้รอบคอบอีกครั้งว่าวิธีการจัดการที่เลือกมีความเหมาะสม  จะช่วยให้องค์การมีกำลังคนเพียงพอกับความต้องการ 
            6.  ดำเนินการตามแผน  เมื่อได้แผนการปฏิบัติงานที่มีความสมบูรณ์แล้ว  นำแผนงานนั้นไปดำเนินการปฏิบัติตามแผนกที่วางไว้
นาย ศักรินทร์ ฆารสว่าง รหัส 65423471184
1.ความหมายของการฝึกอบรม  อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
การฝึกอบรม คือ กระบวนการในการเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และทัศนคติให้กับผู้เข้ารับการฝึกอบรม อันจะนำไปสู่การยกมาตรฐานการทำงานให้สูงขึ้น เพื่อเตรียมตัวให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถพัฒนาตัวเองให้เกิดความก้าวหน้าในงานที่ตนรับผิดชอบในอนาคต
บทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
การฝึกอบรมนอกจากเป็นสิ่งที่จำเป็นในการแก้ปัญหาภายในองค์การแล้ว ยังก่อให้เกิดประโยชน์แก่ส่วนต่างๆขององค์การอย่างเห็นได้ชัดดังนี้
1.เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต
2.ทำให้ผลผลิตมีคุณภาพสูงขึ้น
3.ทำให้พนักงานมีความรู้ความชำนาญมากขึ้น
4.ลดเวลาในการเรียนรู้งาน
5.ทำให้ระบบข่าวสารในองค์การดีขึ้น
2.อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
ความหมายของการวิเคราะห์งาน
เพื่อให้เกิดความเข้าใจถึงความหมายของการวิเคราะห์งาน ควรพิจารณามองภาพความสัมพันธ์ของ
ขั้นตอนและกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นในกระบวนการท างานของบุคลาภายในแต่ละองค์การ ดังต่อไปนี้
การทำงาน ตำแหน่ง งาน อาชีพ
ประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
การวิเคราะห์งานเป็นกระบวนการที่มีการจัดการอย่างเป็นระบบที่ถูกนำมาใช้ในการศึกษา
รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงาน เพื่อที่จะได้สารสนเทศของงานนั้นเพียงพอต่อการที่จะนำไปใช้ประโยชน์ในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ โดยสารสนเทศที่ได้จากการวิเคราะห์งานสามารถนำมาจัดหมวดหมู่
เพื่อประยุกต์ใช้งานในการจัดการทรัพยากรขององค์การได้ ตั้งแต่เอกสารบรรยายลักษณะงาน เอกสารระบุข้อกำหนดของงาน มาตรฐานการท ำงาน และเกณฑ์ในการประเมินค่างาน
3.การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมเป็นเรื่องสำคัญ เพราะเป็นเครื่องตัดสินว่าควรจะจัดฝึกอบรมหรือไม่ หากการวิเคราะห์ผิดพลาดอาจทำให้การฝึกอบรมนั่นสูญเปล่าหรือแก้ปัญหาไม่ได้ การวิเคราะห์จะแบ่งไว้3ด้านใหญ่ๆดังนี้
1.วิเคราะห์องค์การ
2.วิเคราะห์ภารกิจขององค์การ
3.วิเคราะห์พนักงานขององค์การ
Unknown said…
ส.อ.ธนา รัตนวิลัย
รหัสนักศึกษา 65423471187

1. ให้ความหมายของการฝึกอบรม  อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
ตอบ การฝึกอบรม หมายถึง “กระบวนการต่างๆ ที่ใช้เพื่อช่วยให้ข้าราชการมีความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ และเพื่อให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างข้าราชการในการปฏิบัติงานร่วมกันในองค์การ” เมื่อมองการฝึกอบรมในฐานะที่เป็นแนวทางในการพัฒนาข้าราชการตามนโยบายของรัฐหากเป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงานหรือเพิ่มขีดความสามารถในการจัดรูปขององค์การ

ประโยชน์ของการฝึกอบรม
                1. บุคลากรหรือกลุ่มบุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเนื่องจากได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการทำงานให้ประสบผลสำเร็จ หรือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
                2. การได้ปรึกษาหารือกันในส่วนของผู้เกี่ยวข้องในองค์การ เช่น ผู้เข้ารับการฝึกอบรม หัวหน้างาน ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหารระดับสูงขององค์การ หรือผู้ที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ร่วมกันหาแนวทางในการแก้ปัญหาและการปรับปรุงการทำงาน
                3. ผู้เข้าร่วมการฝึกอบรมได้ยกระดับความรู้และทักษะให้เกิดการปรับทัศนคติ
                4. ช่วยลดระยะเวลาในการเรียนรู้งาน
                5. ช่วยลดภาระหน้าที่ของหัวหน้างาน
                6. ช่วยกระตุ้นบุคลากรให้ปฏิบัติงานเพื่อความก้าวหน้าของตน

2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
ตอบ การวิเคราะห์งาน เป็นกระบวนการที่มีการจัดการอย่างเป็นระบบซึ่งถูกนามาใช้ในการศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงาน เพื่อที่จะได้สารสนเทศของงานนั้น เพียงพอต่อการที่จะนาไปใช้ ประโยชน์ในการทากิจกรรมอื่นในอนาคต การวิเคราะห์งานเป็นกิจกรรมที่มีความเกี่ยวข้องกับกิจกรรมอื่นทั้ง ด้านทรัพยากรบุคคลและหน้าที่อื่นของหน่วยงาน จะเห็นว่าการวิเคราะห์งานเป็นเสมือนแหล่งต้นทางของข้อมูล ที่จะนาไปใช้ในหัวข้ออื่น เช่น การสรรหาและการคัดเลือก การจ่ายค่าตอบแทน และการฝึกอบรม เป็นต้น ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่และความรับผิดชอบของนักวิเคราะห์งานที่จะต้องทาการวิเคราะห์งานด้วยความรอบคอบ และถูกหลักการ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่งานอื่นอย่างเต็มที่
ข้อมูลจากการวิเคราะห์งานใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ อีกหลายลักษณะ เช่น
1. ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารงานและการวางแผนหน่วยงาน
2. ใช้เป็นข้อมูลประกอบในการออกแบบเครื่องมือเครื่องใช้ในการทางานที่เหมาะสมกับ
ลักษณะงานและสรีระของผู้ใช้ หรือการออกแบบงานตามหลัก “กายศาสตร์ (Ergonomics)”
3. ใช้เป็นข้อมูลประกอบในการแนะแนวอาชีพ (Vocational Counseling) ให้เหมาะสม
แก่ลักษณะงานทางร่างกาย จิตใจ และสภาพความพร้อมของแต่ละบุคลากร
4. ใช้ระกอบการให้คาปรึกษาและแนะแนวอาชีพแก่นักศึกษาและบุคคลทั่วไป

3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
ตอบ การหาความจาเป็นในการฝึกอบรมอีกวิธีหนึ่งเป็นการกาหนดคุณภาพของบุคลากรที่ต้องการ (Competencies-base)เช่นผู้บริหารควรมีความสามารถในการตัดสินใจการวิเคราะห์โครงการการประสานงาน และการพัฒนาทีมงานหากเห็นว่าผู้บริหารยังขาดปัจจัยข้อใดก็จัดโครงการฝึกอบรมในเรื่องนั้นขึ้น
ข้อมูลที่ใช้ในการหาความจาเป็นในการฝึกอบรมนั้นมาจากการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องการสำรวจ การใช้ แบบสอบถาม การสังเกต การทดสอบบุคลากร หรือศึกษาจากเอกสาร หลักฐาน รายงานต่างๆ ในองค์การ รวมทั้งผลการวิเคราะห์การประเมินผลงานประจำปีเพื่อนนำมาใช้เป็นแนวทางในการจัดการฝึกอบรมได้
เมื่อได้ความจำเป็นในการฝึกอบรมแล้วผู้บริหารการฝึกอบรมควรวิเคราะห์ใน3แนวทางคือ
1.วิคราะห์ความแตกต่างระหว่างมาตรฐานของบุคลากรที่ต้องการกับสภาพที่เป็นจริงซึ่งก็คือการ
หาสภาพและขอบเขตของปัญหานนั่นเอง
2. วิคราะห์สาเหตุต่างๆ ของความแตกต่างนั้น
3 . วิเคราะห์วิธีการแก้ไขโดยพิจารณาทางเลือกต่างๆเพื่อแก้ป้ญหาและถ้าเห็นว่าจำเป็นต้องแก้ไขปัญหาโดยการฝึกอบรม จึงจะกำหนดเป็นโครงการฝึกอบรมนั้น
Unknown said…
ส.ท.ปิติภัทร อิ่มเอี่ยม รหัสนักศึกษา 1170
1. ความหมายของการฝึกอบรม อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
ตอบ การฝึกอบรม คือ กระบวนการที่ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดการเรียนรู้ในรูปแบบหนึ่งเพื่อเพิ่มพูนหรือพัฒนาสมรรถภาพในด้านต่างๆตลอดจนการปรับปรุงพฤติกรรม อันนำมาซึ่งการแสดงออกที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ข้อปฏิบัติของผู้รับผิดชอบจัดการฝึกอบรม
1. ต้องยอมรับความมีคุณค่าของผู้เข้าอบรมแต่ละคน และจะต้องเคารพในความรู้สึกนึกคิดและความเห็น ตลอดจนประสบการณ์ของผู้เข้าร่วมด้วย
2. พยายามทำให้ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักด้วยตนเองว่ามีความจำเป็นที่จะต้องปรับพฤติกรรม (ทั้งด้านความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ และทัศนคติ) โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้วยการเรียนรู้หรือการแก้ปัญหา
3. ควรจัดสิ่งแวดล้อมทางกายภาพให้สะดวกสบาย (เช่น ที่นั่ง อุณหภูมิ แสงสว่าง การถ่ายเทอากาศ ฯลฯ) ให้เอื้อต่อการปฏิสัมพันธ์ในกลุ่มผู้เข้าร่วมอบรม
4. สร้างความสัมพันธ์อันดี ให้เกิดความรู้สึกไว้เนื้อเชื่อใจ และความช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน สนับสนุนให้มีกิจกรรมที่ต้องมีการให้ความร่วมมือร่วมใจกันและกัน ในขณะเดียวกันควรพยายามหลีกเลี่ยงการแข่งขัน
5. ควรเปิดโอกาสให้ผู้ร่วมอบรมมีส่วนร่วมในเรื่อง ดังต่อไปนี้
6. ช่วยผู้ร่วมอบรมให้รู้จักพัฒนาขั้นตอนและวิธีการในการประเมินตนอง หรือวิเคราะห์และประเมินผลโครงการฝึกอบรมตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้แล้ว
ประโยชน์ของการฝึกอบรม
1. บุคลากรหรือกลุ่มบุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเนื่องจากได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการทำงานให้ประสบผลสำเร็จ หรือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
2. การได้ปรึกษาหารือกันในส่วนของผู้เกี่ยวข้องในองค์การ เช่น ผู้เข้ารับการฝึกอบรม หัวหน้างาน ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหารระดับสูงขององค์การ หรือผู้ที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ร่วมกันหาแนวทางในการแก้ปัญหาและการปรับปรุงการทำงาน
3. ผู้เข้าร่วมการฝึกอบรมได้ยกระดับความรู้และทักษะให้เกิดการปรับทัศนคติ
4. ช่วยลดระยะเวลาในการเรียนรู้งาน
5. ช่วยลดภาระหน้าที่ของหัวหน้างาน
6. ช่วยกระตุ้นบุคลากรให้ปฏิบัติงานเพื่อความก้าวหน้าของตน
2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
ตอบ การวิเคราะห์งาน หมายถึง กระบวนการ การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานทั้งหมด และนำข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ จัดทำเป็นเอกสารสำหรับตำแหน่งงานแต่ละตำแหน่ง ซึ่งเอกสารของตำแหน่งงานนั้นประกอบไปด้วย สองส่วนใหญ่ๆ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง ผลการปฏิบัติงานในระดับใดระดับหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็นเกณฑ์ที่น่าพอใจหรืออยู่ในระดับที่ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่ทําได้ โดยจะมีกรอบในการพิจารณากําหนดมาตรฐานหลาย ๆ ด้าน อาทิ เช่น ด้านปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลาค่าใช้จ่าย หรือพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงานที่เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะงานประเภทนั้น ๆ ด้วย
Job Description คือ การแสดงถึงรายละเอียดที่เกี่ยวกับลักษณะงาน และวิธีการในการปฏิบัติงานในตำแหน่งนั้นๆ ประกอบไปด้วยรายละเอียดดังนี้
1. ลักษณะของงาน (Job Identification)
2. สรุปหน้าที่ของงานคร่าวๆ (Job Summary)
3. หน้าที่ที่ต้องทำ (Duties)
4. ความสัมพันธ์กับงานหรือตำแหน่งอื่นๆ (Relation to other job)
5. เครื่องมือ/อุปกรณ์/เครื่องจักร/วัสดุที่ต้องใช้ในการทำงาน (Equipment & Materials)
6. เงื่อนไขในการทำงาน (Condition)
ประโยชน์โดยรวมการจากวิเคราะห์งาน
1. ช่วยในการวางแผนอัตรากำลัง (Manpower Planning)
2. ช่วยในการสรรหาและคัดเลือกบุคลกร (Recruitment & Selection)
3. ช่วยในการฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร (Training & Development)
4. ช่วยในการวัดผลและประเมินผลการปฎิบัติงาน (Performance Evaluation)
5. ช่วยในการกำหนดค่าตอบแทนที่เหมาะสม (Compensation)
6. ช่วยในการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน (Safety Reinforcement)
7. ช่วยในการออกแบบงาน (Job Design)
8. เป็นเครื่องมือในการบริหาร (Management)
9. เป็นมาตรฐานในการทำงานในแต่ละตำแหน่ง (Job Standard)
10. สามารถจัดบุคลากรให้เหมาะสมกับความสามารถ (Put the right man on the right job)
11. นำไปใช้ในการจัดทำความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path)
3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
ตอบ 1. ระบุผลลัพธ์ของการอบรม
2. เชื่อมผลลัพธ์ที่ต้องการกับพฤติกรรมของพนักงาน
3. เรียงลำดับความสำคัญของความจำเป็นในการฝึกอบรม
Unknown said…
ส.ท.ปิติภัทร อิ่มเอี่ยม รหัสนักศึกษา 1170
1. ความหมายของการฝึกอบรม อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
ตอบ การฝึกอบรม คือ กระบวนการที่ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดการเรียนรู้ในรูปแบบหนึ่งเพื่อเพิ่มพูนหรือพัฒนาสมรรถภาพในด้านต่างๆตลอดจนการปรับปรุงพฤติกรรม อันนำมาซึ่งการแสดงออกที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ข้อปฏิบัติของผู้รับผิดชอบจัดการฝึกอบรม
1. ต้องยอมรับความมีคุณค่าของผู้เข้าอบรมแต่ละคน และจะต้องเคารพในความรู้สึกนึกคิดและความเห็น ตลอดจนประสบการณ์ของผู้เข้าร่วมด้วย
2. พยายามทำให้ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักด้วยตนเองว่ามีความจำเป็นที่จะต้องปรับพฤติกรรม (ทั้งด้านความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ และทัศนคติ) โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้วยการเรียนรู้หรือการแก้ปัญหา
3. ควรจัดสิ่งแวดล้อมทางกายภาพให้สะดวกสบาย (เช่น ที่นั่ง อุณหภูมิ แสงสว่าง การถ่ายเทอากาศ ฯลฯ) ให้เอื้อต่อการปฏิสัมพันธ์ในกลุ่มผู้เข้าร่วมอบรม
4. สร้างความสัมพันธ์อันดี ให้เกิดความรู้สึกไว้เนื้อเชื่อใจ และความช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน สนับสนุนให้มีกิจกรรมที่ต้องมีการให้ความร่วมมือร่วมใจกันและกัน ในขณะเดียวกันควรพยายามหลีกเลี่ยงการแข่งขัน
5. ควรเปิดโอกาสให้ผู้ร่วมอบรมมีส่วนร่วมในเรื่อง ดังต่อไปนี้
6. ช่วยผู้ร่วมอบรมให้รู้จักพัฒนาขั้นตอนและวิธีการในการประเมินตนอง หรือวิเคราะห์และประเมินผลโครงการฝึกอบรมตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้แล้ว
ประโยชน์ของการฝึกอบรม
1. บุคลากรหรือกลุ่มบุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเนื่องจากได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการทำงานให้ประสบผลสำเร็จ หรือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
2. การได้ปรึกษาหารือกันในส่วนของผู้เกี่ยวข้องในองค์การ เช่น ผู้เข้ารับการฝึกอบรม หัวหน้างาน ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหารระดับสูงขององค์การ หรือผู้ที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ร่วมกันหาแนวทางในการแก้ปัญหาและการปรับปรุงการทำงาน
3. ผู้เข้าร่วมการฝึกอบรมได้ยกระดับความรู้และทักษะให้เกิดการปรับทัศนคติ
4. ช่วยลดระยะเวลาในการเรียนรู้งาน
5. ช่วยลดภาระหน้าที่ของหัวหน้างาน
6. ช่วยกระตุ้นบุคลากรให้ปฏิบัติงานเพื่อความก้าวหน้าของตน
2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
ตอบ การวิเคราะห์งาน หมายถึง กระบวนการ การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานทั้งหมด และนำข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ จัดทำเป็นเอกสารสำหรับตำแหน่งงานแต่ละตำแหน่ง ซึ่งเอกสารของตำแหน่งงานนั้นประกอบไปด้วย สองส่วนใหญ่ๆ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง ผลการปฏิบัติงานในระดับใดระดับหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็นเกณฑ์ที่น่าพอใจหรืออยู่ในระดับที่ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่ทําได้ โดยจะมีกรอบในการพิจารณากําหนดมาตรฐานหลาย ๆ ด้าน อาทิ เช่น ด้านปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลาค่าใช้จ่าย หรือพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงานที่เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะงานประเภทนั้น ๆ ด้วย
Job Description คือ การแสดงถึงรายละเอียดที่เกี่ยวกับลักษณะงาน และวิธีการในการปฏิบัติงานในตำแหน่งนั้นๆ ประกอบไปด้วยรายละเอียดดังนี้
1. ลักษณะของงาน (Job Identification)
2. สรุปหน้าที่ของงานคร่าวๆ (Job Summary)
3. หน้าที่ที่ต้องทำ (Duties)
4. ความสัมพันธ์กับงานหรือตำแหน่งอื่นๆ (Relation to other job)
5. เครื่องมือ/อุปกรณ์/เครื่องจักร/วัสดุที่ต้องใช้ในการทำงาน (Equipment & Materials)
6. เงื่อนไขในการทำงาน (Condition)
ประโยชน์โดยรวมการจากวิเคราะห์งาน
1. ช่วยในการวางแผนอัตรากำลัง (Manpower Planning)
2. ช่วยในการสรรหาและคัดเลือกบุคลกร (Recruitment & Selection)
3. ช่วยในการฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร (Training & Development)
4. ช่วยในการวัดผลและประเมินผลการปฎิบัติงาน (Performance Evaluation)
5. ช่วยในการกำหนดค่าตอบแทนที่เหมาะสม (Compensation)
6. ช่วยในการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน (Safety Reinforcement)
7. ช่วยในการออกแบบงาน (Job Design)
8. เป็นเครื่องมือในการบริหาร (Management)
9. เป็นมาตรฐานในการทำงานในแต่ละตำแหน่ง (Job Standard)
10. สามารถจัดบุคลากรให้เหมาะสมกับความสามารถ (Put the right man on the right job)
11. นำไปใช้ในการจัดทำความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path)
3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
ตอบ 1. ระบุผลลัพธ์ของการอบรม
2. เชื่อมผลลัพธ์ที่ต้องการกับพฤติกรรมของพนักงาน
3. เรียงลำดับความสำคัญของความจำเป็นในการฝึกอบรม
ส.อ.เจษฎา สหัสรังษี รหัสนักศึกษา 1189

1. ความหมายของการฝึกอบรม  อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
ตอบ   การฝึกอบรม คือ กระบวนการที่ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดการเรียนรู้ในรูปแบบหนึ่งเพื่อเพิ่มพูนหรือพัฒนาสมรรถภาพในด้านต่างๆตลอดจนการปรับปรุงพฤติกรรม อันนำมาซึ่งการแสดงออกที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ข้อปฏิบัติของผู้รับผิดชอบจัดการฝึกอบรม
              1. ต้องยอมรับความมีคุณค่าของผู้เข้าอบรมแต่ละคน และจะต้องเคารพในความรู้สึกนึกคิดและความเห็น ตลอดจนประสบการณ์ของผู้เข้าร่วมด้วย
                               2. พยายามทำให้ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักด้วยตนเองว่ามีความจำเป็นที่จะต้องปรับพฤติกรรม (ทั้งด้านความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ และทัศนคติ) โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้วยการเรียนรู้หรือการแก้ปัญหา
                               3. ควรจัดสิ่งแวดล้อมทางกายภาพให้สะดวกสบาย (เช่น ที่นั่ง อุณหภูมิ แสงสว่าง การถ่ายเทอากาศ ฯลฯ) ให้เอื้อต่อการปฏิสัมพันธ์ในกลุ่มผู้เข้าร่วมอบรม
                               4. สร้างความสัมพันธ์อันดี ให้เกิดความรู้สึกไว้เนื้อเชื่อใจ และความช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน สนับสนุนให้มีกิจกรรมที่ต้องมีการให้ความร่วมมือร่วมใจกันและกัน ในขณะเดียวกันควรพยายามหลีกเลี่ยงการแข่งขัน
                               5. ควรเปิดโอกาสให้ผู้ร่วมอบรมมีส่วนร่วมในเรื่อง ดังต่อไปนี้
                               6. ช่วยผู้ร่วมอบรมให้รู้จักพัฒนาขั้นตอนและวิธีการในการประเมินตนอง หรือวิเคราะห์และประเมินผลโครงการฝึกอบรมตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้แล้ว

2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
ตอบ  การวิเคราะห์งาน หมายถึง กระบวนการ การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานทั้งหมด และนำข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ จัดทำเป็นเอกสารสำหรับตำแหน่งงานแต่ละตำแหน่ง ซึ่งเอกสารของตำแหน่งงานนั้นประกอบไปด้วย สองส่วนใหญ่ๆ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง ผลการปฏิบัติงานในระดับใดระดับหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็นเกณฑ์ที่น่าพอใจหรืออยู่ในระดับที่ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่ทําได้ โดยจะมีกรอบในการพิจารณากําหนดมาตรฐานหลาย ๆ ด้าน อาทิ เช่น ด้านปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลาค่าใช้จ่าย หรือพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงานที่เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะงานประเภทนั้น ๆ


3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
 ตอบ 1. ระบุผลลัพธ์ของการอบรม 
   2. เชื่อมผลลัพธ์ที่ต้องการกับพฤติกรรมของพนักงาน
   3. เรียงลำดับความสำคัญของความจำเป็นในการฝึกอบรม
ส.อ.เจษฎา สหัสรังษี รหัสนักศึกษา 1189

อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม
ตอบ กระบวนการฝึกอบรม หมายถึง “กระบวนการหรือ ขั้นตอนการปฏิบัติในอันที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ทักษะ หรือความชำนาญ ตลอดจน ประสบการณ์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไปตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้” กระบวนการ ฝึกอบรมได้ ดังนี้
              1. การหาความจำเป็นในการฝึกอบรม            
              2. การสร้างหลักสูตรฝึกอบรม
              3. การกำหนดโครงการฝึกอบรม
              4. การบริหารโครงการฝึกอบรม
               5. การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรม
              6. จะฝึกอบรมอย่างไร มีความพร้อมในด้านใดบ้าง
              7.ฝึกอบรมแล้วได้ผล หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงตามวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมหรือไม่
ขั้นตอนของการฝึกอบรม ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ประเมินความต้องการด้านการฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 2 เตรียมการและวางแผนการฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 3 ดำเนินการฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 4 ประเมินผลการฝึกอบรม การฝึกอบรมเชิงระบบเปรียบเสมือน
         2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
ตอบ  2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินปฏิกิริยา
1) แบบประเมินโครงการ
        2) แบบประเมินรายวิชา
2.2.เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้
2.3 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินพฤติกรรมในการทำงาน
2.4 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลลัพธ์ จะต้องมีคุณสมบัติที่ดีของเครื่องมือในการประเมินผล ซึ่งได้แก่
1. ความเที่ยงตรง (Validity)
2. ความเชื่อมั่น (Reliability)
3. ความเป็นกลางปราศจากอคติ (Objectivity)
4. ความเหมาะสมที่จะนำไปใช้ (Practicability)
5. ความง่าย (Simplicity)
         3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ ผู้รับผิดชอบการติดตามและประเมินผลโครงการฝึกอบรม ควรจะมีขั้นตอนการติดตามและ ประเมินผลโครงการฝึกอบรม ดังนี้.
1 กำหนดวัตถุประสงค์การประเมิน
2 ขั้นวางแผนการประเมิน
3 กำหนดแหล่งที่มา ของข้อมูล
4 กำหนดช่วงเวลาจัดเก็บข้อมูล
5 กำหนดเทคนิคหรือวิธีการและเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูล
6 กำหนดวิธีการ วิเคราะห์ข้อมูล โดยอาจกำหนดเป็นตาราง
นางสาววชิราพร บุญตะวัน รหัสนักศึกษา 65423471161
Answer
1.กระบวนการที่ทําให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดการเรียนรู้ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เพื่อเพิ่มพูนหรือพัฒนาสมรรถภาพในด้านต่าง ๆ ตลอดจนการปรับปรุงพฤติกรรม อันนํามาซึ่งการแสดงออกที่ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ หรือ กระบวนการจัดการที่ทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และ ทัศนคติในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ การจัดโครงการฝึกอบรม เป็นเพียงหนึ่งในหลายวิธีการในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล และการฝึกอบรมจะบังเกิดผลดีต่อเมื่อผู้รับผิดชอบ ดำเนินการอย่างมีระบบ มีความเข้าใจในกระบวนการฝึกอบรม และวิธีดำเนินการในแต่ละขั้นตอนกระบวนการหรือขั้นตอนการฝึกอบรมที่สำคัญ 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การหาความจำเป็นในการฝึกอบรม 2) การสร้างหลักสูตรฝึกอบรม 3) การกำหนดโครงการฝึกอบรม 4) การบริหารโครงการฝึกอบรม 5) การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรม

2. การวิเคราะห์งานเป็นกระบวนการในการศึกษารวบรวมข้อมูลต่างๆ ซึ่งเกี่ยวกับงานใน องค์การอย่างเป็นระบบ การวิเคราะห์งาน เป็นกระบวนการพื้นฐานที่สำคัญในการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ผลของการวิเคราะห์งานสามารถนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ในเรื่องต่างๆ ของการบริหารได้มากมาย เช่น เมื่อวิเคราะห์งานในองค์การแล้วทำให้สามารถรู้ข้อบกพร่องต่างๆ ที่เกี่ยวกับงานและใช้เป็นข้อมูลในการก าหนดความต้องการกำลังคนในการวางแผน การสรรหา และคัดเลือกบุคคล การเลื่อนตำแหน่ง การประเมินค่างาน เพื่อการกำหนดค่าตอบแทนต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาและฝึกอบรมบุคลากรในองค์การ เพื่อให้การวิเคราะห์งานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้อง ผู้ดำเนินการวิเคราะห์งานก็ต้องมีความเข้าใจในขั้นตอนของการวิเคราะห์งานเป็นอย่างดีด้วย โดยขั้นตอนสำหรับการวิเคราะห์งานนั้นพอจะแบ่งได้เป็น 4 ขั้นตอนด้วยกัน ดังนี้ 1) วางแผน 2) กำหนดขอบเขตของงาน 3) ระบุงานให้ชัดเจน 4) รวบรวมข้อมูล การกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานจะเป็นลักษณะข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชากับ ผู้ใต้บังคับบัญชาในงานที่ต้องปฏิบัติ โดยจะมีกรอบในการพิจารณากำหนดมาตรฐานหลาย ๆ ด้านด้วยกัน อาทิ ด้านปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลา ค่าใช้จ่าย หรือพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงาน เนื่องจากมาตรฐานของงานบางประเภทจะออกมาในรูปของปริมาณ ในขณะที่บางประเภทอาจ ออกมาในรูปแบบของคุณภาพองค์การ

3. วิเคราะห์ความจำเป็นในการฝึกอบรมต้องพิจารณาจากองค์ประกอบ 3 ด้าน ได้แก่ การวิเคราะห์องค์การ การวิเคราะห์บุคคล และการวิเคราะห์งาน โดยสิ่งที่ได้จากการวิเคราะห์ความจำเป็นในการฝึกอบรม ได้แก่ คุณลักษณะของผู้ที่ต้องเข้ารับการฝึกอบรม เนื้อหา รูปแบบ ความถี่ และวิธีการประเมินผล
ซึ่งผลที่ได้เหล่านี้มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการวางแผนการฝึกอบรมให้เหมาะสมกับกลยุทธ์ขององค์การและพนักงานมากที่สุด
ส.ท.ณัฐชัย ศิริพงษ์ รหัสนักศึกษา 1159
ข้อ1 ตอบ การฝึกอบรม คือ กระบวนการที่ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดการเรียนรู้ในรูปแบบหนึ่ง เพื่อเพิ่มพูนหรือพัฒนาสมรรถภาพในด้านต่างๆตลอดจนการปรับปรุงพฤติกรรม อันนำมาซึ่งการแสดงออกที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
บทบาทของการฝึกอบรม
1. รับผิดชอบการออกแบบและพัฒนาโครงการฝึกอบรม
2. จัดทำงบประมาณและบริหารโครงการฝึกอบรม
3. กำหนดมาตรฐาน นโยบายและระเบียบการดำเนินงานของโครงการฝึกอบรม
4. ควบคุมโครงการฝึกอบรมให้ดำเนินตามนโยบายขององค์การ
5. รับผิดชอบเกี่ยวกับการคัดเลือก การพัฒนาและการประเมินผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝึกอบรม
6. เจรจาและทำหน้าที่ตกลงกับบุคคลจากภายนอกองค์การ ซึ่งเข้ามาช่วยเหลือการฝึกอบรม
7. ประเมินผลโครงการฝึกอบรมและรายงานต่อฝ่ายบริหารขององค์การ
8. ประชุมหรือพบปะกับบุคคลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกอบรม ทั้งจากภายในและภายนอกองค์การ
ประโยชน์ของการฝึกอบรม
1 บุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานให้ดียิ่งขึ้น และสร้างผลสำเร็จได้ดียิ่งขึ้น
2 องค์กรมีองค์ความรู้ใหม่ๆ เกิดขึ้น เป็นประโยชน์ต่อการทำงานขององค์กร
3 องค์กรมีทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ไม่สะเปะสะปะ ไปถึงเป้าหมายได้ง่ายขึ้น
4 สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรได้
5 สามารถช่วยลดต้นทุนในการประกอบการได้ เนื่องจากการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
6 พนักงานมีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา

ข้อ2 ตอบ การวิเคราะห์งาน หมายถึงการวิเคราะห์งาน (Job Analysis) เป็นกระบวนการวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในตำแหน่งงานต่าง ๆ ตลอดจนพิจารณาคุณสมบัติที่จำเป็นในตำแหน่งงานนั้น ๆ ได้แก่ ทักษะ ความรู้ ความสามารถ และบุคลิกภาพที่ต้องการ เพื่อให้การทำงานสำเร็จลุล่วง ผลลัพธ์ที่ต้องการจากการวิเคราะห์งานคือ ใบกำหนดหน้าที่ (Job Description) และใบกำหนดคุณสมบัติ (Job Specification) ของแต่ละตำแหน่งงาน เพื่อนำไปใช้ในระบบบริหารงานบุคคลและพัฒนาบุคลากรในองค์กรต่อไป
ประโยชน์
1ช่วยในการวางแผนอัตรากำลัง (Manpower Planning)
2ช่วยในการสรรหาและคัดเลือกบุคลกร (Recruitment & Selection)
3ช่วยในการฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร (Training & Development)
4ช่วยในการวัดผลและประเมินผลการปฎิบัติงาน (Performance Evaluation)
5ช่วยในการกำหนดค่าตอบแทนที่เหมาะสม (Compensation)
6ช่วยในการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน (Safety Reinforcement)
7ช่วยในการออกแบบงาน (Job Design)
8เป็นเครื่องมือในการบริหาร (Management)
9เป็นมาตรฐานในการทำงานในแต่ละตำแหน่ง (Job Standard)
10 สามารถจัดบุคลากรให้เหมาะสมกับความสามารถ (Put the right man on the right job)
11 นำไปใช้ในการจัดทำความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path) เห็นประโยชน์ของการวิเคราะห์งานแล้วใช่ไหมคะ พรุ่งนี้เราเริ่มทำการวิเคราะห์งานกันนะคะ

ข้อ 3 ตอบ
1. ระบุผลลัพธ์ของการอบรม

1) ปรับปรุงอัตราความพึงพอใจของลูกค้า

2) ลดเวลาในส่งมอบการบริการ

3) ปรับปรุงขวัญและกำลังใจของพนักงานผ่านการดูแลของผู้บริหาร

4) ปรับปรุงความรวดเร็วในการกรอกข้อมูลการสั่งซื้อ

2. เชื่อมผลลัพธ์ที่ต้องการกับพฤติกรรมของพนักงาน

1) กำหนดสมรรถนะขีดความสามารถ (ความรู้ ทักษะ คุณภาพ และ ความรู้ที่เข้ากับผลลัพธ์ที่ต้องการ)

2) เก็บข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะห์สมรรถนะที่มีปัญหาอันจะทำให้ไม่บรรลุเป้าหมายทางธุรกิจที่กำหนด

a) ทักษะด้านไหนที่ต้องการเพื่อให้เป้าหมายสำเร็จ?

b) ข้อมูลที่จำเป็นเพื่อให้การทำงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์?

c) พฤติกรรมที่จะเป็นผลลบต่อความสำเร็จในงานที่ทำคืออะไร?

3) บ่งชี้ความสามารถที่ต้องฝึกอบรม อันจำทำให้งานนั้น ๆ สำเร็จได้

4) ประเมินสมรรถนะความสามารถในปัจจุบัน เปรียบเทียบกับ ความสามารถที่ต้องการ การประเมินทำได้โดยการประเมินผลการปฏิบัติงาน แบบทดสอบ แบบสำรวจ ประเมินตนเอง สอบถาม ข้อมูลสะท้อนกลับจากลูกค้า เป็นต้น
ส.อ.ธนวิชญ์ พึ่งแย้ม รหัสนักศึกษา 65423471171
1.ให้ความหมายของการฝึกอบรม อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
ตอบ คือการเพิ่มพูนทักษะ ความชำนาญ ความสามารถ และทัศนคติในทางที่ถูกที่ควร เพื่อช่วยให้การปฏิบัติงานและภาระหน้าที่ต่างๆ ในปัจจุบันและอนาคตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้มีความรู้ความเข้าใจ ความสามารถและเกิดทักษะจากประสบการณ์ตลอดจนเกิดเจตคติที่ดีและถูกต้องต่อกิจกรรมต่างๆ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของงานที่มีผลต่อความเจริญขององค์การ ตรงตามเป้าหมายของโครงสร้างที่ปรากฏในระบบงานเหล่านั้น และการจัดกิจกรรมที่ตรงกับความเป็นจริงของปัญหา เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเปลี่ยนเจตคติของบุคลากร และสามารถนำประสบการณ์ทั้งหมดที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้แก้ปัญหาของงานที่ทำอยู่ให้บรรลุความสำเร็จตามความต้องการขององค์การ และการจัดกระบวนการเรียนรู้เฉพาะอย่างของบุคคล เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอันเป็นการเพิ่มความสามารถในการทำงานของคน ทั้งในเรื่องของความรู้ ทักษะ ทัศนคติ ความชำนาญในการปฏิบัติงาน รวมทั้งความรับผิดชอบต่างๆ ที่บุคคลพึงมีต่อหน่วยงาน และสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับผู้ปฏิบัติงานและเพื่อยกมาตรฐานการปฏิบัติงานให้อยู่ในระดับสูงขึ้น และทำให้บุคลากรมีความเจริญก้าวหน้าในงาน และสามารถได้แบ่งกระบวนการฝึกอบรมเป็นขั้นตอนที่สำคัญ 4 ขั้นตอน ดังนี้
1) การพิจารณาความจำเป็นของการฝึกอบรม
2) การวางแผนฝึกอบรม
3) การดำเนินการฝึกอบรม
4) การประเมินผลการฝึกอบรม
ประโยชน์ของการฝึกอบรม คือ บุคลากรได้พัฒนาขีดความสามารถของตนเองเนื่องจากได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการทำงานให้ประสบผลสำเร็จ หรือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ได้มีส่วนร่วมการปรึกษาหารือกันและได้ยกระดับความรู้และทักษะให้เกิดการปรับทัศนคติของตนเอง ช่วยลดระยะเวลาในการเรียนรู้งาน ช่วยลดภาระหน้าที่ของหัวหน้างาน และช่วยกระตุ้นบุคลากรให้ปฏิบัติงานเพื่อความก้าวหน้าของตน
2.อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
ตอบ คือการกำหนดลักษณะขอบเขตของงานต่างๆ ทั้งนี้โดยมีการสำรวจและศึกษา เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานที่ผู้ทำงานจำต้องมีอยู่อย่างครบถ้วน คือ ทั้งในแง่ความชำนาญที่ต้องการความรู้ที่ต้องใช้ความสามารถที่ต้องมี และความรับผิดชอบที่ต้องมีอยู่ซึ่งจะช่วยให้พนักงานสามารถทำงานจนสำเร็จผลลงได้ และข้อมูลต่างๆเหล่านี้ ที่จะวิเคราะห์ขึ้นมาสำหรับแต่ละงานในที่สุดก็จะชี้ให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างงานต่างๆ นั้นด้วย แล้วมาตรฐานในการปฏิบัติงานนั้น ก็คือเป็นการปฏิบัติงานและการให้บริการในระดับใดระดับหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็นเกณฑ์ที่ น่าพอใจ หรืออยู่ในระดับที่ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่สามารถทำได้ โดยจะมีกรอบในการพิจารณากำหนดมาตรฐานหลายด้าน เช่น ด้านปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลา ค่าใช้จ่าย หรือพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงาน การกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานต้องกำหนดให้เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะของงานในแต่ละประเภทนั้นเอง
3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
ตอบ การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมนั้น มีการปรับปรุงอัตราความพึงพอใจของลูกค้า ลดเวลาในส่งมอบการบริการ ปรับปรุงขวัญและกำลังใจของพนักงานผ่านการดูแลของผู้บริหาร ปรับปรุงความรวดเร็วในการกรอกข้อมูลการสั่งซื้อ และมีการเชื่อมผลลัพธ์ที่ต้องการกับพฤติกรรมของพนักงาน มีการกำหนดสมรรถนะขีดความสามารถความรู้ ทักษะ คุณภาพ และ ความรู้ที่เข้ากับผลลัพธ์ที่ต้องการ และรวบรวมข้อมูลด้านต่างๆเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และได้จัดให้มีการประเมินสมรรถนะความสามารถในปัจจุบัน เปรียบเทียบกับ ความสามารถที่ต้องการ การประเมินทำได้โดยการประเมินผลการปฏิบัติงาน แบบทดสอบ แบบสำรวจ ประเมินตนเอง สอบถาม ข้อมูลสะท้อนกลับจากลูกค้า นั้นเองครับ
ส.ท.ณัฐชัย ศิริพงษ์ 1159
ข้อ1 ตอบ การฝึกอบรม คือ กระบวนการที่ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดการเรียนรู้ในรูปแบบหนึ่ง เพื่อเพิ่มพูนหรือพัฒนาสมรรถภาพในด้านต่างๆตลอดจนการปรับปรุงพฤติกรรม อันนำมาซึ่งการแสดงออกที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
บทบาทของการฝึกอบรม
1. รับผิดชอบการออกแบบและพัฒนาโครงการฝึกอบรม
2. จัดทำงบประมาณและบริหารโครงการฝึกอบรม
3. กำหนดมาตรฐาน นโยบายและระเบียบการดำเนินงานของโครงการฝึกอบรม
4. ควบคุมโครงการฝึกอบรมให้ดำเนินตามนโยบายขององค์การ
5. รับผิดชอบเกี่ยวกับการคัดเลือก การพัฒนาและการประเมินผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝึกอบรม
6. เจรจาและทำหน้าที่ตกลงกับบุคคลจากภายนอกองค์การ ซึ่งเข้ามาช่วยเหลือการฝึกอบรม
7. ประเมินผลโครงการฝึกอบรมและรายงานต่อฝ่ายบริหารขององค์การ
8. ประชุมหรือพบปะกับบุคคลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกอบรม ทั้งจากภายในและภายนอกองค์การ
ประโยชน์ของการฝึกอบรม
1 บุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานให้ดียิ่งขึ้น และสร้างผลสำเร็จได้ดียิ่งขึ้น
2 องค์กรมีองค์ความรู้ใหม่ๆ เกิดขึ้น เป็นประโยชน์ต่อการทำงานขององค์กร
3 องค์กรมีทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ไม่สะเปะสะปะ ไปถึงเป้าหมายได้ง่ายขึ้น
4 สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรได้
5 สามารถช่วยลดต้นทุนในการประกอบการได้ เนื่องจากการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
6 พนักงานมีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา

ข้อ2 ตอบ การวิเคราะห์งาน หมายถึงการวิเคราะห์งาน (Job Analysis) เป็นกระบวนการวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในตำแหน่งงานต่าง ๆ ตลอดจนพิจารณาคุณสมบัติที่จำเป็นในตำแหน่งงานนั้น ๆ ได้แก่ ทักษะ ความรู้ ความสามารถ และบุคลิกภาพที่ต้องการ เพื่อให้การทำงานสำเร็จลุล่วง ผลลัพธ์ที่ต้องการจากการวิเคราะห์งานคือ ใบกำหนดหน้าที่ (Job Description) และใบกำหนดคุณสมบัติ (Job Specification) ของแต่ละตำแหน่งงาน เพื่อนำไปใช้ในระบบบริหารงานบุคคลและพัฒนาบุคลากรในองค์กรต่อไป
ประโยชน์
1ช่วยในการวางแผนอัตรากำลัง (Manpower Planning)
2ช่วยในการสรรหาและคัดเลือกบุคลกร (Recruitment & Selection)
3ช่วยในการฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร (Training & Development)
4ช่วยในการวัดผลและประเมินผลการปฎิบัติงาน (Performance Evaluation)
5ช่วยในการกำหนดค่าตอบแทนที่เหมาะสม (Compensation)
6ช่วยในการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน (Safety Reinforcement)
7ช่วยในการออกแบบงาน (Job Design)
8เป็นเครื่องมือในการบริหาร (Management)
9เป็นมาตรฐานในการทำงานในแต่ละตำแหน่ง (Job Standard)
10 สามารถจัดบุคลากรให้เหมาะสมกับความสามารถ (Put the right man on the right job)
11 นำไปใช้ในการจัดทำความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path) เห็นประโยชน์ของการวิเคราะห์งานแล้วใช่ไหมคะ พรุ่งนี้เราเริ่มทำการวิเคราะห์งานกันนะคะ

ข้อ 3 ตอบ
1. ระบุผลลัพธ์ของการอบรม

1) ปรับปรุงอัตราความพึงพอใจของลูกค้า

2) ลดเวลาในส่งมอบการบริการ

3) ปรับปรุงขวัญและกำลังใจของพนักงานผ่านการดูแลของผู้บริหาร

4) ปรับปรุงความรวดเร็วในการกรอกข้อมูลการสั่งซื้อ

2. เชื่อมผลลัพธ์ที่ต้องการกับพฤติกรรมของพนักงาน

1) กำหนดสมรรถนะขีดความสามารถ (ความรู้ ทักษะ คุณภาพ และ ความรู้ที่เข้ากับผลลัพธ์ที่ต้องการ)

2) เก็บข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะห์สมรรถนะที่มีปัญหาอันจะทำให้ไม่บรรลุเป้าหมายทางธุรกิจที่กำหนด

a) ทักษะด้านไหนที่ต้องการเพื่อให้เป้าหมายสำเร็จ?

b) ข้อมูลที่จำเป็นเพื่อให้การทำงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์?

c) พฤติกรรมที่จะเป็นผลลบต่อความสำเร็จในงานที่ทำคืออะไร?

3) บ่งชี้ความสามารถที่ต้องฝึกอบรม อันจำทำให้งานนั้น ๆ สำเร็จได้

4) ประเมินสมรรถนะความสามารถในปัจจุบัน เปรียบเทียบกับ ความสามารถที่ต้องการ การประเมินทำได้โดยการประเมินผลการปฏิบัติงาน แบบทดสอบ แบบสำรวจ ประเมินตนเอง สอบถาม ข้อมูลสะท้อนกลับจากลูกค้า เป็นต้น
Unknown said…
จ.ส.อ.พิเชฐษ เสาวพันธุ์ รหัสนักศึกษา 1178
1. ความหมายของการฝึกอบรม อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
ตอบ การฝึกอบรม คือ กระบวนการที่ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดการเรียนรู้ในรูปแบบหนึ่งเพื่อเพิ่มพูนหรือพัฒนาสมรรถภาพในด้านต่างๆตลอดจนการปรับปรุงพฤติกรรม อันนำมาซึ่งการแสดงออกที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ข้อปฏิบัติของผู้รับผิดชอบจัดการฝึกอบรม
1. ต้องยอมรับความมีคุณค่าของผู้เข้าอบรมแต่ละคน และจะต้องเคารพในความรู้สึกนึกคิดและความเห็น ตลอดจนประสบการณ์ของผู้เข้าร่วมด้วย
2. พยายามทำให้ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักด้วยตนเองว่ามีความจำเป็นที่จะต้องปรับพฤติกรรม (ทั้งด้านความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ และทัศนคติ) โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้วยการเรียนรู้หรือการแก้ปัญหา
3. ควรจัดสิ่งแวดล้อมทางกายภาพให้สะดวกสบาย (เช่น ที่นั่ง อุณหภูมิ แสงสว่าง การถ่ายเทอากาศ ฯลฯ) ให้เอื้อต่อการปฏิสัมพันธ์ในกลุ่มผู้เข้าร่วมอบรม
4. สร้างความสัมพันธ์อันดี ให้เกิดความรู้สึกไว้เนื้อเชื่อใจ และความช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน สนับสนุนให้มีกิจกรรมที่ต้องมีการให้ความร่วมมือร่วมใจกันและกัน ในขณะเดียวกันควรพยายามหลีกเลี่ยงการแข่งขัน
5. ควรเปิดโอกาสให้ผู้ร่วมอบรมมีส่วนร่วมในเรื่อง ดังต่อไปนี้
6. ช่วยผู้ร่วมอบรมให้รู้จักพัฒนาขั้นตอนและวิธีการในการประเมินตนอง หรือวิเคราะห์และประเมินผลโครงการฝึกอบรมตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้แล้ว
ประโยชน์ของการฝึกอบรม
1. บุคลากรหรือกลุ่มบุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเนื่องจากได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการทำงานให้ประสบผลสำเร็จ หรือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
2. การได้ปรึกษาหารือกันในส่วนของผู้เกี่ยวข้องในองค์การ เช่น ผู้เข้ารับการฝึกอบรม หัวหน้างาน ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหารระดับสูงขององค์การ หรือผู้ที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ร่วมกันหาแนวทางในการแก้ปัญหาและการปรับปรุงการทำงาน
3. ผู้เข้าร่วมการฝึกอบรมได้ยกระดับความรู้และทักษะให้เกิดการปรับทัศนคติ
4. ช่วยลดระยะเวลาในการเรียนรู้งาน
5. ช่วยลดภาระหน้าที่ของหัวหน้างาน
6. ช่วยกระตุ้นบุคลากรให้ปฏิบัติงานเพื่อความก้าวหน้าของตน
2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
ตอบ การวิเคราะห์งาน หมายถึง กระบวนการ การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานทั้งหมด และนำข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ จัดทำเป็นเอกสารสำหรับตำแหน่งงานแต่ละตำแหน่ง ซึ่งเอกสารของตำแหน่งงานนั้นประกอบไปด้วย สองส่วนใหญ่ๆ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง ผลการปฏิบัติงานในระดับใดระดับหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็นเกณฑ์ที่น่าพอใจหรืออยู่ในระดับที่ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่ทําได้ โดยจะมีกรอบในการพิจารณากําหนดมาตรฐานหลาย ๆ ด้าน อาทิ เช่น ด้านปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลาค่าใช้จ่าย หรือพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงานที่เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะงานประเภทนั้น ๆ ด้วย
Job Description คือ การแสดงถึงรายละเอียดที่เกี่ยวกับลักษณะงาน และวิธีการในการปฏิบัติงานในตำแหน่งนั้นๆ ประกอบไปด้วยรายละเอียดดังนี้
1. ลักษณะของงาน (Job Identification)
2. สรุปหน้าที่ของงานคร่าวๆ (Job Summary)
3. หน้าที่ที่ต้องทำ (Duties)
4. ความสัมพันธ์กับงานหรือตำแหน่งอื่นๆ (Relation to other job)
5. เครื่องมือ/อุปกรณ์/เครื่องจักร/วัสดุที่ต้องใช้ในการทำงาน (Equipment & Materials)
6. เงื่อนไขในการทำงาน (Condition)
ประโยชน์โดยรวมการจากวิเคราะห์งาน
1. ช่วยในการวางแผนอัตรากำลัง (Manpower Planning)
2. ช่วยในการสรรหาและคัดเลือกบุคลกร (Recruitment & Selection)
3. ช่วยในการฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร (Training & Development)
4. ช่วยในการวัดผลและประเมินผลการปฎิบัติงาน (Performance Evaluation)
5. ช่วยในการกำหนดค่าตอบแทนที่เหมาะสม (Compensation)
6. ช่วยในการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน (Safety Reinforcement)
7. ช่วยในการออกแบบงาน (Job Design)
8. เป็นเครื่องมือในการบริหาร (Management)
9. เป็นมาตรฐานในการทำงานในแต่ละตำแหน่ง (Job Standard)
10. สามารถจัดบุคลากรให้เหมาะสมกับความสามารถ (Put the right man on the right job)
11. นำไปใช้ในการจัดทำความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path)
3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
ตอบ 1. ระบุผลลัพธ์ของการอบรม
2. เชื่อมผลลัพธ์ที่ต้องการกับพฤติกรรมของพนักงาน
3. เรียงลำดับความสำคัญของความจำเป็นในการฝึกอบรม
สิบตรี ยุทธชัย คำยา
รหัสนักศึกษา 65423471182
       1. ให้ความหมายของการฝึกอบรม  อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
ตอบ ความหมายของการฝึกอบรมคือ การที่คนกลุ่มๆหนึ่งได้มีการมารวมตัวกันเพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับความรู้ที่ไม่เคยรู้มาในการอบรมนั้นจะต้องมีแกนนำหรือผู้ขับเคลื่อนการอบรม เพื่อทำให้ผู้อบรมได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหานั้นไปได้มากที่สุด บทบาทของการฝึกอบรมนั้นมีอยู่หลายอย่าง เช่น การทำให้คนมีความรู้เพิ่มเติมมากขึ้น และสร้างสังคมให้เป็นกลุ่มเป็นก้อน เพื่อที่จะนำความรู้ไปพัฒนาและใช้ประโยชน์ต่อไป จึงต้องมีการอบรมเกิดขึ้นเพื่อให้ผู้อบรมมี พื้นฐาน ทักษะ หรือเทคนิค ในการใช้ชีวิต ดังนั้น การอบรมจึงเป็นปัจจัยหลักในการพัฒนาสังคม ผู้คน และความรู้ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

          2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
ตอบ ความหมายการวิเคราะห์งานมีมาตรฐาน ดังนี้
1. เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ ของการฝึกอบรมโครงการพัฒนาผู้นายุคดิจิตอล ในระดับพฤติกรรม การนำความรู้ที่ได้รับไปใช้

2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการน าความรู้ที่ได้รับไปใช้หลังการเข้าร่วมโครงการฝึกอบรม
บทบาทของการวิเคราะห์งาน คือ การที่ได้งานที่มีความละเอียด ถูกต้อง และสมบูรณ์มากที่สุด ทำให้ความรู้ที่อบรมมามีเหตุผลมากขึ้นโดยผ่านการวิเคราะห์อย่างชัดเจน
ประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน คือ เราจะได้งานที่มีคุณภาพ มีแหล่งที่มา มีความน่าเชื่อถือ และสามารถนำเอาไปเผยแพร่หรือสร้างความรู้ให้แก่ผู้อื่นหรือองค์กรอื่นได้อีกด้วย

3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
ตอบ การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมนนั้น พิจารณาจากสิ่งแวดล้อมและความต้องการของผู้ที่มาอบรม ว่ามีความสนใจเกี่ยวกับเรื่องใดหรือต้องการอบรมศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับอะไร เมื่อเราได้พิจารณาเกี่ยวกับความต้องการในการอบรมของผู้อบรมแล้วเราจึงมีการวางแผนการจัดการอบรมขึ้นเพื่อตอบโจทย์ผู้คนให้มากที่สุด และเพื่อไม่ให้การอบรมดูน่าเบื่อ จึงควรจัดกิจกรรมที่เสริมสร้างความรู้และความสนุกเข้าไปด้วย เพื่อให้การอบรมเป็นไปตามแบบแผนที่วางไว้ ดังนั้นการพิจารณาการจัดการอบรมนัั้นจึงเป็นปัจจัยสำคัญในการทำกิจกรรมให้ออกมาสมบูรณ์แบบที่สุด

  

Anonymous said…
1.ให้ความหมายของการฝึกอบรม อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
ตอบ.การฝึกอบรม(Training)คือกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างมีระบบเพื่อให้บุคคลได้เกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งกระทั่งเปลี่ยนพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดตลอดจนพัฒนาความสามารถจนเกิดทักษะและความชำนาญเป็นการการพัฒนาบุคลากรด้วยการจัดโครงการฝึกอบรมนั้นจะส่งผลและเอื้ออำนวยประโยชน์ให้กับองค์การหรือหน่วยงานได้เพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับความรู้ความสามารถและทัศนคติที่มีต่องานของบุคลากรผู้รับผิดชอบจัดการฝึกอบรมเป็นสำคัญ หากจะให้สามารถ ปฏิบัติงานด้านการบริหารงานฝึกอบรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกเหนือไปจากจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกระบวนการ ฝึกอบรม และหลักการบริหารงานฝึกอบรมแต่ละขั้นตอนแล้ว ผู้รับผิดชอบงานฝึกอบรมควรจะต้องมีความรู้พื้นฐานทางสังคมศาสตร์ และ พฤติกรรมศาสตร์แขนงต่างๆ อย่างกว้างขวาง เช่นสังคมวิทยา จิตวิทยา และศาสตร์การจัดการ ซึ่งจะช่วยเอื้ออำนวยให้สามารถ กำหนดหลักสูตร และโครงการฝึกอบรมได้ง่ายขึ้นมีความรู้เกี่ยวกับหลักการบริหารบุคคลและการพัฒนาบุคคลด้วยวิธีการอื่นๆ นอกเหนือไปจากการฝึกอบรม มีความเข้าใจถึงหลักการเรียนรู้ของผู้ใหญ่เพื่อให้สามารถปฏิบัติต่อผู้เข้าอบรมได้อย่างเหมาะสมตลอดจนเข้าใจถึงหลักการวิจัยทางสังคมศาสตร์อยู่บ้างพอที่จะสามารถทำการสำรวจ เพื่อรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลที่จำเป็น ในการบริหารงานฝึกอบรมได้นอกจากนั้นผู้ดำเนินการฝึกอบรมยังจำเป็นที่จะต้องมีความสามารถในการสื่อสารทั้งด้านการเขียนและการพูดในที่ชุมนุมชนตลอดจนมีมนุษย์สัมพันธ์ดีเพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารกับกลุ่มผู้เข้าอบรม และประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2.อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
ตอบ. การวิเคราะห์งานเสมือนเป็นหัวใจของการทาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เพราะเป็นข้อมูลพื้นฐานที่จะต้องนำไปใช้ในกจิกรรมด้านอื่นๆของการบริหารทรัพยากรมนุษย์อีกทั้งการวิเคราะห์งานยังเป็นการศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับงานต่างๆในองค์การหากเป็นงานใหม่ที่เพิ่งจะจัดทาขึ้นหรือสร้างขึ้นเราจำเป็นที่จะต้องมีการออกแบบงาน (Job Design) ด้วยทั้งนี้เพื่อวางแผนเกี่ยวกับความก้าวหน้าของบุคลากรและป้องกันมิให้บุคลากรเกิดอาการเบื่องานหรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ การวางแผนงาน ออกแบบงานเพื่อให้บุคลากรพึงพอใจในงานและสามารถทำงานอยู่กับองค์การได้ต่อไปนานๆ การออกแบบงาน มี 2 ลักษณะ คือ
1. การทำให้งานมีความหลากหลายมากขึ้น (Job Enlargement) เทคนิควิธีที่ใช้คือการโยกย้าย (Transfer) และการหมุนเวียนงาน (Rotation)
2. การทำให้งานมีคุณค่ามากขึ้น (Job Enrichment) เทคนิควิธที่ใช้ คือ การเลื่อนตำแหน่ง (Promotion)


3.การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
ตอบ.การฝึกอบรมเป็นกระบวนการอย่างหนึ่งในการพัฒนาโครงการโดยอาศัยการดำเนินงานอย่างเป็นระบบขั้นตอน มีการวางแผนที่ดีและเป็นการกระทำที่ต่อเนื่องโดยไม่มีการหยุดยั้งซึ่งการกระทำทั้งหมดก็เพื่อความมุ่งหมายในการเพิ่มพูนความรู้เนื่องจากความก้าวหน้าอย่างรวกเร็วของวิทยากรในปัจจุบันก่อให้เกิดความจำเป็นที่ทุกคนจะต้องขวนขวายหาความรู้ให้ทันเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและเพิ่มพูนทักษะความชำนาญเพื่อการบรรเทาการสูญเสียอันเกิดจากการทำงานมีด้วยกัน 6 ขั้นตอนคือ
1. ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่องานในตำแหน่งที่บุคลากรปฏิบัติ ข้อมูลที่ศึกษาประกอบด้วย
1.1 ที่บุคลากรปฏิบัติหน้าที่อยู่ เช่น ขนาดขององค์กร นโยบายแผนพัฒนาขยายขนาดขององค์การ หรือเทคโนโลยีที่องค์การจะนำมาใช้
1.2 คุณลักษณะของบุคลากรในองค์การโดยส่วนรวม เช่น คุณภาพในการปฏิบัติงาน ความรู้ ความสามารถ ค่านิยม และพฤติกรรมที่ส่งผลดีต่อองค์การ1.3ทัศนะของฝ่ายบริหารที่มองเห็นความสำคัญของคุณประโยชน์ของการฝึอบรมในทางบวก
1.4.ความต้องการของบุคลากรในองค์การ
2. ศึกษาความต้องการการจัดฝึกอบรม เกี่ยวกับงาน ตาม ตำแหน่ง หน้าที่ ของบุคลากร ข้อมูลที่ศึกษาประกอบด้วย
2.1.ระดับของตำแหน่งหน้าที่ ซึ่งจะบ่งชี้ถึงระดับความรู้ ทักษะหรือเจตคติที่จำเป็นในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน
2.2 บทบาทตามตำแหน่งหน้าที่
3. คาดหมายการเปลี่ยนแปลงที่มีสาเหตุจากงานในตำแหน่งนั้น ๆ เป็นการพิจารณาว่าบุคลากรต้องการอะไร ด้านใด มากน้อยเพียงใด
4.พิจารณาความรู้ทักษะ หรือเจตคติที่จำเป็นต้องฝึกอบรม
5.ตัดสินใจว่าต้องมีการจัดฝึกอบรม
6.พิจารณาความแตกต่างของ คุณสมบัติในตำแหน่งที่องค์กรคาดหวัง กับคุณสมบัติของบุคลากรที่มีอยู่ และวัดระดับความสำคัญของสิ่งที่ต้องฝึกอบรม
ส.ท.กฤษดากร แสวงผล
รหัสนักศึกษา65423471163

1. ให้ความหมายของการฝึกอบรม  อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
ตอบ = การฝึกอบรม คือ กระบวนการที่ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดการเรียนรู้ในรูปแบบหนึ่ง เพื่อเพิ่มพูนหรือพัฒนาสมรรถภาพในด้านต่างๆตลอดจนการปรับปรุงพฤติกรรม อันนำมาซึ่งการแสดงออกที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
บทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
1. บุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานให้ดียิ่งขึ้น และสร้างผลสำเร็จได้ดียิ่งขึ้น
2. องค์กรมีองค์ความรู้ใหม่ๆ เกิดขึ้น เป็นประโยชน์ต่อการทำงานขององค์กร
3. องค์กรมีทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ไม่สะเปะสะปะ ไปถึงเป้าหมายได้ง่ายขึ้น
4. สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรได้
5. สามารถช่วยลดต้นทุนในการประกอบการได้ เนื่องจากการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
6. พนักงานมีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา

2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
ตอบ = การวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง เพื่อให้เกิดความเข้าใจถึงความหมายของการวิเคราะห์งาน ควรพิจารณามองภาพความสัมพันธ์ของขั้นตอนและกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นในกระบวนการทำงานของบุคลาภายในแต่ละองค์การ ดังต่อไปนี้
          การทำงาน (Work) หมายถึง กิจกรรมที่บุคลากรใดบุคลากรหนึ่งกระทำขึ้นด้วยกำลังกายและกำลังใจ เพื่อจุดมุ่งหมายหนึ่งที่ตนต้องการ เช่น เพื่อการดำรงชีวิต  เพื่อความสบายใจ หรือเพื่อช่วยส่งเสริมสังคม เป็นต้น
          ตำแหน่ง (Position) หมายถึง หน้าที่และความรับผิดชอบที่องค์การมอบหมายให้บุคลากรแต่ละคนโดยจำนวนตำแหน่งจะมีมากเท่ากับจำนวนบุคลากรในองค์การนั้น
           งาน (Job) หมายถึง กลุ่มของตำแหน่งที่มีชนิดและระดับของงานเหมือนกัน ตัวอย่างเช่น บริษัทแห่งหนึ่งประกอบด้วย ผู้จัดการ 1 คน ผู้ช่วยผู้จัดการ 1 คน พนักงานขาย 10 คน เสมียน 3 คน และพนักงานส่งของ 2 คน ดังนั้นบริษัทนี้จึงมีตำแหน่ง 17 ตำแหน่ง แต่มีงาน 4 งาน ได้แก่ ผู้บริหาร พนักงานขาย เสมียน และพนักงานส่งของ
            อาชีพ (Occupation) หมายถึง กลุ่มของงาน (Job) ที่มีลักษณะคล้ายกัน และผู้ประกอบอาชีพนั้นจะปฏิบัติงานโดยวิธีการอย่างเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน เช่น แพทย์ วิศวกร และนักบัญชี เป็นต้น
           ความหมายของศัพท์ข้างต้น แสดงให้เห็นว่าบุคลากรแต่ละคนจะปฏิบัติงานในส่วนต่างๆ ขององค์การตามสาขาอาชีพของตน หรือตามตำแหน่งงานที่ได้รับการแต่งตั้ง ก่อนที่องค์การจะสามารถจัดสรรให้บุคลากรปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสมนั้น มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์จะต้องทำการศึกษาและวิเคราะห์งาน เพื่อให้ได้ข้อมูลและเข้าใจถึงธรรมชาติหรือลักษณะเฉพาะของงานนั้นๆ ที่จะส่งผลให้องค์การสามารถที่จะจัดหาและจัดสรรบุคลากรที่เหมาะสมกับงานและตำแหน่งได้เป็นอย่างดี ซึ่งจะทำให้องค์การดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดการพัฒนาและการเจริญเติบโตขององค์การความหมายของการวิเคราะห์งาน มีผู้บัญญัติความหมายไว้หลายท่าน สามารถเป็นแนวทางในการหาข้อสรุปเพื่อการนำไปใช้งาน
บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
การวิเคราะห์งานเป็นกระบวนการที่มีการจัดการอย่างเป็นระบบที่ถูกนำมาใช้ในการศึกษารวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงาน เพื่อที่จะได้สารสนเทศของงานนั้นเพียงพอต่อการที่จะนำไปใช้ประโยชน์ในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ โดยสารสนเทศที่ได้จากการวิเคราะห์งานสามารถนำมาจัดหมวดหมู่เพื่อประยุกต์ใช้งานในการจัดการทรัพยากรขององค์การได้ ตั้งแต่เอกสารบรรยายลักษณะงาน เอกสารระบุข้อกำหนดของงาน มาตรฐานการทำงาน และเกณฑ์ในการประเมินค่างาน
ความสัมพันธ์ระหว่างการวิเคราะห์งานกับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรมนุษย์จะพบว่าการวิเคราะห์งานไม่เพียงแต่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมด้านทรัพยากรมนุษย์เท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับกิจกรรมด้านทรัพยากรมนุษย์ในลักษณะอื่นๆ อีกมากมาย จากการนำสารสนเทศที่ได้จากการวิเคราะห์งานไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ขององค์การ มีดังต่อไปนี้

3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
ตอบ = 1. มีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน
                2. จะต้องทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีบรรยากาศของการอบรมที่ไม่เครียด สนุกสนานเพลิดเพลินกับกิจกรรมที่วิทยากรถ่ายทอดและกระตุ้นให้อยากรู้ สร้างการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในห้องเรียนในบรรยากาศของความเป็นกันเอง
                3. วิทยากรจะต้องเป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการทำงาน มีความสามารถในการถ่ายทอด
                4. มีการประเมินความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ความสามารถ ทั้งของวิทยากรและผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ของผู้เข้ารับการฝึกอบรมและการบรรลุเป้าหมายของโครงการฝึกอบรมนั้นด้วย
ส.ท.กฤษดากร แสวงผล 1163 said…
ส.ท.กฤษดากร แสวงผล
รหัสนักศึกษา65423471163

1. ให้ความหมายของการฝึกอบรม  อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
ตอบ = การฝึกอบรม คือ กระบวนการที่ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดการเรียนรู้ในรูปแบบหนึ่ง เพื่อเพิ่มพูนหรือพัฒนาสมรรถภาพในด้านต่างๆตลอดจนการปรับปรุงพฤติกรรม อันนำมาซึ่งการแสดงออกที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
บทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
1. บุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานให้ดียิ่งขึ้น และสร้างผลสำเร็จได้ดียิ่งขึ้น
2. องค์กรมีองค์ความรู้ใหม่ๆ เกิดขึ้น เป็นประโยชน์ต่อการทำงานขององค์กร
3. องค์กรมีทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ไม่สะเปะสะปะ ไปถึงเป้าหมายได้ง่ายขึ้น
4. สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรได้
5. สามารถช่วยลดต้นทุนในการประกอบการได้ เนื่องจากการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
6. พนักงานมีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา

2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
ตอบ = การวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง เพื่อให้เกิดความเข้าใจถึงความหมายของการวิเคราะห์งาน ควรพิจารณามองภาพความสัมพันธ์ของขั้นตอนและกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นในกระบวนการทำงานของบุคลาภายในแต่ละองค์การ ดังต่อไปนี้
          การทำงาน (Work) หมายถึง กิจกรรมที่บุคลากรใดบุคลากรหนึ่งกระทำขึ้นด้วยกำลังกายและกำลังใจ เพื่อจุดมุ่งหมายหนึ่งที่ตนต้องการ เช่น เพื่อการดำรงชีวิต  เพื่อความสบายใจ หรือเพื่อช่วยส่งเสริมสังคม เป็นต้น
          ตำแหน่ง (Position) หมายถึง หน้าที่และความรับผิดชอบที่องค์การมอบหมายให้บุคลากรแต่ละคนโดยจำนวนตำแหน่งจะมีมากเท่ากับจำนวนบุคลากรในองค์การนั้น
           งาน (Job) หมายถึง กลุ่มของตำแหน่งที่มีชนิดและระดับของงานเหมือนกัน ตัวอย่างเช่น บริษัทแห่งหนึ่งประกอบด้วย ผู้จัดการ 1 คน ผู้ช่วยผู้จัดการ 1 คน พนักงานขาย 10 คน เสมียน 3 คน และพนักงานส่งของ 2 คน ดังนั้นบริษัทนี้จึงมีตำแหน่ง 17 ตำแหน่ง แต่มีงาน 4 งาน ได้แก่ ผู้บริหาร พนักงานขาย เสมียน และพนักงานส่งของ
            อาชีพ (Occupation) หมายถึง กลุ่มของงาน (Job) ที่มีลักษณะคล้ายกัน และผู้ประกอบอาชีพนั้นจะปฏิบัติงานโดยวิธีการอย่างเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน เช่น แพทย์ วิศวกร และนักบัญชี เป็นต้น
           ความหมายของศัพท์ข้างต้น แสดงให้เห็นว่าบุคลากรแต่ละคนจะปฏิบัติงานในส่วนต่างๆ ขององค์การตามสาขาอาชีพของตน หรือตามตำแหน่งงานที่ได้รับการแต่งตั้ง ก่อนที่องค์การจะสามารถจัดสรรให้บุคลากรปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสมนั้น มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์จะต้องทำการศึกษาและวิเคราะห์งาน เพื่อให้ได้ข้อมูลและเข้าใจถึงธรรมชาติหรือลักษณะเฉพาะของงานนั้นๆ ที่จะส่งผลให้องค์การสามารถที่จะจัดหาและจัดสรรบุคลากรที่เหมาะสมกับงานและตำแหน่งได้เป็นอย่างดี ซึ่งจะทำให้องค์การดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดการพัฒนาและการเจริญเติบโตขององค์การความหมายของการวิเคราะห์งาน มีผู้บัญญัติความหมายไว้หลายท่าน สามารถเป็นแนวทางในการหาข้อสรุปเพื่อการนำไปใช้งาน
บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
การวิเคราะห์งานเป็นกระบวนการที่มีการจัดการอย่างเป็นระบบที่ถูกนำมาใช้ในการศึกษารวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงาน เพื่อที่จะได้สารสนเทศของงานนั้นเพียงพอต่อการที่จะนำไปใช้ประโยชน์ในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ โดยสารสนเทศที่ได้จากการวิเคราะห์งานสามารถนำมาจัดหมวดหมู่เพื่อประยุกต์ใช้งานในการจัดการทรัพยากรขององค์การได้ ตั้งแต่เอกสารบรรยายลักษณะงาน เอกสารระบุข้อกำหนดของงาน มาตรฐานการทำงาน และเกณฑ์ในการประเมินค่างาน
ความสัมพันธ์ระหว่างการวิเคราะห์งานกับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรมนุษย์จะพบว่าการวิเคราะห์งานไม่เพียงแต่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมด้านทรัพยากรมนุษย์เท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับกิจกรรมด้านทรัพยากรมนุษย์ในลักษณะอื่นๆ อีกมากมาย จากการนำสารสนเทศที่ได้จากการวิเคราะห์งานไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ขององค์การ มีดังต่อไปนี้

3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
ตอบ = 1. มีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน
                2. จะต้องทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีบรรยากาศของการอบรมที่ไม่เครียด สนุกสนานเพลิดเพลินกับกิจกรรมที่วิทยากรถ่ายทอดและกระตุ้นให้อยากรู้ สร้างการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในห้องเรียนในบรรยากาศของความเป็นกันเอง
                3. วิทยากรจะต้องเป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการทำงาน มีความสามารถในการถ่ายทอด
                4. มีการประเมินความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ความสามารถ ทั้งของวิทยากรและผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ของผู้เข้ารับการฝึกอบรมและการบรรลุเป้าหมายของโครงการฝึกอบรมนั้นด้วย
ส.อ.ศุภกฤต อ่ำช้าง 1193
1. ให้ความหมายของการฝึกอบรม อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
ตอบ มีผู้ให้คำนิยามความหมายของการฝึกอบรมไว้อย่างมากมาย ขึ้นอยู่กับว่ามองการฝึกอบรมจากแนวคิด (Approach) ใด เช่น

เมื่อมองการฝึกอบรม ในฐานะที่เป็นแนวทางในการพัฒนาข้าราชการตามนโยบายของรัฐ "การฝึกอบรม หมายถึง กระบวนการต่าง ๆ ที่ใช้เพื่อช่วยให้ข้าราชการมีความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ และเพื่อให้เกิด ความร่วมมือกันระหว่างข้าราชการในการปฏิบัติงานร่วมกันในองค์การ" หรือ
การฝึกอบรม คือ " การถ่ายทอดความรู้เพื่อเพิ่มพูนทักษะ ความชำนาญ ความสามารถ และทัศนคติในทางที่ถูกที่ควร เพื่อช่วยให้การปฏิบัติงานและภาระหน้าที่ต่าง ๆ ในปัจจุบันและอนาคตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และ..ไม่ว่าการฝึกอบรม จะมีขึ้นที่ใดก็ตามวัตถุประสงค์ก็คือ เป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงาน หรือเพิ่มขีดความสามารถในการจัดรูปขององค์การ
ในระยะหลัง เรามักจะมองการฝึกอบรมในเชิงของกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันสืบเนื่องมาจากเรียนรู้ การฝึก อบรมจึงหมายถึง " กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างมีระบบ เพื่อให้บุคคลมีความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถที่จำเป็น และมีทัศนคติที่ดีสำหรับการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่งของหน่วยงานหรือองค์การนั้น และ การฝึกอบรม คือ "กระบวนการในอันที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ และความชำนาญ ในเรื่องหนึ่งเรื่องใด และเปลี่ยนพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
จะเห็นได้ว่า ความหมายของการฝึกอบรมมีมากมาย ขึ้นอยู่กับว่าจะพิจารณาจากแนวคิด (Approach)ใดที่เกี่ยวกับ การฝึกอบรม ทั้งนี้ มีแนวคิดและทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวกับการฝึกอบรม

ประโยชน์ของการฝึกอบรม

1.บุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานให้ดียิ่งขึ้น และสร้างผลสำเร็จได้ดียิ่งขึ้น
2.องค์กรมีองค์ความรู้ใหม่ๆ เกิดขึ้น เป็นประโยชน์ต่อการทำงานขององค์กร
3.องค์กรมีทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ไม่สะเปะสะปะ ไปถึงเป้าหมายได้ง่ายขึ้น
4.สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรได้
5.สามารถช่วยลดต้นทุนในการประกอบการได้ เนื่องจากการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
6.พนักงานมีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา

2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
ตอบ การวิเคราะห์งาน หมายถึง กระบวนการกำหนดลักษณะขอบเขตของงานต่าง ๆ ทั้งนี้โดยมีการสำรวจและศึกษา เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานที่ผู้ทำงานจำต้องมีอยู่อย่างครบถ้วน คือ ทั้งในแง่ความชำนาญที่ต้องการ (skills), ความรู้ที่ต้องใช้ (knowledges) ความสามารถที่ต้องมี (abilities) และความรับผิดชอบที่ต้องมีอยู่ (responsibilities) ซึ่งจะช่วยให้พนักงานสามารถทำงานจนสำเร็จผลลงได้ และข้อมูลต่าง ๆ เหล่านี้ที่วิเคราะห์ขึ้นมาสำหรับแต่ละงาน ในที่สุดก็จะชี้ให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างงานต่าง ๆ ด้วย

ประโยชน์โดยรวมการจากวิเคราะห์งาน

1.ช่วยในการวางแผนอัตรากำลัง (Manpower Planning)

2.ช่วยในการสรรหาและคัดเลือกบุคลกร (Recruitment & Selection)

3.ช่วยในการฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร (Training & Development)

4.ช่วยในการวัดผลและประเมินผลการปฎิบัติงาน (Performance Evaluation)

5.ช่วยในการกำหนดค่าตอบแทนที่เหมาะสม (Compensation)

6.ช่วยในการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน (Safety Reinforcement)

7.ช่วยในการออกแบบงาน (Job Design)

8.เป็นเครื่องมือในการบริหาร (Management)

9.เป็นมาตรฐานในการทำงานในแต่ละตำแหน่ง (Job Standard)

10.สามารถจัดบุคลากรให้เหมาะสมกับความสามารถ (Put the right man on the right job)

11.นำไปใช้ในการจัดทำความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path)

3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
ตอบ การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมนั้น มีการปรับปรุงอัตราความพึงพอใจของลูกค้า ลดเวลาในส่งมอบการบริการ ปรับปรุงขวัญและกำลังใจของพนักงานผ่านการดูแลของผู้บริหาร ปรับปรุงความรวดเร็วในการกรอกข้อมูลการสั่งซื้อ และมีการเชื่อมผลลัพธ์ที่ต้องการกับพฤติกรรมของพนักงาน มีการกำหนดสมรรถนะขีดความสามารถความรู้ ทักษะ คุณภาพ และ ความรู้ที่เข้ากับผลลัพธ์ที่ต้องการ และรวบรวมข้อมูลด้านต่างๆเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และได้จัดให้มีการประเมินสมรรถนะความสามารถในปัจจุบัน เปรียบเทียบกับ ความสามารถที่ต้องการ การประเมินทำได้โดยการประเมินผลการปฏิบัติงาน แบบทดสอบ แบบสำรวจ ประเมินตนเอง สอบถาม ข้อมูลสะท้อนกลับจากลูกค้า
สิบเอก จักรภาพ กุดถวิล รหัส 65423471188
1. ให้ความหมายของการฝึกอบรม อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
ตอบ เป็นกระบวนการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานเฉพาะด้านของบุคคลโดยมุ่งเพิ่มพูนความรู้ทักษะและทัศนคติอันจะนำไปสู่การยกมาตรฐานการทำงานหสูงขึ้น ทำให้บุคคลมีความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงานและองค์การบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ เป็นแผนซึ่งบุคคลหรือองค์กรตัดสินใจกำหนด
2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
ตอบ การวิเคราะห์งาน เป็นกระบวนการที่มีการจัดการอย่างเป็นระบบซึ่งถูกนามาใช้ในการศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงาน เพื่อที่จะได้สารสนเทศของงานนั้น เพียงพอต่อการที่จะนาไปใช้ ประโยชน์ในการทากิจกรรมอื่นในอนาคต การวิเคราะห์งานเป็นกิจกรรมที่มีความเกี่ยวข้องกับกิจกรรมอื่นทั้ง ด้านทรัพยากรบุคคลและหน้าที่อื่นของหน่วยงาน จะเห็นว่าการวิเคราะห์งานเป็นเสมือนแหล่งต้นทางของข้อมูล ที่จะนาไปใช้ในหัวข้ออื่น เช่น การสรรหาและการคัดเลือก การจ่ายค่าตอบแทน และการฝึกอบรม เป็นต้น ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่และความรับผิดชอบของนักวิเคราะห์งานที่จะต้องทาการวิเคราะห์งานด้วยความรอบคอบ และถูกหลักการ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่งานอื่นอย่างเต็มที่
ข้อมูลจากการวิเคราะห์งานใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ อีกหลายลักษณะ เช่น
1. ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารงานและการวางแผนหน่วยงาน
2. ใช้เป็นข้อมูลประกอบในการออกแบบเครื่องมือเครื่องใช้ในการทางานที่เหมาะสมกับ
ลักษณะงานและสรีระของผู้ใช้ หรือการออกแบบงานตามหลัก “กายศาสตร์ (Ergonomics)”
3. ใช้เป็นข้อมูลประกอบในการแนะแนวอาชีพ (Vocational Counseling) ให้เหมาะสม
แก่ลักษณะงานทางร่างกาย จิตใจ และสภาพความพร้อมของแต่ละบุคลากร
4. ใช้ระกอบการให้คาปรึกษาและแนะแนวอาชีพแก่นักศึกษาและบุคคลทั่วไป
3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
ตอบ ขอยกตัวอย่างดังนี้
1. การกำหนดปัญหาหรือความต้องการ เพื่อระบุสภาพปัญหาหรือความต้องการ
2.การกำหนดวัตถุประสงค์
3.การกำหนดทางเลือกในกาปฎิบัติ
4. การกำหนดประโยชน์ของโครงการ
5.การกำหนดทรัพยากรต่างๆ เป็นต้น
ส.ท.กฤษฎากรณ์ บุญแก้ว 1169
1 ตอบ บุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานให้ดียิ่งขึ้น และสร้างผลสำเร็จได้ดียิ่งขึ้น องค์กรมีองค์ความรู้ใหม่ๆ เกิดขึ้น เป็นประโยชน์ต่อการทำงานขององค์กร องค์กรมีทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ไม่สะเปะสะปะ ไปถึงเป้าหมายได้ง่ายขึ้น สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรได้
2 ตอบ การวิเคราะห์งานคือกระบวนการแรกก่อนที่จะมีการบรรยายลักษณะงาน (Job Description) ซึ่งประกอบไปด้วยขั้นตอนในการวิเคราะห์บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของตำแหน่งงานต่างๆ
ผลลัพธ์ที่ได้จากการวิเคราะห์งานก็คือ คำบรรยายลักษณะงาน (Job Description) และคำบรรยายคุณสมบัติของงาน (Jobการ Specification)
ความสำคัญของการวิเคราะห์งานนั้นช่วยให้การประสานงานเป็นไปอย่างเรียบร้อย และทำให้พนักงานตำแหน่งต่างๆรู้หน้าที่ของตัวเองเป็นอย่างดี
3 ตอบ 1 วิเคราะห์เป้าหมายของหน่วยงาน (Organization Analysis) การอบรมเน้นที่ไหนของหน่วยงาน และ ปัจจัยอะไรที่จะมีผลกระทบต่อการอบรม เช่น หน่วยงานมีเป้าหมายนำเรื่องการประเมินผลการปฏิบัติงานด้วยการวัดสมรรถนะขีดความสามารถ (Competency) มาใช้ หรือ หน่วยงานมีเป้าหมายที่จะผ่านการประเมินและได้ใบประกาศ GMP ในปี 2561 ดังนั้นฝ่ายบุคคลต้องจัดการอบรมให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องในแต่ละระดับ

2 วิเคราะห์งาน (Job Analysis) การวิเคราะห์งานประกอบด้วยเรื่อง ความรู้ ความสามารถ ทักษะ คุณลักษณะอื่น ๆ เราจะอบรมเรื่องอะไรที่จะช่วยให้พนักงานทำงานได้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด เป็นการอบรมเพื่อพัฒนากระบวนการการทำงาน เช่น ลดของเสียในสายการผลิต ลดความสูญเปล่าในหน่วยงาน เป็นต้น ลดความล่าช้า ลดอุบัติเหตุ เป็นต้น

3 ตัวบุคลากร (Person Analysis) ใครควรได้รับการอบรม และ อบรมเรื่องอะไร โดยเราจะทราบว่าใคร อบรมเรื่องอะไร เป็นผลจากการประเมินผลการปฏิบัติงาน หรือ จากการประเมินสมรรถนะขีดความสามารถ และ/หรือ เกิดจากความต้องการของพนักงาน ด้วยการใช้แบบสอบ หรือ การสัมภาษณ์ถามพนักงาน

จากประสบการณ์ของผู้เขียนในฐานะเป็นวิทยากร หน่วยงานที่เชิญบรรยาย มักไม่มีข้อมูลวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมที่ชัดเจน ไม่ได้หาความจำเป็นในการฝึกอบรม เวลาถามอะไรจึงไม่มีข้อมูลที่แน่นอนมาคุยกับวิทยากร การออกแบบหลักสูตรฝึกอบรมก็มักเชื่อตามวิทยากร ที่สำคัญหลายหน่วยงานจัดอบรมเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดเท่านั้น จึงขาดการประเมินผลหลังการอบรม
1.ให้ความหมายของการฝึกอบรม อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
📌การฝึกอบรม หมายถึง กระบวนการต่าง ๆ ที่ใช้เพื่อช่วยให้ข้าราชการมีความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ และเพื่อให้เกิด ความร่วมมือกันระหว่างข้าราชการในการปฏิบัติงานร่วมกันในองค์การ” หรือ การฝึกอบรม คือ “ การถ่ายทอดความรู้เพื่อเพิ่มพูนทักษะ ความชำนาญ ความสามารถ และทัศนคติในทางที่ถูกที่ควร เพื่อช่วยให้การปฏิบัติงานและภาระหน้าที่ต่าง ๆ
ประโยชน์ของการฝึกอบรม
1.บุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานให้ดียิ่งขึ้น และสร้างผลสำเร็จได้ดียิ่งขึ้น
2.องค์กรมีองค์ความรู้ใหม่ๆ เกิดขึ้น เป็นประโยชน์ต่อการทำงานขององค์กร
3.องค์กรมีทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ไม่สะเปะสะปะ ไปถึงเป้าหมายได้ง่ายขึ้น
4.สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรได้
5.สามารถช่วยลดต้นทุนในการประกอบการได้ เนื่องจากการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
6.พนักงานมีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา
2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
📌เป็นกระบวนการตรวจสอบความจำเป็นที่จะให้มีการจัดฝึกอบรมเพื่อให้การฝึกอบรมนั้นสอดคล้องกับความต้องการของผู้เข้าร่วมอบรมหรือองค์กรและเกิดประโยชน์สูงสุดขั้นตอนการวิเคราะห์ความจำเป็นในการฝึกอบรมส่วนใหญ่นิยมใช้กัน ได้แก่ วิเคราะห์ความต้องการขององค์กร วิเคราะห์ภาระหน้าที่ การทำแบบสำรวจความจำเป็นในการฝึกอบรมประจำปี วิเคราะห์บุคคล ความรู้ประสบการณ์ ทักษะ
ประโยชน์โดยรวมการจากวิเคราะห์งาน
1.ช่วยในการวางแผนอัตรากำลัง (Manpower Planning)
2.ช่วยในการสรรหาและคัดเลือกบุคลกร (Recruitment & Selection)
3.ช่วยในการฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร (Training & Development)
4.ช่วยในการวัดผลและประเมินผลการปฎิบัติงาน (Performance Evaluation)
5.ช่วยในการกำหนดค่าตอบแทนที่เหมาะสม (Compensation)
6.ช่วยในการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน (Safety Reinforcement)
7.ช่วยในการออกแบบงาน (Job Design)
8.เป็นเครื่องมือในการบริหาร (Management)
9.เป็นมาตรฐานในการทำงานในแต่ละตำแหน่ง (Job Standard)
10.สามารถจัดบุคลากรให้เหมาะสมกับความสามารถ (Put the right man on the right job)
11.นำไปใช้ในการจัดทำความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path)
3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
1.ระบุผลลัพธ์ของการอบรม
ปรับปรุงอัตราความพึงพอใจของลูกค้า
ลดเวลาในส่งมอบการบริการ
ปรับปรุงขวัญและกำลังใจของพนักงานผ่านการดูแลของผู้บริหาร
ปรับปรุงความรวดเร็วในการกรอกข้อมูลการสั่งซื้อ
2.เชื่อมผลลัพธ์ที่ต้องการกับพฤติกรรมของพนักงาน
กำหนดสมรรถนะขีดความสามารถ (ความรู้ ทักษะ คุณภาพ และ ความรู้ที่เข้ากับผลลัพธ์ที่ต้องการ)
เก็บข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะห์สมรรถนะที่มีปัญหาอันจะทำให้ไม่บรรลุเป้าหมายทางธุรกิจที่กำหนด
ทักษะด้านไหนที่ต้องการเพื่อให้เป้าหมายสำเร็จ?
ข้อมูลที่จำเป็นเพื่อให้การทำงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์?
พฤติกรรมที่จะเป็นผลลบต่อความสำเร็จในงานที่ทำคือะไร?
3) บ่งชี้ความสามารถที่ต้องฝึกอบรม อันจำทำให้งานนั้น ๆ สำเร็จได้
4) ประเมินสมรรถนะความสามารถในปัจจุบัน เปรียบเทียบกับ ความสามารถที่ต้องการ การประเมินทำได้โดยการประเมินผลการปฏิบัติงาน แบบทดสอบ แบบสำรวจ ประเมินตนเอง สอบถาม ข้อมูลสะท้อนกลับจากลูกค้า เป็นต้น
1.ให้ความหมายของการฝึกอบรม อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
📌การฝึกอบรม หมายถึง กระบวนการต่าง ๆ ที่ใช้เพื่อช่วยให้ข้าราชการมีความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ และเพื่อให้เกิด ความร่วมมือกันระหว่างข้าราชการในการปฏิบัติงานร่วมกันในองค์การ” หรือ การฝึกอบรม คือ “ การถ่ายทอดความรู้เพื่อเพิ่มพูนทักษะ ความชำนาญ ความสามารถ และทัศนคติในทางที่ถูกที่ควร เพื่อช่วยให้การปฏิบัติงานและภาระหน้าที่ต่าง ๆ
ประโยชน์ของการฝึกอบรม
1.บุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานให้ดียิ่งขึ้น และสร้างผลสำเร็จได้ดียิ่งขึ้น
2.องค์กรมีองค์ความรู้ใหม่ๆ เกิดขึ้น เป็นประโยชน์ต่อการทำงานขององค์กร
3.องค์กรมีทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ไม่สะเปะสะปะ ไปถึงเป้าหมายได้ง่ายขึ้น
4.สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรได้
5.สามารถช่วยลดต้นทุนในการประกอบการได้ เนื่องจากการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
6.พนักงานมีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา
2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
📌เป็นกระบวนการตรวจสอบความจำเป็นที่จะให้มีการจัดฝึกอบรมเพื่อให้การฝึกอบรมนั้นสอดคล้องกับความต้องการของผู้เข้าร่วมอบรมหรือองค์กรและเกิดประโยชน์สูงสุดขั้นตอนการวิเคราะห์ความจำเป็นในการฝึกอบรมส่วนใหญ่นิยมใช้กัน ได้แก่ วิเคราะห์ความต้องการขององค์กร วิเคราะห์ภาระหน้าที่ การทำแบบสำรวจความจำเป็นในการฝึกอบรมประจำปี วิเคราะห์บุคคล ความรู้ประสบการณ์ ทักษะ
ประโยชน์โดยรวมการจากวิเคราะห์งาน
1.ช่วยในการวางแผนอัตรากำลัง (Manpower Planning)
2.ช่วยในการสรรหาและคัดเลือกบุคลกร (Recruitment & Selection)
3.ช่วยในการฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร (Training & Development)
4.ช่วยในการวัดผลและประเมินผลการปฎิบัติงาน (Performance Evaluation)
5.ช่วยในการกำหนดค่าตอบแทนที่เหมาะสม (Compensation)
6.ช่วยในการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน (Safety Reinforcement)
7.ช่วยในการออกแบบงาน (Job Design)
8.เป็นเครื่องมือในการบริหาร (Management)
9.เป็นมาตรฐานในการทำงานในแต่ละตำแหน่ง (Job Standard)
10.สามารถจัดบุคลากรให้เหมาะสมกับความสามารถ (Put the right man on the right job)
11.นำไปใช้ในการจัดทำความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path)
3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
1.ระบุผลลัพธ์ของการอบรม
ปรับปรุงอัตราความพึงพอใจของลูกค้า
ลดเวลาในส่งมอบการบริการ
ปรับปรุงขวัญและกำลังใจของพนักงานผ่านการดูแลของผู้บริหาร
ปรับปรุงความรวดเร็วในการกรอกข้อมูลการสั่งซื้อ
2.เชื่อมผลลัพธ์ที่ต้องการกับพฤติกรรมของพนักงาน
กำหนดสมรรถนะขีดความสามารถ (ความรู้ ทักษะ คุณภาพ และ ความรู้ที่เข้ากับผลลัพธ์ที่ต้องการ)
เก็บข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะห์สมรรถนะที่มีปัญหาอันจะทำให้ไม่บรรลุเป้าหมายทางธุรกิจที่กำหนด
ทักษะด้านไหนที่ต้องการเพื่อให้เป้าหมายสำเร็จ?
ข้อมูลที่จำเป็นเพื่อให้การทำงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์?
พฤติกรรมที่จะเป็นผลลบต่อความสำเร็จในงานที่ทำคือะไร?
3) บ่งชี้ความสามารถที่ต้องฝึกอบรม อันจำทำให้งานนั้น ๆ สำเร็จได้
4) ประเมินสมรรถนะความสามารถในปัจจุบัน เปรียบเทียบกับ ความสามารถที่ต้องการ การประเมินทำได้โดยการประเมินผลการปฏิบัติงาน แบบทดสอบ แบบสำรวจ ประเมินตนเอง สอบถาม ข้อมูลสะท้อนกลับจากลูกค้า เป็นต้น
ส.ท.อานนท์ณัฏฐ์ จำเนียรทอง 1160 said…
ส.ท.อานนท์ณัฏฐ์ จำเนียรทอง 1160
1. ความหมายของการฝึกอบรม อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
ตอบ การฝึกอบรม คือ กระบวนการที่ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดการเรียนรู้ในรูปแบบหนึ่งหรือพัฒนาสมรรถภาพในด้านต่างๆตลอดจนการปรับปรุงพฤติกรรม ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ข้อปฏิบัติของผู้รับผิดชอบจัดการฝึกอบรม
1. ต้องยอมรับความมีคุณค่าของผู้เข้าอบรมแต่ละคน และจะต้องเคารพในความรู้สึกนึกคิดและความคิดเห็นหรือความเห็นต่าง
2. พยายามทำให้ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักด้วยตนเองว่ามีความจำเป็นที่จะต้องปรับพฤติกรรม (ทั้งด้านความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ และทัศนคติ) และการแก้ปัญหา
3. ควรจัดสิ่งแวดล้อมทางกายภาพให้สะดวกสบาย (เช่น ที่นั่ง อุณหภูมิ แสงสว่าง การถ่ายเทอากาศ ฯลฯ) ให้เอื้อต่อการปฏิสัมพันธ์ในกลุ่มผู้เข้าร่วมอบรม
4. สร้างความสัมพันธ์อันดี ให้เกิดความรู้สึกไว้เนื้อเชื่อใจ และความช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน สนับสนุนให้มีกิจกรรมที่ต้องมีการให้ความร่วมมือร่วมใจกันและกัน หลีกเลี่ยงการแข่งขัน
5. ควรเปิดโอกาสให้ผู้ร่วมอบรมมีส่วนร่วมในเรื่อง ดังต่อไปนี้
6. ช่วยผู้ร่วมอบรมให้รู้จักพัฒนาขั้นตอนและวิธีการในการประเมินตนอง หรือวิเคราะห์และประเมินผลโครงการฝึกอบรมตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้แล้ว

2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
ตอบ การวิเคราะห์งาน หมายถึง กระบวนการ การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานทั้งหมด และนำข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ จัดทำเป็นเอกสารสำหรับตำแหน่งงานแต่ละตำแหน่ง แบ่งเป็นสองส่วนใหญ่ๆ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง ผลการปฏิบัติงานในระดับใดระดับหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็นเกณฑ์ที่น่าพอใจหรืออยู่ในระดับที่ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่ทําได้ โดยจะมีกรอบในการพิจารณากําหนดมาตรฐานหลาย ๆ ด้าน อาทิ เช่น ด้านปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลาค่าใช้จ่าย

3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
ตอบ 1. ระบุผลลัพธ์ของการอบรม
2. เชื่อมผลลัพธ์ที่ต้องการกับพฤติกรรมของพนักงาน
3. เรียงลำดับความสำคัญของความจำเป็นในการฝึกอบรม
Unknown said…
ส.อ.ธรรมนูญ นวนน้ำจิตต์
รหัสนักศึกษา 65423471179

1. ให้ความหมายของการฝึกอบรม  อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
ตอบ การฝึกอบรม หมายถึง กระบวนการอย่างหนึ่งในการพัฒนาองค์การโดยอาศัยการดำเนินงานอย่างเป็นขั้นตอน มีการวางแผนที่ดี และเป็นการกระทำ
ที่ต่อเนื่อง โดยไม่มีการหยุดยั้ง ซึ่งการกระทำทั้งหมดก็เพื่อความมุ่งหมายในการเพิ่มพูนความรู้

บทบาทของการฝึกอบรม
1.เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับพนักงาน ทั้งองค์ความรู้พื้นฐานไปจนถึงองค์ความรู้ใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาศักยภาพบุคคล
2.ปรับระบบการทำงานขององค์กรให้มีทิศทางเดียวกัน
3.เพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรให้สามารถแข่งขันกับคนอื่นๆ หรือบริษัทคู่แข่งได้
4.เพิ่มศักยภาพขององค์กรให้สูงขึ้น

ประโยชน์ของการฝึกอบรม
1.บุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานให้ดียิ่งขึ้น และสร้างผลสำเร็จได้ดียิ่งขึ้น
2.องค์กรมีองค์ความรู้ใหม่ๆ เกิดขึ้น เป็นประโยชน์ต่อการทำงานขององค์กร
3.องค์กรมีทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ไม่สะเปะสะปะ ไปถึงเป้าหมายได้ง่ายขึ้น
4.สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรได้

2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
ตอบ การวิเคราะห์งาน  คือ กระบวนการที่ใช้ในการวิเคราะห์บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของแต่ละตำแหน่งในองค์กร รวมถึงวิเคราะห์คุณสมบัติที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งงานนั้น ๆ ซึ่งมีปัจจัยประกอบหลายอย่าง เช่น ทักษะที่จำเป็น ความรู้ ความสามารถ และบุคลิกภาพที่เหมาะสม ฯลฯ

มาตรฐานคุณภาพการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย
1.ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์ของงาน ซึ่งอาจเป็นตัวชี้วัดด้านปริมาณ คุณภาพ และระยะเวลา
ค่าใช้จ่ายหรือ พฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงานที่เหมาะสมและสอดคล้องกับกระบวนงานนั้น
2.เกณฑ์การประเมิน เป็นเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงานได้ตามตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์ตามข้อ
โดยกําหนดให้มี 5 ระดับ ได้แก่
ระดับ 1 ต้องปรับปรุง
ระดับ 2 พอใช้
ระดับ 3 ดี
ระดับ 4 ดีมาก
ระดับ 5 ดีเด่น

บทบาทและประโยชน์การวิเคราะห์งานนั้นคือกระบวนการในการวิเคราะห์บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของงานแต่ละตำแหน่ง เพราะฉะนั้นการวิเคราะห์งานจึงมีความสำคัญตรงที่เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การทำงานในแต่ละส่วนชัดเจน การแสดงถึงรายละเอียดที่เกี่ยวกับลักษณะงาน และวิธีการในการปฏิบัติงานในตำแหน่งนั้นๆ ประกอบไปด้วยรายละเอียดดังนี้
-ลักษณะของงาน
-สรุปหน้าที่ของงานคร่าวๆ
-หน้าที่ที่ต้องทำ
-ความสัมพันธ์กับงานหรือตำแหน่งอื่นๆ)
-เครื่องมือ/อุปกรณ์/เครื่องจักร/วัสดุที่ต้องใช้ในการทำงาน)
-เงื่อนไขในการทำงาน)

3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
ตอบ
1.  วัตถุประสงค์ของโครงการฝึกอบรม
การเทคนิคการฝึกอบรมจะต้องคำนึงถึงวัตถุประสงค์ของโครงการฝึกอบรมว่า  ต้องการให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความรู้  หรือทักษะหรือเจตคติ  หรือทั้ง  3  ด้านไปพร้อม ๆ กัน  ถ้าต้องการให้เกิดความรู้เฉพาะอย่างยิ่งความรู้ระดับความจำ  ความเข้าใจ  และมีผู้เข้ารับการอบรมจำมาก  อาจจะใช้เทคนิคการบรรยายได้  แต่ถ้าจะต้องการให้ผู้เข้าฝึกอบรมจำได้แม่นยำและจำได้นานและเข้าใจได้อย่างลึกซึ้งมากยิ่งขึ้นนั้น  อาจจะต้องใช้กิจกรรม  หรือโสตทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ
2.  สอดคล้องกับเนื้อหาสาระในหลักสูตร
ต้องสอดคล้องกับเนื้อหาสาระในหลักสูตร  เพราะเนื้อหาสาระนั้นจะต้องมีความยากง่ายพอเหมาะกับความรู้ความสามารถและต้องมีความต่อเนื่องกับพื้นฐานเดิมของผู้เข้ารับการฝึกอบรมอีกด้วย  โดยปกติแล้วเพื่อหาสาระของหลักสูตรให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการฝึกอบรมแล้วมักจะแบ่งเนื้อหาออกได้เป็นเนื้อหาประเภทข้อเท็จจริง  ความรู้ทั่วไป 
3.  ผู้เข้ารับการอบรม
ในการใช้เทคนิคการฝึกอบรมต้องคำนึงถึงผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นสำคัญ  อันได้แก่  ระดับของความรู้ความสามารถ  ระดับการศึกษา  อายุ  เพศ  และ  จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรมด้วย
ผู้เข้ารับการอบรมที่มีระดับความสามารถและความสามารถและความฉลาดสูงมาก ๆ ชอบที่จะเรียนรู้  และเรียนได้ดีในบรรยายกาศของความเป็นประชาธิปไตยและเป็นกันเองมาก 

4.  ต้องคำนึงถึงจำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม
สำหรับจำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรมก็มีความสำคัญต่อการเลือกใช้เทคนิคกาฝึกอบรมถ้าจำนวนคนมีมากคงจะต้องใช้เทคนิคประเภทยรรยาย  การอ๓ปรายเป็นคณะ  เพราะคงจะไม่สามารถใช้เทคนิคการฝึกอบรมประเภทที่เปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมได้กระทำหรือเรียนโดยอาศัยกระบวนการกลุ่มแต่อย่างใดดังนี้เป็นต้น
5.  ความรู้ความสามารถของวิทยากร
เพราะถ้าวิทยากรขาดความรู้ความสามารถและทักษะในการใช้เทคนิคการฝึกอบรมบางประเภท

1. ให้ความหมายของการฝึกอบรม อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
ตอบ การฝึกอบรม หมายถึง กระบวนการที่ทำให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของบุคคล
โดยมุ่งเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และทัศนคติ อันจะนำไปสู่การยกระดับมาตรฐานและคุณภาพของการทำงานให้สูงขึ้น
ทำให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และองค์การบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้

บทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
1.บุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานให้ดียิ่งขึ้น
และสร้างผลสำเร็จได้ดียิ่งขึ้น
2.องค์กรมีองค์ความรู้ใหม่ๆ เกิดขึ้น เป็นประโยชน์ต่อการทำงานขององค์กร
3.องค์กรมีทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ไม่สะเปะสะปะ ไปถึงเป้าหมายได้ง่ายขึ้น
4.สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรได้
5.สามารถช่วยลดต้นทุนในการประกอบการได้ เนื่องจากการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
6.พนักงานมีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา



2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน

ตอบ
- การวิเคราะห์งาน เป็นการวิเคราะห์ลักษณะของงาน,รายละเอียดของงาน,เนื้องานที่จะต้องปฏิบัติ
- มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง ผลการปฏิบัติงานในระดับใดระดับหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็น เกณฑ์ที่น่าพอใจหรืออยู่ในระดับที่ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่ทําได้ โดยจะมีกรอบในการพิจารณากําหนดมาตรฐาน หลาย ๆ ด้าน อาทิ เช่น ด้านปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลา ค่าใช้จ่าย หรือพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงานที่ เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะงานประเภทนั้น ๆ ด้วย
- บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน การวิเคราะห์งานนั้นคือกระบวนการในการวิเคราะห์บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของงานแต่ละตำแหน่ง เพราะฉะนั้นการวิเคราะห์งานจึงมีความสำคัญตรงที่เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การทำงานในแต่ละส่วนชัดเจน สามารถควบคุมงานให้บรรลุเป้าหมายได้ตามแต่ละขอบเขตของงานที่กำหนด ช่วยในการประสานงานระหว่างแผนกให้สามารถดำเนินไปได้ด้วยดี และทำให้ผู้ดำรงตำแหน่งรู้หน้าที่และความรับผิดชอบของตัวเองเป็นอย่างดี

3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
ตอบ
3.1 วิเคราะห์เป้าหมายของหน่วยงาน (Organization Analysis) การอบรมเน้นที่ไหนของหน่วยงาน และ ปัจจัยอะไรที่จะมีผลกระทบต่อการอบรม เช่น หน่วยงานมีเป้าหมายนำเรื่องการประเมินผลการปฏิบัติงานด้วยการวัดสมรรถนะขีดความสามารถ (Competency) มาใช้
3.2 วิเคราะห์งาน (Job Analysis) การวิเคราะห์งานประกอบด้วยเรื่อง ความรู้ ความสามารถ ทักษะ คุณลักษณะอื่น ๆ เราจะอบรมเรื่องอะไรที่จะช่วยให้พนักงานทำงานได้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด เป็นการอบรมเพื่อพัฒนากระบวนการการทำงาน เช่น ลดของเสียในสายการผลิต ลดความสูญเปล่าในหน่วยงาน เป็นต้น ลดความล่าช้า ลดอุบัติเหตุ เป็นต้น
3.3 ตัวบุคลากร (Person Analysis) ใครควรได้รับการอบรม และ อบรมเรื่องอะไร โดยเราจะทราบว่าใคร อบรมเรื่องอะไร เป็นผลจากการประเมินผลการปฏิบัติงาน หรือ จากการประเมินสมรรถนะขีดความสามารถ และ/หรือ เกิดจากความต้องการของพนักงาน ด้วยการใช้แบบสอบ หรือ การสัมภาษณ์ถามพนักงาน
จ.อ.สมบูรณ์ สุทธิผล รหัสนักศึกษา 1185
1.ให้ความหมายของการฝึกอบรม อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
ตอบ การฝึกอบรม หมายถึง กระบวนการที่ทำให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของบุคคล
โดยมุ่งเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และทัศนคติ อันจะนำไปสู่การยกระดับมาตรฐานและคุณภาพของการทำงานให้สูงขึ้น
ทำให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และองค์การบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้

บทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
1.บุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานให้ดียิ่งขึ้น
และสร้างผลสำเร็จได้ดียิ่งขึ้น
2.องค์กรมีองค์ความรู้ใหม่ๆ เกิดขึ้น เป็นประโยชน์ต่อการทำงานขององค์กร
3.องค์กรมีทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ไม่สะเปะสะปะ ไปถึงเป้าหมายได้ง่ายขึ้น
4.สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรได้
5.สามารถช่วยลดต้นทุนในการประกอบการได้ เนื่องจากการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
6.พนักงานมีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา



2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน

ตอบ
- การวิเคราะห์งาน เป็นการวิเคราะห์ลักษณะของงาน,รายละเอียดของงาน,เนื้องานที่จะต้องปฏิบัติ
- มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง ผลการปฏิบัติงานในระดับใดระดับหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็น เกณฑ์ที่น่าพอใจหรืออยู่ในระดับที่ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่ทําได้ โดยจะมีกรอบในการพิจารณากําหนดมาตรฐาน หลาย ๆ ด้าน อาทิ เช่น ด้านปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลา ค่าใช้จ่าย หรือพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงานที่ เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะงานประเภทนั้น ๆ ด้วย
- บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน การวิเคราะห์งานนั้นคือกระบวนการในการวิเคราะห์บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของงานแต่ละตำแหน่ง เพราะฉะนั้นการวิเคราะห์งานจึงมีความสำคัญตรงที่เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การทำงานในแต่ละส่วนชัดเจน สามารถควบคุมงานให้บรรลุเป้าหมายได้ตามแต่ละขอบเขตของงานที่กำหนด ช่วยในการประสานงานระหว่างแผนกให้สามารถดำเนินไปได้ด้วยดี และทำให้ผู้ดำรงตำแหน่งรู้หน้าที่และความรับผิดชอบของตัวเองเป็นอย่างดี

3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
ตอบ
3.1 วิเคราะห์เป้าหมายของหน่วยงาน (Organization Analysis) การอบรมเน้นที่ไหนของหน่วยงาน และ ปัจจัยอะไรที่จะมีผลกระทบต่อการอบรม เช่น หน่วยงานมีเป้าหมายนำเรื่องการประเมินผลการปฏิบัติงานด้วยการวัดสมรรถนะขีดความสามารถ (Competency) มาใช้
3.2 วิเคราะห์งาน (Job Analysis) การวิเคราะห์งานประกอบด้วยเรื่อง ความรู้ ความสามารถ ทักษะ คุณลักษณะอื่น ๆ เราจะอบรมเรื่องอะไรที่จะช่วยให้พนักงานทำงานได้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด เป็นการอบรมเพื่อพัฒนากระบวนการการทำงาน เช่น ลดของเสียในสายการผลิต ลดความสูญเปล่าในหน่วยงาน เป็นต้น ลดความล่าช้า ลดอุบัติเหตุ เป็นต้น
3.3 ตัวบุคลากร (Person Analysis) ใครควรได้รับการอบรม และ อบรมเรื่องอะไร โดยเราจะทราบว่าใคร อบรมเรื่องอะไร เป็นผลจากการประเมินผลการปฏิบัติงาน หรือ จากการประเมินสมรรถนะขีดความสามารถ และ/หรือ เกิดจากความต้องการของพนักงาน ด้วยการใช้แบบสอบ หรือ การสัมภาษณ์ถามพนักงาน
ส.ท.ณัฐปคัลภ์ รอดสวัสดิ์ 1157
1. ให้ความหมายของการฝึกอบรม อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
-การฝึกอบรม หมายถึง “กระบวนการต่างๆ ที่ใช้เพื่อช่วยให้ข้าราชการมีความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ และเพื่อให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างข้าราชการในการปฏิบัติงานร่วมกันในองค์การ” เมื่อมองการฝึกอบรมในฐานะที่เป็นแนวทางในการพัฒนาข้าราชการตามนโยบายของรัฐหากเป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงานหรือเพิ่มขีดความสามารถในการจัดรูปขององค์การ
-

                1. บุคลากรหรือกลุ่มบุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเนื่องจากได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการทำงานให้ประสบผลสำเร็จ หรือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
                2. การได้ปรึกษาหารือกันในส่วนของผู้เกี่ยวข้องในองค์การ เช่น ผู้เข้ารับการฝึกอบรม หัวหน้างาน ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหารระดับสูงขององค์การ หรือผู้ที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ร่วมกันหาแนวทางในการแก้ปัญหาและการปรับปรุงการทำงาน
                3. ผู้เข้าร่วมการฝึกอบรมได้ยกระดับความรู้และทักษะให้เกิดการปรับทัศนคติ
                4. ช่วยลดระยะเวลาในการเรียนรู้งาน
                5. ช่วยลดภาระหน้าที่ของหัวหน้างาน
                6. ช่วยกระตุ้นบุคลากรให้ปฏิบัติงานเพื่อความก้าวหน้าของตน

- 1. ต้องยอมรับความมีคุณค่าของผู้เข้าอบรมแต่ละคน และจะต้องเคารพในความรู้สึกนึกคิดและความเห็น ตลอดจนประสบการณ์ของผู้เข้าร่วมด้วย
        2. พยายามทำให้ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักด้วยตนเองว่ามีความจำเป็นที่จะต้องปรับพฤติกรรม (ทั้งด้านความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ และทัศนคติ) โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้วยการเรียนรู้หรือการแก้ปัญหา
        3. ควรจัดสิ่งแวดล้อมทางกายภาพให้สะดวกสบาย (เช่น ที่นั่ง อุณหภูมิ แสงสว่าง การถ่ายเทอากาศ ฯลฯ) ให้เอื้อต่อการปฏิสัมพันธ์ในกลุ่มผู้เข้าร่วมอบรม
        4. สร้างความสัมพันธ์อันดี ให้เกิดความรู้สึกไว้เนื้อเชื่อใจ และความช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน สนับสนุนให้มีกิจกรรมที่ต้องมีการให้ความร่วมมือร่วมใจกันและกัน ในขณะเดียวกันควรพยายามหลีกเลี่ยงการแข่งขัน
        5. ควรเปิดโอกาสให้ผู้ร่วมอบรมมีส่วนร่วมในเรื่อง ดังต่อไปนี้
                                     (1) การกำหนดวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้ตามความต้องการของผู้ร่วมอบรม โดยสอดคล้องกับความต้องการขององค์การ ของผู้ดำเนินการอบรม และของเนื้อหาวิชาด้วย
                                     (2) การกำหนดกิจกรรม รวมทั้งการเลือกวัสดุอุปกรณ์ และวิธีการอบรม
                                     (3) การกำหนดมาตรการ เกณฑ์การอบรมซึ่งเป็นที่ยอมรับร่วมกัน รวมทั้งร่วมกันกำหนดเครื่องมือและวิธีการวัดผลความก้าวหน้าเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
         6. ช่วยผู้ร่วมอบรมให้รู้จักพัฒนาขั้นตอนและวิธีการในการประเมินตนอง หรือวิเคราะห์และประเมินผลโครงการฝึกอบรมตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้แล้ว
 

2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
-การวิเคราะห์งาน หมายถึง กระบวนการพิจารณา จาแนกแยกแยะประเมินผลและจัด ข้อมูลต่างๆ เก่ียวกบังานอย่างเป็นระบบ การวิเคราะห์งานจะดาเนินการโดยผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งเรียกว่า นักวิเคราะห์งาน (Job Analyst) นักวิเคราะห์งานมีหน้าที่รวบรวมจาแนกแยกแยะ ประเมินและจัดข้อมูลเกี่ยวกับตาแหน่งต่างๆ ในองค์การ ไม่ใช่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ ตัวบุคคล


3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
- 1. การสัมภาษณ์
- 2.การประชุมกลุ่มย่อย
- 3.การสำรวจด้วยแบบสอบถาม
- 4. การพิจารณาจากข้อมูลรายงานต่าง ๆ ขององค์การ
- 5.การสังเกต
- 6.การใช้วิธีประเมินที่หลากหลาย หรือศูนย์กลางการประเมิน
- 7.การพิจารณาจากเหตุการณ์สำคัญ หรือเหตุการณ์วิกฤติที่เกิดขึ้นในองค์การ
ส.ท.ณัฐปคัลภ์ รอดสวัสดิ์ 1157
1. ให้ความหมายของการฝึกอบรม อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
-การฝึกอบรม หมายถึง “กระบวนการต่างๆ ที่ใช้เพื่อช่วยให้ข้าราชการมีความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ และเพื่อให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างข้าราชการในการปฏิบัติงานร่วมกันในองค์การ” เมื่อมองการฝึกอบรมในฐานะที่เป็นแนวทางในการพัฒนาข้าราชการตามนโยบายของรัฐหากเป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงานหรือเพิ่มขีดความสามารถในการจัดรูปขององค์การ
-

                1. บุคลากรหรือกลุ่มบุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเนื่องจากได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการทำงานให้ประสบผลสำเร็จ หรือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
                2. การได้ปรึกษาหารือกันในส่วนของผู้เกี่ยวข้องในองค์การ เช่น ผู้เข้ารับการฝึกอบรม หัวหน้างาน ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหารระดับสูงขององค์การ หรือผู้ที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ร่วมกันหาแนวทางในการแก้ปัญหาและการปรับปรุงการทำงาน
                3. ผู้เข้าร่วมการฝึกอบรมได้ยกระดับความรู้และทักษะให้เกิดการปรับทัศนคติ
                4. ช่วยลดระยะเวลาในการเรียนรู้งาน
                5. ช่วยลดภาระหน้าที่ของหัวหน้างาน
                6. ช่วยกระตุ้นบุคลากรให้ปฏิบัติงานเพื่อความก้าวหน้าของตน

- 1. ต้องยอมรับความมีคุณค่าของผู้เข้าอบรมแต่ละคน และจะต้องเคารพในความรู้สึกนึกคิดและความเห็น ตลอดจนประสบการณ์ของผู้เข้าร่วมด้วย
        2. พยายามทำให้ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักด้วยตนเองว่ามีความจำเป็นที่จะต้องปรับพฤติกรรม (ทั้งด้านความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ และทัศนคติ) โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้วยการเรียนรู้หรือการแก้ปัญหา
        3. ควรจัดสิ่งแวดล้อมทางกายภาพให้สะดวกสบาย (เช่น ที่นั่ง อุณหภูมิ แสงสว่าง การถ่ายเทอากาศ ฯลฯ) ให้เอื้อต่อการปฏิสัมพันธ์ในกลุ่มผู้เข้าร่วมอบรม
        4. สร้างความสัมพันธ์อันดี ให้เกิดความรู้สึกไว้เนื้อเชื่อใจ และความช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน สนับสนุนให้มีกิจกรรมที่ต้องมีการให้ความร่วมมือร่วมใจกันและกัน ในขณะเดียวกันควรพยายามหลีกเลี่ยงการแข่งขัน
        5. ควรเปิดโอกาสให้ผู้ร่วมอบรมมีส่วนร่วมในเรื่อง ดังต่อไปนี้
                                     (1) การกำหนดวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้ตามความต้องการของผู้ร่วมอบรม โดยสอดคล้องกับความต้องการขององค์การ ของผู้ดำเนินการอบรม และของเนื้อหาวิชาด้วย
                                     (2) การกำหนดกิจกรรม รวมทั้งการเลือกวัสดุอุปกรณ์ และวิธีการอบรม
                                     (3) การกำหนดมาตรการ เกณฑ์การอบรมซึ่งเป็นที่ยอมรับร่วมกัน รวมทั้งร่วมกันกำหนดเครื่องมือและวิธีการวัดผลความก้าวหน้าเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
         6. ช่วยผู้ร่วมอบรมให้รู้จักพัฒนาขั้นตอนและวิธีการในการประเมินตนอง หรือวิเคราะห์และประเมินผลโครงการฝึกอบรมตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้แล้ว
 
2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
-การวิเคราะห์งาน หมายถึง กระบวนการพิจารณา จาแนกแยกแยะประเมินผลและจัด ข้อมูลต่างๆ เก่ียวกบังานอย่างเป็นระบบ การวิเคราะห์งานจะดาเนินการโดยผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งเรียกว่า นักวิเคราะห์งาน (Job Analyst) นักวิเคราะห์งานมีหน้าที่รวบรวมจาแนกแยกแยะ ประเมินและจัดข้อมูลเกี่ยวกับตาแหน่งต่างๆ ในองค์การ ไม่ใช่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ ตัวบุคคล


3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
- 1. การสัมภาษณ์
- 2.การประชุมกลุ่มย่อย
- 3.การสำรวจด้วยแบบสอบถาม
- 4. การพิจารณาจากข้อมูลรายงานต่าง ๆ ขององค์การ
- 5.การสังเกต
- 6.การใช้วิธีประเมินที่หลากหลาย หรือศูนย์กลางการประเมิน
- 7.การพิจารณาจากเหตุการณ์สำคัญ หรือเหตุการณ์วิกฤติที่เกิดขึ้นในองค์การ
จ.อ.วรากร บัวทอง 1117
1. ให้ความหมายของการฝึกอบรม อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
ตอบ การฝึกอบรม คือ กระบวนการที่ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดการเรียนรู้ในรูปแบบหนึ่ง เพื่อเพิ่มพูนหรือพัฒนาสมรรถภาพในด้านต่างๆตลอดจนการปรับปรุงพฤติกรรม อันนำมาซึ่งการแสดงออกที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
บทบาทของการฝึกอบรม
1. รับผิดชอบการออกแบบและพัฒนาโครงการฝึกอบรม
2. จัดทำงบประมาณและบริหารโครงการฝึกอบรม
3. กำหนดมาตรฐาน นโยบายและระเบียบการดำเนินงานของโครงการฝึกอบรม
4. ควบคุมโครงการฝึกอบรมให้ดำเนินตามนโยบายขององค์การ
5. รับผิดชอบเกี่ยวกับการคัดเลือก การพัฒนาและการประเมินผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝึกอบรม
6. เจรจาและทำหน้าที่ตกลงกับบุคคลจากภายนอกองค์การ ซึ่งเข้ามาช่วยเหลือการฝึกอบรม
7. ประเมินผลโครงการฝึกอบรมและรายงานต่อฝ่ายบริหารขององค์การ
8. ประชุมหรือพบปะกับบุคคลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกอบรม ทั้งจากภายในและภายนอกองค์การ
ประโยชน์ของการฝึกอบรม
1 บุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานให้ดียิ่งขึ้น และสร้างผลสำเร็จได้ดียิ่งขึ้น
2 องค์กรมีองค์ความรู้ใหม่ๆ เกิดขึ้น เป็นประโยชน์ต่อการทำงานขององค์กร
3 องค์กรมีทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ไม่สะเปะสะปะ ไปถึงเป้าหมายได้ง่ายขึ้น
4 สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรได้
5 สามารถช่วยลดต้นทุนในการประกอบการได้ เนื่องจากการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
6 พนักงานมีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา

2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน

ตอบ
- การวิเคราะห์งาน เป็นการวิเคราะห์ลักษณะของงาน,รายละเอียดของงาน,เนื้องานที่จะต้องปฏิบัติ
- มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง ผลการปฏิบัติงานในระดับใดระดับหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็น เกณฑ์ที่น่าพอใจหรืออยู่ในระดับที่ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่ทําได้ โดยจะมีกรอบในการพิจารณากําหนดมาตรฐาน หลาย ๆ ด้าน อาทิ เช่น ด้านปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลา ค่าใช้จ่าย หรือพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงานที่ เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะงานประเภทนั้น ๆ ด้วย
- บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน การวิเคราะห์งานนั้นคือกระบวนการในการวิเคราะห์บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของงานแต่ละตำแหน่ง เพราะฉะนั้นการวิเคราะห์งานจึงมีความสำคัญตรงที่เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การทำงานในแต่ละส่วนชัดเจน สามารถควบคุมงานให้บรรลุเป้าหมายได้ตามแต่ละขอบเขตของงานที่กำหนด ช่วยในการประสานงานระหว่างแผนกให้สามารถดำเนินไปได้ด้วยดี และทำให้ผู้ดำรงตำแหน่งรู้หน้าที่และความรับผิดชอบของตัวเองเป็นอย่างดี





3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
ตอบ การฝึกอบรมเป็นกระบวนการอย่างหนึ่งในการพัฒนาโครงการโดยอาศัยการดำเนินงานอย่างเป็นระบบขั้นตอน มีการวางแผนที่ดีและเป็นการกระทำที่ต่อเนื่องโดยไม่มีการหยุดยั้งซึ่งการกระทำทั้งหมดก็เพื่อความมุ่งหมายในการเพิ่มพูนความรู้เนื่องจากความก้าวหน้าอย่างรวกเร็วของวิทยากรในปัจจุบันก่อให้เกิดความจำเป็นที่ทุกคนจะต้องขวนขวายหาความรู้ให้ทันเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและเพิ่มพูนทักษะความชำนาญเพื่อการบรรเทาการสูญเสียอันเกิดจากการทำงานมีด้วยกัน 6 ขั้นตอนคือ
1. ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่องานในตำแหน่งที่บุคลากรปฏิบัติ ข้อมูลที่ศึกษาประกอบด้วย
1.1 ที่บุคลากรปฏิบัติหน้าที่อยู่ เช่น ขนาดขององค์กร นโยบายแผนพัฒนาขยายขนาดขององค์การ หรือเทคโนโลยีที่องค์การจะนำมาใช้
1.2 คุณลักษณะของบุคลากรในองค์การโดยส่วนรวม เช่น คุณภาพในการปฏิบัติงาน ความรู้ ความสามารถ ค่านิยม และพฤติกรรมที่ส่งผลดีต่อองค์การ1.3ทัศนะของฝ่ายบริหารที่มองเห็นความสำคัญของคุณประโยชน์ของการฝึอบรมในทางบวก
1.4.ความต้องการของบุคลากรในองค์การ
2. ศึกษาความต้องการการจัดฝึกอบรม เกี่ยวกับงาน ตาม ตำแหน่ง หน้าที่ ของบุคลากร ข้อมูลที่ศึกษาประกอบด้วย
2.1.ระดับของตำแหน่งหน้าที่ ซึ่งจะบ่งชี้ถึงระดับความรู้ ทักษะหรือเจตคติที่จำเป็นในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน
2.2 บทบาทตามตำแหน่งหน้าที่
3. คาดหมายการเปลี่ยนแปลงที่มีสาเหตุจากงานในตำแหน่งนั้น ๆ เป็นการพิจารณาว่าบุคลากรต้องการอะไร ด้านใด มากน้อยเพียงใด
4.พิจารณาความรู้ทักษะ หรือเจตคติที่จำเป็นต้องฝึกอบรม
5.ตัดสินใจว่าต้องมีการจัดฝึกอบรม
6.พิจารณาความแตกต่างของ คุณสมบัติในตำแหน่งที่องค์กรคาดหวัง กับคุณสมบัติของบุคลากรที่มีอยู่ และวัดระดับความสำคัญของสิ่งที่ต้องฝึกอบรม
Unknown said…
ส.ต.รัฐพล บุตรราช รหัส1168
1. ให้ความหมายของการฝึกอบรม อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
ตอบ การฝึกอบรม หมายถึง “กระบวนการต่างๆ ที่ใช้เพื่อช่วยให้ข้าราชการมีความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ และเพื่อให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างข้าราชการในการปฏิบัติงานร่วมกันในองค์การ” เมื่อมองการฝึกอบรมในฐานะที่เป็นแนวทางในการพัฒนาข้าราชการตามนโยบายของรัฐหากเป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงานหรือเพิ่มขีดความสามารถในการจัดรูปขององค์การ

ประโยชน์ของการฝึกอบรม
1. บุคลากรหรือกลุ่มบุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเนื่องจากได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการทำงานให้ประสบผลสำเร็จ หรือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
2. การได้ปรึกษาหารือกันในส่วนของผู้เกี่ยวข้องในองค์การ เช่น ผู้เข้ารับการฝึกอบรม หัวหน้างาน ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหารระดับสูงขององค์การ หรือผู้ที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ร่วมกันหาแนวทางในการแก้ปัญหาและการปรับปรุงการทำงาน
3. ผู้เข้าร่วมการฝึกอบรมได้ยกระดับความรู้และทักษะให้เกิดการปรับทัศนคติ
4. ช่วยลดระยะเวลาในการเรียนรู้งาน
5. ช่วยลดภาระหน้าที่ของหัวหน้างาน
6. ช่วยกระตุ้นบุคลากรให้ปฏิบัติงานเพื่อความก้าวหน้าของตน
2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
ตอบ การวิเคราะห์งาน หมายถึง กระบวนการ การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานทั้งหมด และนำข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ จัดทำเป็นเอกสารสำหรับตำแหน่งงานแต่ละตำแหน่ง ซึ่งเอกสารของตำแหน่งงานนั้นประกอบไปด้วย สองส่วนใหญ่ๆ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง ผลการปฏิบัติงานในระดับใดระดับหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็นเกณฑ์ที่น่าพอใจหรืออยู่ในระดับที่ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่ทําได้ โดยจะมีกรอบในการพิจารณากําหนดมาตรฐานหลาย ๆ ด้าน อาทิ เช่น ด้านปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลาค่าใช้จ่าย หรือพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงานที่เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะงานประเภทนั้น ๆ
3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
ตอบ การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมนนั้น พิจารณาจากสิ่งแวดล้อมและความต้องการของผู้ที่มาอบรม ว่ามีความสนใจเกี่ยวกับเรื่องใดหรือต้องการอบรมศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับอะไร เมื่อเราได้พิจารณาเกี่ยวกับความต้องการในการอบรมของผู้อบรมแล้วเราจึงมีการวางแผนการจัดการอบรมขึ้นเพื่อตอบโจทย์ผู้คนให้มากที่สุด และเพื่อไม่ให้การอบรมดูน่าเบื่อ จึงควรจัดกิจกรรมที่เสริมสร้างความรู้และความสนุกเข้าไปด้วย เพื่อให้การอบรมเป็นไปตามแบบแผนที่วางไว้ ดังนั้นการพิจารณาการจัดการอบรมนัั้นจึงเป็นปัจจัยสำคัญในการทำกิจกรรมให้ออกมาสมบูรณ์แบบที่สุด
1. ให้ความหมายของการฝึกอบรม อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
ตอบ การฝึกอบรม คือ กระบวนการที่ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดการเรียนรู้ในรูปแบบหนึ่งเพื่อเพิ่มพูนหรือพัฒนาสมรรถภาพในด้านต่างๆตลอดจนการปรับปรุงพฤติกรรม อันนำมาซึ่งการแสดงออกที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ข้อปฏิบัติของผู้รับผิดชอบจัดการฝึกอบรม
- ต้องยอมรับความมีคุณค่าของผู้เข้าอบรมแต่ละคน และจะต้องเคารพในความรู้สึกนึกคิดและความเห็น ตลอดจนประสบการณ์ของผู้เข้าร่วมด้วย
- พยายามทำให้ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักด้วยตนเองว่ามีความจำเป็นที่จะต้องปรับพฤติกรรม (ทั้งด้านความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ และทัศนคติ) โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้วยการเรียนรู้หรือการแก้ปัญหา
- ควรจัดสิ่งแวดล้อมทางกายภาพให้สะดวกสบาย (เช่น ที่นั่ง อุณหภูมิ แสงสว่าง การถ่ายเทอากาศ ฯลฯ) ให้เอื้อต่อการปฏิสัมพันธ์ในกลุ่มผู้เข้าร่วมอบรม
- สร้างความสัมพันธ์อันดี ให้เกิดความรู้สึกไว้เนื้อเชื่อใจ และความช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน สนับสนุนให้มีกิจกรรมที่ต้องมีการให้ความร่วมมือร่วมใจกันและกัน ในขณะเดียวกันควรพยายามหลีกเลี่ยงการแข่งขัน
- ควรเปิดโอกาสให้ผู้ร่วมอบรมมีส่วนร่วมในเรื่อง ดังต่อไปนี้
- ช่วยผู้ร่วมอบรมให้รู้จักพัฒนาขั้นตอนและวิธีการในการประเมินตนอง หรือวิเคราะห์และประเมินผลโครงการฝึกอบรมตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้แล้ว

2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน

ตอบ
- การวิเคราะห์งาน เป็นการวิเคราะห์ลักษณะของงาน,รายละเอียดของงาน,เนื้องานที่จะต้องปฏิบัติ
- มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง ผลการปฏิบัติงานในระดับใดระดับหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็น เกณฑ์ที่น่าพอใจหรืออยู่ในระดับที่ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่ทําได้ โดยจะมีกรอบในการพิจารณากําหนดมาตรฐาน หลาย ๆ ด้าน อาทิ เช่น ด้านปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลา ค่าใช้จ่าย หรือพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงานที่ เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะงานประเภทนั้น ๆ ด้วย
- บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน การวิเคราะห์งานนั้นคือกระบวนการในการวิเคราะห์บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของงานแต่ละตำแหน่ง เพราะฉะนั้นการวิเคราะห์งานจึงมีความสำคัญตรงที่เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การทำงานในแต่ละส่วนชัดเจน สามารถควบคุมงานให้บรรลุเป้าหมายได้ตามแต่ละขอบเขตของงานที่กำหนด ช่วยในการประสานงานระหว่างแผนกให้สามารถดำเนินไปได้ด้วยดี และทำให้ผู้ดำรงตำแหน่งรู้หน้าที่และความรับผิดชอบของตัวเองเป็นอย่างดี





3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
ตอบ การฝึกอบรมเป็นกระบวนการอย่างหนึ่งในการพัฒนาโครงการโดยอาศัยการดำเนินงานอย่างเป็นระบบขั้นตอน มีการวางแผนที่ดีและเป็นการกระทำที่ต่อเนื่องโดยไม่มีการหยุดยั้งซึ่งการกระทำทั้งหมดก็เพื่อความมุ่งหมายในการเพิ่มพูนความรู้เนื่องจากความก้าวหน้าอย่างรวกเร็วของวิทยากรในปัจจุบันก่อให้เกิดความจำเป็นที่ทุกคนจะต้องขวนขวายหาความรู้ให้ทันเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและเพิ่มพูนทักษะความชำนาญเพื่อการบรรเทาการสูญเสียอันเกิดจากการทำงานมีด้วยกัน 6 ขั้นตอนคือ
1. ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่องานในตำแหน่งที่บุคลากรปฏิบัติ ข้อมูลที่ศึกษาประกอบด้วย
1.1 ที่บุคลากรปฏิบัติหน้าที่อยู่ เช่น ขนาดขององค์กร นโยบายแผนพัฒนาขยายขนาดขององค์การ หรือเทคโนโลยีที่องค์การจะนำมาใช้
1.2 คุณลักษณะของบุคลากรในองค์การโดยส่วนรวม เช่น คุณภาพในการปฏิบัติงาน ความรู้ ความสามารถ ค่านิยม และพฤติกรรมที่ส่งผลดีต่อองค์การ1.3ทัศนะของฝ่ายบริหารที่มองเห็นความสำคัญของคุณประโยชน์ของการฝึอบรมในทางบวก
1.4.ความต้องการของบุคลากรในองค์การ
2. ศึกษาความต้องการการจัดฝึกอบรม เกี่ยวกับงาน ตาม ตำแหน่ง หน้าที่ ของบุคลากร ข้อมูลที่ศึกษาประกอบด้วย
2.1.ระดับของตำแหน่งหน้าที่ ซึ่งจะบ่งชี้ถึงระดับความรู้ ทักษะหรือเจตคติที่จำเป็นในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน
2.2 บทบาทตามตำแหน่งหน้าที่
3. คาดหมายการเปลี่ยนแปลงที่มีสาเหตุจากงานในตำแหน่งนั้น ๆ เป็นการพิจารณาว่าบุคลากรต้องการอะไร ด้านใด มากน้อยเพียงใด
4.พิจารณาความรู้ทักษะ หรือเจตคติที่จำเป็นต้องฝึกอบรม
5.ตัดสินใจว่าต้องมีการจัดฝึกอบรม
6.พิจารณาความแตกต่างของ คุณสมบัติในตำแหน่งที่องค์กรคาดหวัง กับคุณสมบัติของบุคลากรที่มีอยู่ และวัดระดับความสำคัญของสิ่งที่ต้องฝึกอบรม
ส.ท.ชินดนัย แปรชน รหัสนักศึกษา 1164
1.ตอบการฝึกอบรม หมายถึง การจัดการอย่างเป็น ระบบในการจัดกระบวนการเรียนรู้ในลักษณะต่างๆ เพื่อ สร้างความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สำหรับใช้ในการทำงานใน ปัจจุบันและอนาคต
ซึ่งสอดคล้องงกับเรย์มอนด์ ที่กล่าวว่า การฝึกอบรม หมายถึง โครงการที่บริษัทจัดขึ้นเพื่อสร้างสมรรถนะให้กับพนักงานสมรรถนะดังกล่าวได้แก่ความรู้ ทักษะและพฤติกรรมที่มีความสำคัญและมีความความจำเป็นต่อการปฏิบัติงานให้ประสบความสำเร็จ
กล่าวโดยสรุป การฝึกอบรม หมายถึง กระบวนการอย่างเป็นระบบที่องค์กรจัดข้ึนเพื่อสร้าง ความรู้ ทักษะประสบการณ์ ความสามารถในการทำงาน และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมรวมทั้งทัศนคติที่ไม่ พึงประสงค์ของพนักงาน เพื่อให้พนักงานมีคุณภาพและ มีสมรรถนะตามที่องค์กรคาดหวัง ซึ่งจะช่วยให้สามารถ ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมายของ องค์กรต่อไป
การฝึกอบรมเป็นกระบวนการพัฒนาความ รู้และทักษะให้พนักงานมีความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งช่วยให้สามารถ ทำงานในปัจจุบันได้และเตรียมพนักงานที่จะะพบกับความ เปลี่ยนแปลงที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ซึ่งเกิดขึ้นกับงาน ที่ทำเนื่องจากมีการปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์งานในยุคใหม่จึงต้องใช้สมองมากกว่าแรงงานเพราะถูกแทนที่
ด้วยเครื่องจักร อย่างไรก็ตามการฝึกอบรมคือโอกาส สำหรับการเรียนรู้ซึ่งจะเกิดข้ึนได้โดยอาศัยปัจจัยต่างๆ หลายอย่าง เช่น การใช้แนวคิดสมรรถนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับการฝึกอบรม การจูงใจรูปแบบการ เรียนและความร่วมมือของพนักงานรวมทั้งบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ขององค์กร
2. ตอบ ทักษะ (Skills) หมายถึงสิ่งที่บุคคลรูและสามารถ ทำได้เป็นอย่างดีและฝึกปฏิบัติเป็นประจำจนเกิดความชำนาญ เช่น ทักษะการฟัง ทักษะการอ่าน ทักษะการใช้ คอมพิวเตอร์ ทักษะการใช้เครื่องจักร เป็นต้น
ความรู้ (Knowledge) หมายถึงที่บุคคลรู้และเข้าใจในหลักการแนวคิดเฉพาะด้าน เช่น มีความรู้ด้าน คณิตศาสตร์ ความรู้ด้านบัญชี การตลาด ความรู้เก่ียว กับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้น
ส่วนที่ซ่อนอยู่ภายในแต่ละบุคคลซึ่งมองหรือ สังเกตเห็นได้ยาก ได้แก่
มโนทัศน์เกี่ยวกับตนเอง (Self-concept) หมายถึง แนวคิดและความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ ของตนเอง เช่น มองตนเองว่ามีความเป็นผู้นำ เป็น ศิลปิน รวมถึงมีเจตคติ (Attitudes) มีความเชื่อ ค่านิยม (Value)
บุคลิกลักษณะประจำตัวของบุคคล (Traits) หมายถงึ สอ่งที่บอกถึงอุปนิสัยและบุลคลิกลักษณะ เช่นเป็นคนที่เอื้ออาทรต่อผู้อื่น เป็นคนใจเย็น เป็นคนอ่อนน้อม ถ่อมตน เป็นต้น
แรงจูงใจ (Motive) หมายถึง แรงกระตุ้นหรือ พลังขับเคลื่อนที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของแต่ละบุคคลซึ่ง จะทำให้แสดงพฤติกรรมหรือการกระทำ เช่น บุคคลที่มุ่ง ผลสำเร็จจะตั้งเป้าหมายที่ท้าทายและแสดงความพยายามทำงานตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ให้สำเร็จ
3.ตอบ การวิเคราะหง์าน (Job or Task Analysis) คือ กระบวนการศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับข้ัน ตอนการปฏอยัติงานโดยเป็นการวิเคราะห์ภารกิจ(task analysis) ซึ่งจะบ่งชี้ส่วนประกอบของงานหนึ่งๆ เกี่ยวกับลักษณะงานที่จะต้องปฏิบัติส่วนที่สองคือ การวิเคราะห์คุณสมบัติ เพื่อค้นหาว่าพนักงานจำเป็น ต้องใช้ความรู้ (knowledge) ทักษะ (skills) หรือมี ทัศนคติต่องาน (attitudes) อะไรบ้าง ที่จำเป็นสำหรับ การปฏิบัติงาน ผลที่ได้รับจากการวิเคราะห์ขั้นตอนนี้คือ จะทำให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับภารกิจและคุณสมบัติที่มีความ สำคัญต่อการปฏิบัติงานข้อมูลเหล่านี้จะเป็นเสมือน แผนที่ซึ่งจะนำทางไปสู่การออกแบบและพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรม เพื่อให้การฝึกอบรมน้ันสอดคล้องและ ตอบสนองต่อความต้องการขององค์การและพนักงาน รวมทั้งสมรรถนะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมรรถนะในงาน (functional competency) เนื่องจากเป็นความสามารถเฉพาะด้านของแต่ละงานที่แตกต่างกัน

ส.อ.วรพล ศรีโภคา 1186
ให้ความหมายของการฝึกอบรม อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
การฝึกอบรม คือ กระบวนการที่ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดการเรียนรู้ในรูปแบบหนึ่ง เพื่อเพิ่มพูนหรือพัฒนาสมรรถภาพในด้านต่างๆตลอดจนการปรับปรุงพฤติกรรม อันนำมาซึ่งการแสดงออกที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
บทบาทของการฝึกอบรม
1. รับผิดชอบการออกแบบและพัฒนาโครงการฝึกอบรม
2. จัดทำงบประมาณและบริหารโครงการฝึกอบรม
3. กำหนดมาตรฐาน นโยบายและระเบียบการดำเนินงานของโครงการฝึกอบรม
4. ควบคุมโครงการฝึกอบรมให้ดำเนินตามนโยบายขององค์การ
5. รับผิดชอบเกี่ยวกับการคัดเลือก การพัฒนาและการประเมินผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝึกอบรม
6. เจรจาและทำหน้าที่ตกลงกับบุคคลจากภายนอกองค์การ ซึ่งเข้ามาช่วยเหลือการฝึกอบรม
7. ประเมินผลโครงการฝึกอบรมและรายงานต่อฝ่ายบริหารขององค์การ
8. ประชุมหรือพบปะกับบุคคลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกอบรม ทั้งจากภายในและภายนอกองค์การ

2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
คือการกำหนดลักษณะขอบเขตของงานต่างๆ ทั้งนี้โดยมีการสำรวจและศึกษา เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานที่ผู้ทำงานจำต้องมีอยู่อย่างครบถ้วน คือ ทั้งในแง่ความชำนาญที่ต้องการความรู้ที่ต้องใช้ความสามารถที่ต้องมี และความรับผิดชอบที่ต้องมีอยู่ซึ่งจะช่วยให้พนักงานสามารถทำงานจนสำเร็จผลลงได้ และข้อมูลต่างๆเหล่านี้ ที่จะวิเคราะห์ขึ้นมาสำหรับแต่ละงานในที่สุดก็จะชี้ให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างงานต่างๆ นั้นด้วย แล้วมาตรฐานในการปฏิบัติงานนั้น ก็คือเป็นการปฏิบัติงานและการให้บริการในระดับใดระดับหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็นเกณฑ์ที่ น่าพอใจ หรืออยู่ในระดับที่ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่สามารถทำได้ โดยจะมีกรอบในการพิจารณากำหนดมาตรฐานหลายด้าน เช่น ด้านปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลา ค่าใช้จ่าย หรือพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงาน
3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมนั้น มีการปรับปรุงอัตราความพึงพอใจของลูกค้า ลดเวลาในส่งมอบการบริการ ปรับปรุงขวัญและกำลังใจของพนักงานผ่านการดูแลของผู้บริหาร ปรับปรุงความรวดเร็วในการกรอกข้อมูลการสั่งซื้อ และมีการเชื่อมผลลัพธ์ที่ต้องการกับพฤติกรรมของพนักงาน มีการกำหนดสมรรถนะขีดความสามารถความรู้ ทักษะ คุณภาพ และ ความรู้ที่เข้ากับผลลัพธ์ที่ต้องการ และรวบรวมข้อมูลด้านต่างๆเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และได้จัดให้มีการประเมินสมรรถนะความสามารถในปัจจุบัน เปรียบเทียบกับ ความสามารถที่ต้องการ การประเมินทำได้โดยการประเมินผลการปฏิบัติงาน แบบทดสอบ แบบสำรวจ ประเมินตนเอง สอบถาม ข้อมูลสะท้อนกลับจากลูกค้า

Popular posts from this blog

หลักรัฐประศาสนศาสตร์ Module 1; ภาค/ ปีการศึกษา 3/2565

หลักรัฐประศาสนศาสตร์ Module 2 ; ภาค/ปีการศึกษา 3/2565

หลักรัฐประศาสนศาสตร์ Module 3 ; ภาค/ปีการศึกษา 3/2565