POS 2211 การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ กลุ่ม 394 2/2565 Module 3


             การบริหารโครงการฝึกอบรม

               1. นักศึกษาควรเข้าศึกษาในชั้นเรียนด้วยควบคู่ไปกับการศึกษาออนไลน์ 

              2. นักศึกษาควรศึกษาเอกสาร อิเลคทรอนิคส์ที่ให้ไว้เพื่อประกอบการศึกษา 

                3. นักศึกษาต้องทำAssignment ที่ให้ไว้จนครบ การทำ Assignment นักศึกษา 
ต้องทำใน Blog ของหน้าเพจใน Module 1 นี้  ซึ่งใต้หน้าเพจนี้จะเขียนไว้ว่า   Post a Comment นักศึกษาคลิกที่นี่ จะปรากฏ กล่อง สำหรับทำ Assignment ที่ได้รับมอบหมาย  

                4.  นักศึกาษาจะต้องส่ง Assignment ใน Blog ใต้เพจของ Module วิชาการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ นี้เท่านั้นไม่รับส่งทาง Email และ ทางไลน์ ทั้งนี้ เพื่อสะดวกในการตรวจสอบและประเมินผล โดยนักศึกษาที่ทำ Assignment ต้องใส่ โปรไฟล์  ชื่อ รหัส นักศึกษาจะใส่รูปถ่าย-รูปภาพหรือไม่ก็ได้  

        5. นักศึกษาศึกษาเอกสารและวิดีโอ 

              5.1 วิดีโอประกอบการศึกษา

              5.2 เอกสารประกอบการศึกษา

                    ศึกษาวิดีโอและเอกสารได้ที่นี่ 

                  https://supwat.wixsite.com/-education/การบร-หารการพ-ฒนาทร-พยากรมน-ษย-module3

         

     6. นักศึกษาทำ  แบบฝึกหัด (Assignment) ตอบคำถามในกล่องความคิดเห็น (คลิก Post a Comment แล้วจะเห็นกล่องข้อมความสำหรับตอบคำถาม)

          1. อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม 

          2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม

          3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม

 

Comments

Unknown said…
ส.ท.ศุภชัย วินดี
รหัสนักศึกษา 65423471172

1. อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม
ตอบ การฝึกอบรม คือ กระบวนการในอันที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ และความชำนาญในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ การจัดโครงการฝึกอบรม เป็นเพียงหนึ่ง ในหลายวิธีการในการพัฒนาบุคลากรขององค์กร และการฝึกอบรมจะบังเกิดผลดีต่อเมื่อผู้รับผิดชอบดำเนินการอย่างมีระบบ ซึ่งจะเกิดขึ้น ได้หากผู้รับผิดชอบจัดการฝึกอบรมมีความเข้าใจถึงกระบวนการฝึกอบรม และวิธีดำเนินการในแต่ละขั้นตอนอย่างเหมาะสม ก่อนที่จะทำความเข้าใจถึงแต่ละขั้นตอนของกระบวนการฝึกอบรมในรายละเอียด เราอาจมองกระบวนการฝึกอบรม เพื่อพัฒนาบุคลากรอย่างคร่าว ๆ
กระบวนการฝึกอบรม หมายถึง “กระบวนการหรือ ขั้นตอนการปฏิบัติในอันที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ทักษะ หรือความชำนาญ ตลอดจน ประสบการณ์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไปตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้”

2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
ตอบ เครื่องมือที่สำคัญ ซึ่งใช้ในระดับของการประเมินพฤติกรรมในการทางานมีเพียง 3 ชนิด คือ แบบสอบถามละแบบ สัมภาษณ์ เพื่อติดตามผลการฝึกอบรม และแบบสอบวัดการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านทัศนคติหรือที่เรียกว่า แบบสอบวัดทัศนคติ แบบสอบถาม เพื่อใช้ติดตาม ผลการฝึกอบรมนั้นอาจมีความหลากหลายกันไป ขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงกรฝึกอบรมที่ต้องการ


3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ การประเมิน หมายถึง กระบวนการพิจารณา วินิจฉัย เพื่อให้ทราบว่าการกระทำ กิจกรรมหรืองานต่างๆที่เราได้ทำไปนั้นเกิดผลอย่างไร โดยการสังเกตเก็บข้อมูลตัวเลขของผลที่ออกมานั้น แล้วเอามาเปรียบเทียบหรือวัดกันกับเกณฑ์วัตถุประสงค์หรือมาตรฐานที่เราอยู่หรือตั้งขึ้น จากนั้นเราก็สรุปหรือตัดสินใจว่าดีหรือไม่ดี สูงหรือต่ำกว่ามาตรฐานมากน้อยเพียงใด ควรปรับปรุงแก้ไขตรงไหน
สิ่งสำคัญในการประเมินผล 3 ประการ ที่จะต้องทำ คือ
1. ต้องศึกษา สังเกต ตรวจสอบผลการดำเนินงาน คือ เก็บข้อมูลตัวเลขของการดำเนินงานว่าทำได้เพียงไร ตรงตามวัตถุแระสงค์ในด้านต่างๆที่เราตั้งไว้หรือไม่
2. เอามาตรฐาน เป้าหมายเข้าจับ หรือวัดว่า สูงหรือต่ำกว่า เป้าหมายที่ตั้งไว้มากน้อยเพียงไร
3. ประมวลผลรวมการตัดสิน สรุปว่า สูง ต่ำ ปานกลาง ใช้ได้หรือใช้ไม่ได้แล้วตัดสินใจจะปรับปรุงแก้ไขอย่างไร
วัตถุประสงค์ของการประเมินผลการอบรม
1. เพื่อพิจารณาผลที่ได้รับหลังจากการเข้าร่วมฝึกอบรม
2. เพื่อพิจารณาดูจุดดีและจุดบกพร่องของการฝึกอบรมเพื่อนำมาปรับปรุงให้ดีขึ้น
3. เพื่อให้ผู้บริหารตัดสินใจในการฝึกอบรมต่างๆ
4. เพื่อดูความเหมาะสมของเนื้อหาวิชาและหลักสูตรว่าเหมาะสมกับผู้รับการอบรมหรือเปล่า
5. เพื่อดูผลสำเร็จของผู้เข้ารับการอบรมว่าเข้าใจและพัฒนาศักยภาพหลังจากอบรมหรือไม่
6. เพื่อตรวจสอบการดำเนินการ อุปกรณ์ วิทยากร เจ้าหน้าที่ หรือผู้ประสานงานการฝึกอบรมเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ


ส.ท.ชินดนัย แปรชน 1164
ข้อที่1 ตอบ กระบวนการในการฝึกอบรม
นักวิชาการศึกษา ได้ให้ความหมายของกระบวนการฝึกอบรมไว้ ดังต่อไปน้ี
สมคิด บางโม (2538 : 19) ได้ประมวลข้อมูลจากประสบการณ์การทางานด้าน ฝึกอบรมเป็นเวลานาน และสรุปว่า ขั้นตอนในการฝึกอบรมที่มีความกระชับ และสามารถนาไปใช้ได้ ง่าย มี 5 ขั้นตอน ดังนี้
1. การหาความจาเป็นของการฝึกอบรม
2. การสร้างหลักสูตร
3. การเลือกใช้เทคนิคต่าง ๆ ในการฝึกอบรม
4. การดาเนินการฝึกอบรม
5. การติดตามประเมินผล

ข้อที่2 ตอบ การฝึกอบรมนอกจากจะช่วยเสริมสร้างการพัฒนาองค์กรให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน แนวทางที่เหมาะสมแล้วยังมีความสาคัญ ดังนี้
1) การฝึกอบรมเป็นวิธีการที่จะช่วยให้บุคลากรได้เรียนรู้ เพิ่มเติมประสบการณ์ โดยใช้ เวลาระยะส้ันในขณะที่มีวัตถุประสงค์ค่อนข้างชัดเจน คือ มุ่งให้เกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการ ทางานด้านต่างๆ เช่น การปฏิบัติงาน การวางระบบ การคิด เป็นต้น
2) การฝึกอบรมเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยลดปัญหาและความสิ้นเปลืองในการ ปฏิบัติงานของบุคลากรอันเกิดจากความไม่เข้าใจ และการทางานอย่างไม่มีคุณภาพ ขาดทักษะ และ ประสบการณ์
3) การฝึกอบรมเป็นกลไกในการบริหารงาน และบริหารคน เพื่อช่วยให้เกิดการ ปรับปรุง พัฒนาระบบ โครงสร้าง และกระบวนการทางาน ตลอดจนส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดีของ ผู้ปฏิบัติงานในองค์กร
4) การฝึกอบรมเป็นส่วนหนึ่งของการให้การศึกษา และพัฒนาบุคคลให้เกิดความมั่นใจ ในตนเอง มีความภาคภูมิใจที่จะปฏิบัติงานในบทบาทหน้าท่ีอย่างมีคุณภาพ มีศักดิ์ศรี และเป็นที่ ยอมรับนับถือ ตลอดจนเป็นการเตรียมตัวก้าวเข้าสู่ตาแหน่งที่สูงข้ึน
5) การฝึกอบรมเป็นวิธีการที่จะช่วยให้บุคลากรได้เรียนรู้ เพิ่มเติมประสบการณ์ โดยใช้ ระยะเวลาสั้นในขณะท่ีมีวัตถุประสงค์ค่อนข้างชัดเจน คือ มุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการ ทางานด้านต่างๆ เช่น การปฏิบัติงาน การวางระบบ การคิด เป็นต้น
6) การฝึกอบรมเป็นแนวทางหน่ึงที่จะช่วยลดปัญหาและความส้ินเปลืองในการ ปฏิบัติงานของบุคลากรอันเกิดจากความไม่เข้าใจ และการทางานอย่างมีคุณภาพ ขาดทักษะและ ประสบการณ์
7) การฝึกอบรม เป็นกลไกในการบริหารงาน บริหารคน เพื่อช่วยให้เกิดการปรับปรุง พัฒนาระบบโครงสร้าง และกระบวนการทางาน ตลอดจนส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดีของผู้ปฏิบัติงานใน องค์กร
21
8) การฝึกอบรมเป็นส่วนหนึ่งของการให้การศึกษา และพัฒนาบุคคลให้เกิดความมั่นใจ ในตนเอง มีความภาคภูมิใจที่จะปฏิบัติงานในบทบาทหนาที่อย่างมีคุณภาพ มีศักดิ์ศรี และเป็นที่ ยอมรับนับถือ ตลอดจนเป็นการเตรียมตัวก้าวเข้าสู่ตาแหน่งที่สูงขึ้น

ข้อที่3 ตอบ ในการดาเนินการฝึกอบรม In-house Training ของสานักการศึกษาต่อเน่ือง เป็น กระบวนการของการจัดฝึกอบรมอย่างเป็นระบบ ซึ่งมีรายละเอียดสรุปได้ดังน้ี
1. การประชาสัมพันธ์การฝึกอบรมหลักสูตรประเภท In-house Training 2. หน่วยงานภายนอกติดต่อขอรับบริการจัดฝึกอบรม
3. วิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมของหน่วยงาน
4. กาหนดวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม
5. ออกแบบและสร้างหลักสูตรฝึกอบรมสาหรับหน่วยงาน 6. การจัดฝึกอบรม ซึ่งจะแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ
1) ระยะก่อนการดาเนินการฝึกอบรม 2) ระยะดาเนินการจัดฝึกอบรม
3) ระยะดาเนินการหลังการจัดฝึกอบรม
7. ประเมินผลการฝึกอบรม
การจัดการฝึกอบรมอย่างเป็นระบบ ซึ่งเน้นถึงการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ
และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างต่อเน่ืองภายในระบบ ขั้นตอนของการจัดการฝึกอบรมหลักสูตร ประเภท In-house Training อย่างเป็นระบบมีทั้งสิ้น 7 ขั้นตอน ประกอบด้วย การประชาสัมพันธ์ การฝึกอบรมหลักสูตรประเภท In-house Training การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรม หน่วยงานภายนอกติดต่อขอรับบริการจัดฝึกอบรม การกาหนดวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม ออกแบบและสร้างหลักสูตรฝึกอบรม การจัดการฝึกอบรม และการประเมินผลโครงการฝึกอบรม ผล ที่ได้รับจากการประเมินผล จะเป็นข้อมูลย้อนกลับสาหรับการปรับปรุงแก้ไขโครงการฝึกอบรมต่อไปใน อนาคต

นาย ศักรินทร์ ฆารสว่าง รหัส 65423471184
1. อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม
1.การพิจารณาความต้องการและปัญหาที่ต้องมีการฝึกอบรม
2.เป้าหมายของการฝึกอบรม
3.การกำหนดเนื้อหาและเรื่องที่จะอบรม
4.การกำหนดวิธีที่จะใช้อบรม และสื่อหรือเครื่องมือที่เหมาะสม
5.การดำเนินการอบรม
  2.อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
การประเมินผลที่ได้จากการฝึกอบรม
(Outputs) ซึ่งอาจแบ่งเป็น 4 ประเภท สองประเภทแรก
คือ การประเมินปฏิกิริยา และการประเมินการเรียนรู้นั้น อาจจัดได้เป็นการประเมินผลโครงการฝึกอบรม
เนื่องจากช่วงเวลา ของการดำเนินการประเมินอยู่ในช่วงเดียวกับการฝึกอบรม ส่วนอีก 2 ประเภท คือ การ
ประเมินพฤติกรรมในการทำงาน และการประเมินผลลัพธ์ จัดเป็น การติดตามผลการฝึกอบรม เนื่องจาก
จะต้องดำเนินการ ในช่วงเวลาหลังจากการฝึกอบรม ไปแล้วช่วงระยะเวลาหนึ่ง จึงจะสามารถประเมินได้
3.อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
การประเมินผลลัพธ์หรือผลกระทบของโครงการฝึกอบรม หมายถึง สิ่งที่เป็นเป้าหมายสูงสุดของ
การจัดโครงการ ฝึกอบรม ในระยะยาว ซึ่งอาจจะเป็นสิ่งเดียวกันหรือไม่ใช่สิ่งเดียวกันกับวัตถุประสงค์ของ
โครงการฝึกอบรมก็ได้ ดังตัวอย่างเช่น การลดค่าใช้จ่าย การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากร
การลดความผิดพลาดหรือการตำหนิ การเพิ่มปริมาณ หรือคุณภาพ ของผลผลิตและ บริการ การปรับปรุงขวัญ
ของบุคลากร และการลดอุบัติเหตุ เป็นต้น
ถึงแม้ว่าการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินผลลัพธ์จะสามารถทำได้ทั้งโดยการใช้แบบสอบถาม และการ
สัมภาษณ์ก็ตามแต่ผลการวิจัยระบุว่า การใช้แบบสอบถามจะทำให้ได้ข้อมูลที่มีลักษณะกระจัดกระจาย และมีคุณภาพด้อยกว่าการสัมภาษณ์มาก จึงนิยมใช้การสัมภาษณ์ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินผลลัพธ์จาก
การจัดฝึกอบรมมากกว่าซึ่งหากนำมาใช้อย่างเหมาะสม น่าจะช่วยให้การติดตามผลเพื่อประเมินผลลัพธ์ของ
โครงการฝึกอบรม มีความเป็นไปได้มากขึ้น สะดวกขึ้น และมีผลการประเมินชัดเจนเพิ่มขึ้น



Unknown said…
ส.อ.ธนา รัตนวิลัย
รหัสนักศึกษา 65423471187

1. อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม 
ตอบ กระบวนการในการวิเคราะห์งาน
การวิเคราะห์งานประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ที่นักวิเคราะห์งานต้องปฏิบัติเพื่อให้การวิเคราะห์เป็นไป อย่างเป็นระบบ เรียบร้อย มีประสิทธิภาพ และได้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานอย่างสมบูรณ์ โดยกระบวนการ ในการวิเคราะห์งานประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้
ขั้นตอนที่ 1 การระบุงาน (Job Identification) นักวิเคราะห์งานจะต้องระบุงานและ ขอบเขตของงานที่ตนต้องการจะทาการศึกษา (Job Study) ซึ่งอาจจะเป็นงานเฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งหรืองาน ทั้งหมดภายในองค์การ เพื่อเป็นการกาหนดแนวทางและขอบเขตของการศึกษางานให้ดาเนินไปอย่างมีเป้าหมายที่แน่นอน ขั้นตอนนี้ไม่ค่อยมีปัญหามากนักในหน่วยงานขนาดเล็กหรือหน่วยงานที่เคยทาการ วิเคราะห์งานมาแล้ว แต่สำหรับองค์การขนาดใหญ่ที่ไม่เคยมีการศึกษาและวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ มาก่อนนักวิเคราะห์งานอาจจะต้องศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับงานจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาและเลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นการศึกษางานเฉพาะ หรือศึกษาทั้งระบบก็ตาม นักวิเคราะห์งานจะต้องทาการตัดสินใจเลือกวิธีการเก็บข้อมูลที่เหมาะสมกับลักษณะ ของงาน ระยะเวลาที่ใช้ในการทางาน และงบประมาณ ปกติวิธีการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับงานจะมีหลายวิธี
ขั้นตอนที่ 3 การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection) จะเป็นการปฏิบัติการโดยพยายาม เก็บรวบรวมข้อมูลจากงานที่ทาการศึกษาตามวิธีการที่ได้วางแผนไว้ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความถูกต้องครอบคลุม และมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับได้
ขั้นตอนที่ 4 การจัดทาสารสนเทศของงาน (Job Analysis Information) ข้อมูลต่างๆที่ได้ จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจะถูกนามาใช้ประกอบการศึกษาและวิเคราะห์งาน เพื่อจัดรูปแบบของสารสนเทศ ของงานให้เหมาะสมต่อการนาไปใช้งานจริง ไม่ว่าจะเป็นการวางแผนทรัพยากรบุคคล การสรรหาและคัดเลือก การฝึกอบรมและการพัฒนา

 2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
ตอบ การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรม ในขั้นตอนของการกาหนดโครงการ ฝึกอบรม ผู้รับผิดชอบจะต้องคานึงถึงการประเมินผลการฝึกอบรมไว้ด้วยว่า จะดาเนินการ ประเมินผลด้วยวิธีการใดบ้าง โดยใช้เครื่องมืออะไร และจะดำเนินการติดตามผลการฝึกอบรม หรือไม่ เมื่อใด ทั้งนี้เพราะเมื่อการฝึกอบรมเสร็จสิ้นลงแล้ว ผู้รับผิดชอบโครงการควรจะต้องสรุป ประเมินผลการฝึกอบรม และจัดทารายงานเสนอให้ผู้บังคับบัญชาได้พิจารณาถึงผลของการ ฝึกอบรม ส่วนผู้รับผิดชอบโครงการเองก็จะต้องนำเอาผลการประเมินโครงการฝึก อบรมทั้งหมดมาเป็นข้อมูลย้อนกลับ
ในการจัดฝึกอบรมแต่ละโครงการนั้น ผู้รับผิดชอบจัดการฝึกอบรมจะสามารถ ตรวจสอบว่าการดาเนินงานของตน เป็นการฝึกอบรมอย่างมีระบบหรือไม่ ด้วยการตอบคาถาม ดังต่อไปนี้ให้ได้ครบทุกข้อ คือ
1. ทำไมจึงต้องจัดการฝึกอบรม แน่ใจแล้ว ใช่หรือไม่ ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นจะ แก้ไขได้ด้วยการฝึกอบรม
2. ใครเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย และใครเป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องบ้าง
3. จะฝึกอบรมไปเพื่ออะไร พฤติกรรมอะไรบ้างที่ต้องการจะให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง
4. จะฝึกอบรมในเรื่องอะไรบ้าง หลักสูตรฝึกอบรมจะเป็นอย่างไร
5. จะฝึกอบรมอย่างไร มีความพร้อมในด้านใดบ้าง
6. ฝึกอบรมแล้วได้ผล หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงตามวัตถุประสงค์ของการ
ฝึกอบรมหรือไม

 3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ การประเมินปัจจัยนำเข้า (Inputs Evaluation) เป็นการประเมินที่อาศัยข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรที่ใช้ในการฝึกอบรม เพื่อการศึกษาทางเลือกระหว่างปัจจัยนำเข้าของโครงการฝึกอบรม การประเมินปัจจัยนำเข้าเป็นการประเมินว่ามีทรัพยากรอะไร และจะใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างไรถึงจะมีโอกาสมากที่สุดในการบรรลุวัตถุประสงค์ ทั้งนี้เพราะงบประมาณและความต้องการทางด้านการจัดการ อาจไม่เปิดโอกาสให้ใช้ทางเลือกบางอย่างที่ต้องการได้ โดยที่คำถามในเรื่องนี้มักจะมุ่งที่ประเด็นดังต่อไปนี้
 1.ข้อดีและข้อเสียเชิงเปรียบเทียบของวิธีการต่างๆมีอะไรบ้าง
 2.เป็นไปได้หรือไม่ที่องค์การภายนอกจะทำการฝึกอบรมได้ดีกว่า
 3.ควรจะทำการฝึกอบรมโดยใช้ทรัพยากรภายในหรือไม่
 4.ควรให้มีองค์การหรือสายงานเกี่ยวข้อทำหรือไม่
 5.มีเวลาเพียงพอสำหรับโครงการหรือไม่
 6.องค์กรได้ผลอะไรบ้างจากการมีโครงการดังกล่าว
 เราจะเห็นว่า การประเมินปัจจัยนำเข้าจะมุ่งไปที่กระบวนการหาข้อมูลและใช้ข้อมูลเพื่อตัดสินเกี่ยวกับวิธีการดำเนินโครงการ
Unknown said…
ส.อ.ธรรมนูญ นวนน้ำจิตต์
รหัสนักศึกษา 65423471179
1. อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม 
ตอบ การฝึกอบรมเป็นกระบวนการพัฒนาบุคคล  ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน  โดยจะต้องดำเนินไปตามลำดับขั้นตอนและต่อเนื่อง  เพื่อให้การฝึกอบรมเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลแก่บุคคล  และกิจกรรมสำคัญที่ทำให้เกิดวิธีการจัดการฝึกอบรมหรือกระบวนการฝึกอบรมทั้ง  6  ขั้น  คือ
1.การสำรวจความจำเป็นในการฝึกอบรม
2.การจัดหลักสูตรฝึกอบรม
3.การวางแผนโครงการฝึกอบรม
4.การดำเนินงานฝึกอบรม
5.การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรม
6.การจัดทำรายงานสรุปผ

  2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
ตอบ ในการดำเนินกิจกรรมใดๆก็ตามเรามักจะต้องมีเป้าหมายหรือวัตถุปะสงค์ไว้ ก่อนว่าเราทำกิจกรรมนั้นๆเพื่ออะไร และการที่จะรับรู้ว่ากิจกรรมดังกล่าวประสบผลสำเร็จหรือไม่คงต้องอาศัย การประเมินผล (Evaluation) มาใช้เป็นเครื่องมือที่สำคัญ เช่นเดียวกับ การฝึกอบรม (Training)
1. การประเมินปฏิกิริยา (Reaction)
     การประเมินปฏิกิริยา (Reaction) คือการประเมินเพื่อรับรู้ว่าผู้รับการอบรมมีทัศนคติอย่างไรต่อการจัดฝึกอบรม ในหลักสูตรนั้นๆ กล่าวคือเป็นการวัดความรู้สึกพึงพอใจ ชอบหรือไม่ชอบต่อการจัดฝึกอบรมนั่นเอง

2. การประเมินการเรียนรู้ (Learning)
     การประเมินการเรียนรู้คือการวัดว่าผู้รับการอบรมได้มีการเพื่อพูนความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) หรือมีทัศนคติ (Attitude) อันพึงประสงค์หรือไม่ การประเมินขั้นตอนนี้ถือว่ามีความสำคัญมากเพราะเหตุว่าเป็นการตอบโจทย์หรือ วัตถุประสงค์ของการจัดฝึกอบรมในส่วนของการเรียนรู้ซึ่งถ้ามีการจัดฝึกอบรม เกิดขึ้นแล้วแต่ไม่มีการเรียนรู้เกิดขึ้นหรือไม่อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ถือ ว่าการฝึกอบรมที่สูญเปล่า เช่นการจัดฝึกอบรมการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยเมื่อสิ้นสุดการจัดอบรมแล้วมี บางคนยังใช้โปรแกรมไม่ได้ หรือการฝึกอบรมด้านการทำงานเป็นทีม ผู้รับการอบรมยังไม่มีทัศนคติที่ดีต่อการทำงาน เป็นทีม เป็นต้น

3. การประเมินพฤติกรรม (Behavior) 
     การประเมินพฤติกรรมหรือนักวิชาการบางท่านเรียกว่า Job behavior เกี่ยวข้องกับการนำความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง ซึ่งถือว่าเป็นกระบวนการประเมินที่จะทราบว่าการฝึกอบรมที่จัดขึ้นสามรถทำให้ พนักงานทำงานได้ดีขึ้นหรือลดความบกพร่องในงานได้หรือไม่ บ้างครั้งมักเรียกการประเมินขั้นตอนนี้ว่าการติดตามผลการฝึกอบรมซึ่งนักฝึก อบรมคงต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อที่ระบุให้ชัดว่าการฝึกอบรมหลักสูตรไหนควรมีการติดตามผล

4. การประเมินผลลัพธ์ (Results)
     ตามแนวคิดของ Kirkpatrick เห็นว่าการประเมินที่ยากที่สุดและเป็นการประเมินที่ทำให้ทราบว่าการอบรมแต่ ละครั้งส่งผลดีอย่างไรต่อองค์กรบ้างคือ การประเมินผลลัพธ์ (Results) ซึ่งหมายถึงผลลัพธ์แก่องค์กรจากการฝึกอบรมนั่นเอง การประเมินในขั้นตอนนี้เช่นอาจมีการวัดผลผลิตที่เพิ่มขึ้น (Productivity) เช่น จำนวนสินค้าที่ผลิตได้เพิ่มขึ้น จำนวนของเสียที่ลดลง ยอดขายที่เพิ่มขึ้น หรือความพึงพอใจของลูกค้าต่อการบริการที่เพิ่มขึ้น เป็นต้น

การประเมินผลการฝึกอบรม (Training Evaluation) ถือเป็นขั้นตอนสุดท้ายใน วงจรการฝึกอบรม (Training Cycle) ซึ่งเริ่มจากการวิเคราะห์ความจำเป็นในการฝึกอบรม (Training Needs Assessment) การกำหนดวัตถุประสงค์ (Objective) การออกแบหลักสูตร (Course Design) และการดำเนินการฝึกอบรม (Training Conduct) ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยย้อนกลับที่สำคัญและเป็นการวัดความสำเร็จในการฝึกอบรม ทรัพยากรบุคคลในองค์กร แต่อย่างไรก็ดีนักฝึกอบรมคงต้องมีความเข้าใจว่าการประเมินที่ทำอยู่เป็นขั้นตอนใด และควรเลือกใช้เครื่องมือหรือวิธีใดในการประเมินจึงจะเหมาะสม

3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ การประเมินผลการฝึกอบรม ทั้งนี้ก็ต้องเลือกวิธีการประเมินผลให้เกิดความเหมาะสมด้วย จุดสำคัญอยู่ที่วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลนั่นเอง วิธีที่นิยมใช้กันทั่วไปเป็นวิธีที่มีความเป็นวิทยาศาสตร์  คือมีการทดสอบก่อนและหลังการฝึกอบรม นอกจากนั้นยังควรมีการประเมินความคุ้มค่าของโครงการฝึกอบรมด้วย และอาจมีการวิเคราะห์ผลตอบแทนจากการลงทุนด้วย
Unknown said…
ส.ท.ปิติภัทร อิ่มเอี่ยม รหัสนักศึกษา 1170
1. อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม
ตอบ กระบวนการฝึกอบรม หมายถึง “กระบวนการหรือ ขั้นตอนการปฏิบัติในอันที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ทักษะ หรือความชำนาญ ตลอดจน ประสบการณ์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไปตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้” กระบวนการ ฝึกอบรมได้ ดังนี้
1. การหาความจำเป็นในการฝึกอบรม
2. การสร้างหลักสูตรฝึกอบรม
3. การกำหนดโครงการฝึกอบรม
4. การบริหารโครงการฝึกอบรม
5. การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรม
6. จะฝึกอบรมอย่างไร มีความพร้อมในด้านใดบ้าง
7.ฝึกอบรมแล้วได้ผล หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงตามวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมหรือไม่
ขั้นตอนของการฝึกอบรม ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ประเมินความต้องการด้านการฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 2 เตรียมการและวางแผนการฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 3 ดำเนินการฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 4 ประเมินผลการฝึกอบรม การฝึกอบรมเชิงระบบเปรียบเสมือน
2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
ตอบ 2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินปฏิกิริยา
1) แบบประเมินโครงการ
2) แบบประเมินรายวิชา
2.2.เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้
2.3 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินพฤติกรรมในการทำงาน
2.4 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลลัพธ์ จะต้องมีคุณสมบัติที่ดีของเครื่องมือในการประเมินผล ซึ่งได้แก่
1. ความเที่ยงตรง (Validity)
2. ความเชื่อมั่น (Reliability)
3. ความเป็นกลางปราศจากอคติ (Objectivity)
4. ความเหมาะสมที่จะนำไปใช้ (Practicability)
5. ความง่าย (Simplicity)
3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ ผู้รับผิดชอบการติดตามและประเมินผลโครงการฝึกอบรม ควรจะมีขั้นตอนการติดตามและ ประเมินผลโครงการฝึกอบรม ดังนี้.
1 กำหนดวัตถุประสงค์การประเมิน
2 ขั้นวางแผนการประเมิน
3 กำหนดแหล่งที่มา ของข้อมูล
4 กำหนดช่วงเวลาจัดเก็บข้อมูล
5 กำหนดเทคนิคหรือวิธีการและเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูล
6 กำหนดวิธีการ วิเคราะห์ข้อมูล โดยอาจกำหนดเป็นตาราง
นางสาววชิราพร บุญตะวัน รหัสนักศึกษา 65423471161
Answer
1.การฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรแต่ละโครงการควรจะต้องดำเนินการในแต่ละขั้นตอนอย่างครบถ้วน เพื่อให้เป็นการฝึกอบรมอย่างเป็นระบบ มีความสมบูรณ์ และเกิดผลสำเร็จตรงตามเป้าหมายแต่ละขั้นตอน ของกระบวนการฝึกอบรมได้การฝึกอบรมเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับทักษะและความสามารถเฉพาะด้านของบุคลากร ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ประเมินความต้องการด้านการฝึกอบรม 2) เตรียมการและวางแผนการฝึกอบรม 3) ดำเนินการฝึกอบรม 4) ประเมินผลการฝึกอบรมการมุ่งเน้นผู้เข้ารับ

2.ในการดำเนินกิจกรรมมักจะต้องมีเป้าหมายหรือวัตถุปะสงค์ไว้ ก่อนว่าควรทำกิจกรรมนั้นๆเพื่ออะไร และการที่จะรับรู้ว่ากิจกรรมดังกล่าวประสบผลสำเร็จหรือไม่คงต้องอาศัย การประเมินผล (Evaluation) มาใช้เป็นเครื่องมือที่สำคัญ เช่นเดียวกับ การฝึกอบรม (Training) คงต้องมีเทคนิคการจัดวางเส้นทางฝึกอบรม (Training Roadmap) เพื่อทราบถึงความสำเร็จในการจัดการฝึกอบรมแต่ละครั้งว่าสามารถทำให้พนักงานมีความรู้ (Skill) ทักษะ (Skill) และปรับทัศนติ (Attitude) ได้ ตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ต้องการดังนั้น แนวคิดรูปแบบ หรือวิธีการประเมินผลการฝึกอบรมที่ใช้อยู่กันในปัจจุบันนั้นมีพื้นฐานแนวคิด เทคนิค วิธีการอย่างไรบ้างเป็นสิ่งที่จะนำเสนอดังต่อไปนี้ 1) ผู้เข้าอบรมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางด้านความคิด อันได้แก่ ความรู้ ความเข้าใจ ความชำนาญ และความสามารถ ในการประเมิน วิเคราะห์ และสังเคราะห์เพียงใด 2) ผู้เข้าอบรมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางด้านความรู้สึก เช่น ความสนใจ ทัศนคติ ความเชื่อ ค่านิยม ในทิศทางใด ระดับใด 3) ผู้เข้าอบรมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางด้านการประพฤติปฏิบัติ ตลอดจน ผลการปฏิบัติงานภายหลัง การฝึกอบรมอย่างไร และเพียงใด 4) การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวข้างต้นเป็นการเปลี่ยนแปลงซึ่งผู้รับผิดชอบการฝึกอบรมต้องการให้ เปลี่ยนแปลงหรือไม่ และได้ผลดีกว่า การเปลี่ยนแปลงด้วยวิธีการอื่นหรือไม่ 5. การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวร หรือเป็นการเปลี่ยนแปลง เพียงชั่วคราวเท่านั้น

3.สิ่งที่สำคัญที่สุดที่ทำให้การฝึกอบรมมีประสิทธิภาพก็คือ การกำหนดเนื้อหาของหลักสูตร ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนที่สำคัญ 3 ขั้น คือ 1) การจัดเตรียมโครงร่างของหลักสูตร 2) การสร้างแผนการเรียน 3) การจัดวางเนื้อหาวิชา ซึ่งเนื้อหานั้นจะต้องสนองตอบวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมที่ได้กำหนดไว้แล้ว และต้องสอดคล้องกับสภาพการทำงานจริง รวมทั้งต้องมีความถูกต้องทันสมัยด้วย ที่สำคัญคือ ผู้จัดต้องพิจารณาว่าต้องการให้เกิดการเรียนรู้แบบใด แบบมุ่งเน้นการเรียนรู้เป็นรายบุคคลหรือมุ่งเน้นการเรียนรู้เป็นกลุ่ม แล้วจึงตัดสินใจเลือกวิธีการในการฝึกอบรมตามความเหมาะสมต่อไป
ส.อ.ธนวิชญ์ พึ่งแย้ม รหัสนักศึกษา 65423471171
1.อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม
ตอบ คือ ขั้นตอนการปฏิบัติที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ทักษะ หรือความชำนาญ ตลอดจน ประสบการณ์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไปตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้เพื่อให้การฝึกอบรมเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลแก่บุคคล งาน และหน่วยงานมากที่สุดเพื่อจะได้เป็นพื้นฐานและนำไปสู่ความเข้าใจที่ละเอียดมากยิ่งขึ้น และขั้นตอนในการฝึกอบรมนั้น มีดังนี้
-การสำรวจความจำเป็นในการฝึกอบรม
-การจัดหลักสูตรฝึกอบรม
- การวางแผนโครงการฝึกอบรม
-การดำเนินงานฝึกอบรม
- การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรม
-การจัดทำรายงานสรุปผล
2.อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
ตอบ จะต้องการพิจารณา วินิจฉัย เพื่อให้ทราบว่าการกระทำ กิจกรรมหรืองานต่างๆที่เราได้ทำไปนั้นเกิดผลอย่างไร โดยการสังเกตเก็บข้อมูลตัวเลขของผลที่ออกมานั้น แล้วเอามาเปรียบเทียบหรือวัดกันกับเกณฑ์วัตถุประสงค์หรือมาตรฐานที่เราอยู่หรือตั้งขึ้น จากนั้นเราก็สรุปหรือตัดสินใจว่าดีหรือไม่ดี สูงหรือต่ำกว่ามาตรฐานมากน้อยเพียงใด ควรปรับปรุงแก้ไขตรงไหน และในการประเมินผลของการฝึกอบรม เราจะต้องศึกษา สังเกต ตรวจสอบผลการดำเนินงาน คือ เก็บข้อมูลตัวเลขของการดำเนินงานว่าทำได้เพียงไร ตรงตามวัตถุแระสงค์ในด้านต่างๆที่เราตั้งไว้หรือไม่ และเอามาตรฐาน เป้าหมายเข้าจับ หรือวัดว่า สูงหรือต่ำกว่า เป้าหมายที่ตั้งไว้มากน้อยเพียงไร และประมวลผลรวมการตัดสิน สรุปว่า สูง ต่ำ ปานกลาง ใช้ได้หรือใช้ไม่ได้แล้วตัดสินใจจะปรับปรุงแก้ไขอย่างไร ที่ต้องทำแบบนี้ก็เพื่อดังนี้
-เพื่อพิจารณาผลที่ได้รับหลังจากการเข้าร่วมฝึกอบรม
-เพื่อพิจารณาดูจุดดีและจุดบกพร่องของการฝึกอบรมเพื่อนำมาปรับปรุงให้ดีขึ้น
-เพื่อให้ผู้บริหารตัดสินใจในการฝึกอบรมต่างๆ
-เพื่อดูความเหมาะสมของเนื้อหาวิชาและพัฒนาศักยภาพหลังจากอบรม
-เพื่อตรวจสอบการดำเนินการผู้ประสานงานการฝึกอบรมเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ
3.อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ การประเมินผลก่อนการฝึกอบรมต้องทำการประเมินในสิ่งต่างๆว่าได้มาตรฐาน สูง ต่ำเป็นที่พอใจหรือไม่ทำได้ 3 ระยะ คือ
1. ก่อนการฝึกอบรม 2. ระหว่างการฝึกอบรม 3. ภายหลังการฝึกอบรม และต้องการทราบว่าการจัดการอบรม ผู้อบรม ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่เพียงใด หาแนวทางการปรับปรุงแก้ไขการอบรม ของผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มหรือจัดการอบรมซ่อมเสริม การประเมินผลหลังการฝึกอบรม คือ การประเมินภายหลังโครงการฝึกอบรมได้สิ้นสุดลง เป็นการประเมินผลรวม มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้เพิ่มเติมเพียงไร มีความรู้อยู่ในเกณฑ์ใด ดี พอ ใช้ หรือยังใช้ไม่ได้จะต้องปรับปรุงการสอน และลักษณะที่ดีของการวัดประเมินผล หลักๆมีดังนี้
-ยึดจุดประสงค์เป็นหลัก
-ควรดำเนินการทั้ง 3 ช่วง
-ควรปรับปรุงเครื่องมือการวัดอยู่เสมอ
-แก้ไขข้อบกพร่องสำหรับผู้เข้าอบรมที่ต่ำกว่าเกณฑ์
-นำผลที่ได้มาปรับปรุงการอบรม

ส.ท.ณัฐชัย ศิริพงษ์ 1159
ข้อ 1 ตอบ กระบวนการฝึกอบรมมีขั้นตอนที่สำคัญ 5 ขั้นตอน ซึ่งผู้รับผิดชอบจัด โครงการ ฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรแต่ละโครงการควรจะต้องดำเนินการในแต่ละขั้นตอนอย่างครบถ้วน เพื่อให้เป็นการฝึกอบรมอย่างเป็นระบบ มีความสมบูรณ์ และเกิดผลสำเร็จตรงตามเป้าหมาย ซึ่งอาจให้ความหมายและคำอธิบายย่อๆ สำหรับแต่ละขั้นตอน ของกระบวนการ ฝึกอบรมได้ ดังนี้
1.การหาความจำเป็นในการฝึกอบรม หมายถึง การค้นหาปัญหาที่เกิดขึ้นในองค์กรหรือในหน่วยงาน ว่ามีปัญหา เรื่องใด บ้าง ที่จะสามารถแก้ไขให้หมดไปหรืออาจทำให้ทุเลาลงได้ด้วยการฝึกอบรม โดยรวมไปถึงการพยายาม หาข้อมูลด้วยว่า กลุ่มบุคลากร เป้าหมายที่จะต้องเข้ารับการอบรมเป็นกลุ่มใด ตำแหน่งงานอะไร มีจำนวนมากน้อยเพียงใด
2. การสร้างหลักสูตรฝึกอบรม หมายถึง การนำเอาความจำเป็นในการฝึกอบรมซึ่งมีอยู่ชัดเจนแล้วว่า มีปัญหาใดบ้าง ที่จะ สามารถ แก้ไขได้ด้วยการฝึกอบรม กลุ่มเป้าหมายเป็นใคร และพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ต้องการจะเปลี่ยนแปลงเป็นด้านใดนั้น มาวิเคราะห์ เพื่อกำหนดเป็นหลักสูตร โดยอาจประกอบด้วยวัตถุประสงค์ของหลักสูตรฝึกอบรม
3. การกำหนดโครงการฝึกอบรม คือ การวางแผนการดำเนินการฝึกอบรมอย่างเป็นขั้นตอนด้วยการเขียนออกมาเป็น ลายลักษณ์อักษร ดังที่เรียกว่า “โครงการฝึกอบรม” เป็นการระบุรายละเอียดที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ตั้งแต่เหตุผลความเป็นมา หรือความ จำเป็นในการฝึกอบรม หลักสูตร หัวข้อวิชาต่างๆ วิทยากร คุณสมบัติของผู้ที่จะเข้ารับการอบรม วันเวลา สถานที่อบรม ประมาณการ ค่าใช้จ่าย ตลอดจนรายละเอียดด้านการบริหารและธุรการต่าง ๆ ของการฝึกอบรม ทั้งนี้ เนื่องจากการฝึกอบรม เป็นกิจกรรม ที่มี ผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายของการฝึกอบรม
4. การบริหารโครงการฝึกอบรม สำหรับขั้นตอนนี้ ในตำราการบริหารงานฝึกอบรมบางเล่มระบุเป็นขั้นของ “การดำเนินการ ฝึกอบรม ” แต่เนื่องจากผู้เขียนพิจารณาเห็นว่า ถึงแม้จะดูเหมือนว่าการดำเนินการฝึกอบรมเป็นหัวใจสำคัญ ของการจัดโครงการฝึกอบรม หากแท้ที่จริงแล้วการดำเนินการฝึกอบรมเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการบริหารโครงการ ฝึกอบรม เพราะการดำเนินการ ฝึกอบรมที่มี ประสิทธิภาพ และสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการได้นั้น นอกจากมาจาก วิทยากร ที่มีความรู้ความสามารถ และหลักสูตร ฝึกอบรมที่เหมาะสมแล้วโครงการฝึกอบรมเพื่อให้ครอบคลุมเนื้อหาที่ผู้จัดโครงการฝึกอบรมควรทราบทั้งหมด
5. การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรม ในขั้นตอนของการกำหนดโครงการฝึกอบรม ผู้รับผิดชอบจะต้องคำนึง ถึงการประเมินผลการฝึกอบรมไว้ด้วยว่า จะดำเนินการประเมินผลด้วยวิธีการใดบ้าง โดยใช้เครื่องมืออะไร และจะดำเนินการติดตามเมื่อใดกระบวนการฝึกอบรมทั้งหมด

ข้อ2 ตอบเครื่องมือที่สาคัญซึ่งใช้ในระดับของการประเมินพฤติกรรมในการทางานมีเพียง 3 ชนิด คือ แบบสอบถามละแบบ สัมภาษณ์ เพื่อติดตามผลการฝึกอบรม และแบบสอบวัดการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านทัศนคติหรือที่เรียกว่า แบบสอบวัดทัศนคติ แบบสอบถาม เพื่อใช้ติดตาม ผลการฝึกอบรมนั้นอาจมีความหลากหลายกันไป ขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงกรฝึกอบรมที่ต้องการ

ข้อ 3 ตอบ การฝึกอบรมมีด้วยกันกล่าวคือ
1. การประเมินปฏิกิริยา
การประเมินปฏิกิริยาคือการประเมินเพื่อรับรู้ว่าผู้รับการอบรมมีทัศนคติอย่างไรต่อการจัดฝึกอบรม ในหลักสูตรนั้นๆ
2.การประเมินการเรียนรู้
การประเมินการเรียนรู้คือการวัดว่าผู้รับการอบรมได้มีการเพื่อพูนความรู้ทักษะ หรือมีทัศนคติอันพึงประสงค์หรือไม่ การประเมินขั้นตอนนี้ถือว่ามีความสำคัญมากเพราะเหตุว่าเป็นการตอบโจทย์หรือ วัตถุประสงค์ของการจัดฝึกอบรมในส่วนของการเรียนรู้ซึ่งถ้ามีการจัดฝึกอบรม เกิดขึ้นแล้วแต่ไม่มีการเรียนรู้เกิดขึ้นหรือไม่อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ถือ ว่าการฝึกอบรมที่สูญเปล่า เช่นการจัดฝึกอบรมการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยเมื่อสิ้นสุดการจัดอบรมแล้วมี บางคนยังใช้โปรแกรมไม่ได้ หรือการฝึกอบรมด้านการทำงานเป็นทีม ผู้รับการอบรมยังไม่มีทัศนคติที่ดีต่อการทำงาน เป็นทีม
3. การประเมินพฤติกรรม
การประเมินพฤติกรรมหรือนักวิชาการบางท่านเรียกว่าเกี่ยวข้องกับการนำความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง ซึ่งถือว่าเป็นกระบวนการประเมินที่จะทราบว่าการฝึกอบรมที่จัดขึ้นสามรถทำให้ พนักงานทำงานได้ดีขึ้นหรือลดความบกพร่องในงานได้หรือไม่ บ้างครั้งมักเรียกการประเมินขั้นตอนนี้ว่าการติดตามผลการฝึกอบรมซึ่งนักฝึก อบรมคงต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อที่ระบุให้ชัดว่าการฝึกอบรมหลักสูตรไหนควรมีการติดตามผลเนื่องจากในบาง
ส.อ.เจษฎา สหัสรังษี รหัสนักศึกษา 1189

1. อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม
ตอบ กระบวนการฝึกอบรม หมายถึง “กระบวนการหรือ ขั้นตอนการปฏิบัติในอันที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ทักษะ หรือความชำนาญ ตลอดจน ประสบการณ์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไปตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้” กระบวนการ ฝึกอบรมได้ ดังนี้
              1. การหาความจำเป็นในการฝึกอบรม            
              2. การสร้างหลักสูตรฝึกอบรม
              3. การกำหนดโครงการฝึกอบรม
              4. การบริหารโครงการฝึกอบรม
               5. การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรม
              6. จะฝึกอบรมอย่างไร มีความพร้อมในด้านใดบ้าง
              7.ฝึกอบรมแล้วได้ผล หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงตามวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมหรือไม่
ขั้นตอนของการฝึกอบรม ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ประเมินความต้องการด้านการฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 2 เตรียมการและวางแผนการฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 3 ดำเนินการฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 4 ประเมินผลการฝึกอบรม การฝึกอบรมเชิงระบบเปรียบเสมือน
         2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
ตอบ  2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินปฏิกิริยา
1) แบบประเมินโครงการ
        2) แบบประเมินรายวิชา
2.2.เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้
2.3 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินพฤติกรรมในการทำงาน
2.4 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลลัพธ์ จะต้องมีคุณสมบัติที่ดีของเครื่องมือในการประเมินผล ซึ่งได้แก่
1. ความเที่ยงตรง (Validity)
2. ความเชื่อมั่น (Reliability)
3. ความเป็นกลางปราศจากอคติ (Objectivity)
4. ความเหมาะสมที่จะนำไปใช้ (Practicability)
5. ความง่าย (Simplicity)
         3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ ผู้รับผิดชอบการติดตามและประเมินผลโครงการฝึกอบรม ควรจะมีขั้นตอนการติดตามและ ประเมินผลโครงการฝึกอบรม ดังนี้.
1 กำหนดวัตถุประสงค์การประเมิน
2 ขั้นวางแผนการประเมิน
3 กำหนดแหล่งที่มา ของข้อมูล
4 กำหนดช่วงเวลาจัดเก็บข้อมูล
5 กำหนดเทคนิคหรือวิธีการและเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูล
6 กำหนดวิธีการ วิเคราะห์ข้อมูล โดยอาจกำหนดเป็นตาราง
Unknown said…
จ.ส.อ.พิเชฐษ เสาวพันธุ์ รหัสนักศึกษา 1178
1. อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม
ตอบ กระบวนการฝึกอบรม หมายถึง “กระบวนการหรือ ขั้นตอนการปฏิบัติในอันที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ทักษะ หรือความชำนาญ ตลอดจน ประสบการณ์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไปตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้” กระบวนการ ฝึกอบรมได้ ดังนี้
1. การหาความจำเป็นในการฝึกอบรม
2. การสร้างหลักสูตรฝึกอบรม
3. การกำหนดโครงการฝึกอบรม
4. การบริหารโครงการฝึกอบรม
5. การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรม
6. จะฝึกอบรมอย่างไร มีความพร้อมในด้านใดบ้าง
7.ฝึกอบรมแล้วได้ผล หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงตามวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมหรือไม่
ขั้นตอนของการฝึกอบรม ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ประเมินความต้องการด้านการฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 2 เตรียมการและวางแผนการฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 3 ดำเนินการฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 4 ประเมินผลการฝึกอบรม การฝึกอบรมเชิงระบบเปรียบเสมือน
2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
ตอบ 2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินปฏิกิริยา
1) แบบประเมินโครงการ
2) แบบประเมินรายวิชา
2.2.เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้
2.3 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินพฤติกรรมในการทำงาน
2.4 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลลัพธ์ จะต้องมีคุณสมบัติที่ดีของเครื่องมือในการประเมินผล ซึ่งได้แก่
1. ความเที่ยงตรง (Validity)
2. ความเชื่อมั่น (Reliability)
3. ความเป็นกลางปราศจากอคติ (Objectivity)
4. ความเหมาะสมที่จะนำไปใช้ (Practicability)
5. ความง่าย (Simplicity)
3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ ผู้รับผิดชอบการติดตามและประเมินผลโครงการฝึกอบรม ควรจะมีขั้นตอนการติดตามและ ประเมินผลโครงการฝึกอบรม ดังนี้.
1 กำหนดวัตถุประสงค์การประเมิน
2 ขั้นวางแผนการประเมิน
3 กำหนดแหล่งที่มา ของข้อมูล
4 กำหนดช่วงเวลาจัดเก็บข้อมูล
5 กำหนดเทคนิคหรือวิธีการและเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูล
6 กำหนดวิธีการ วิเคราะห์ข้อมูล โดยอาจกำหนดเป็นตาราง
Unknown said…
จ.ส.อ.พิเชฐษ เสาวพันธุ์ รหัสนักศึกษา 1178
1. อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม
ตอบ กระบวนการฝึกอบรม หมายถึง “กระบวนการหรือ ขั้นตอนการปฏิบัติในอันที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ทักษะ หรือความชำนาญ ตลอดจน ประสบการณ์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไปตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้” กระบวนการ ฝึกอบรมได้ ดังนี้
1. การหาความจำเป็นในการฝึกอบรม
2. การสร้างหลักสูตรฝึกอบรม
3. การกำหนดโครงการฝึกอบรม
4. การบริหารโครงการฝึกอบรม
5. การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรม
6. จะฝึกอบรมอย่างไร มีความพร้อมในด้านใดบ้าง
7.ฝึกอบรมแล้วได้ผล หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงตามวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมหรือไม่
ขั้นตอนของการฝึกอบรม ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ประเมินความต้องการด้านการฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 2 เตรียมการและวางแผนการฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 3 ดำเนินการฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 4 ประเมินผลการฝึกอบรม การฝึกอบรมเชิงระบบเปรียบเสมือน
2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
ตอบ 2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินปฏิกิริยา
1) แบบประเมินโครงการ
2) แบบประเมินรายวิชา
2.2.เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้
2.3 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินพฤติกรรมในการทำงาน
2.4 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลลัพธ์ จะต้องมีคุณสมบัติที่ดีของเครื่องมือในการประเมินผล ซึ่งได้แก่
1. ความเที่ยงตรง (Validity)
2. ความเชื่อมั่น (Reliability)
3. ความเป็นกลางปราศจากอคติ (Objectivity)
4. ความเหมาะสมที่จะนำไปใช้ (Practicability)
5. ความง่าย (Simplicity)
3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ ผู้รับผิดชอบการติดตามและประเมินผลโครงการฝึกอบรม ควรจะมีขั้นตอนการติดตามและ ประเมินผลโครงการฝึกอบรม ดังนี้.
1 กำหนดวัตถุประสงค์การประเมิน
2 ขั้นวางแผนการประเมิน
3 กำหนดแหล่งที่มา ของข้อมูล
4 กำหนดช่วงเวลาจัดเก็บข้อมูล
5 กำหนดเทคนิคหรือวิธีการและเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูล
6 กำหนดวิธีการ วิเคราะห์ข้อมูล โดยอาจกำหนดเป็นตาราง
สิบตรี ยุทธชัย คำยา
รหัสนักศึกษา 65423471182

1.อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม 
ตอบ การฝึกอบรมเป็นกระบวนการพัฒนาบุคคล ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยจะต้องดำเนินไปตามลำดับขั้นตอนและต่อเนื่อง เพื่อให้การฝึกอบรมเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลแก่บุคคล งาน และหน่วยงานมากที่สุด เพื่อจะได้เป็นพื้นฐานและนำไปสู่ความเข้าใจที่ลึกซึ้งและละเอียดยิ่งขึ้น และกิจกรรมสำคัญที่ทำให้เกิดวิธีการจัดการฝึกอบรมหรือกระบวนการฝึกอบรมทั้ง 6 ขั้น คือ
1.การสำรวจความจำเป็นในการฝึกอบรม
2.การจัดหลักสูตรฝึกอบรม
3.การวางแผนโครงการฝึกอบรม
4.การดำเนินงานฝึกอบรม
5.การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรม
6.การจัดทำรายงานสรุปผล

2.อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
ตอบ การประเมินผลการฝึกอบรม
การประเมิน หมายถึง กระบวนการพิจารณา วินิจฉัย เพื่อให้ทราบว่าการกระทำ กิจกรรมหรืองานต่างๆที่เราได้ทำไปนั้นเกิดผลอย่างไร โดยการสังเกตเก็บข้อมูลตัวเลขของผลที่ออกมานั้น แล้วเอามาเปรียบเทียบหรือวัดกันกับเกณฑ์วัตถุประสงค์หรือมาตรฐานที่เราอยู่หรือตั้งขึ้น จากนั้นเราก็สรุปหรือตัดสินใจว่าดีหรือไม่ดี สูงหรือต่ำกว่ามาตรฐานมากน้อยเพียงใด ควรปรับปรุงแก้ไขตรงไหน
สิ่งสำคัญในการประเมินผล 3 ประการ ที่จะต้องทำ คือ
1.ต้องศึกษา สังเกต ตรวจสอบผลการดำเนินงาน คือ เก็บข้อมูลตัวเลขของการดำเนินงานว่าทำได้เพียงไร ตรงตามวัตถุแระสงค์ในด้านต่างๆที่เราตั้งไว้หรือไม่
2.เอามาตรฐาน เป้าหมายเข้าจับ หรือวัดว่า สูงหรือต่ำกว่า เป้าหมายที่ตั้งไว้มากน้อยเพียงไร
3.ประมวลผลรวมการตัดสิน สรุปว่า สูง ต่ำ ปานกลาง ใช้ได้หรือใช้ไม่ได้แล้วตัดสินใจจะปรับปรุงแก้ไขอย่างไร
วัตถุประสงค์ของการประเมินผลการอบรม
1.เพื่อพิจารณาผลที่ได้รับหลังจากการเข้าร่วมฝึกอบรม
2.เพื่อพิจารณาดูจุดดีและจุดบกพร่องของการฝึกอบรมเพื่อนำมาปรับปรุงให้ดีขึ้น
3.เพื่อให้ผู้บริหารตัดสินใจในการฝึกอบรมต่างๆ
4.เพื่อดูความเหมาะสมของเนื้อหาวิชาและหลักสูตรว่าเหมาะสมกับผู้รับการอบรมหรือเปล่า
5.เพื่อดูผลสำเร็จของผู้เข้ารับการอบรมว่าเข้าใจและพัฒนาศักยภาพหลังจากอบรมหรือไม่
6.เพื่อตรวจสอบการดำเนินการ อุปกรณ์ วิทยากร เจ้าหน้าที่่ หรือผู้ประสานงานการฝึกอบรมเพื่อแก้ปัญหาตางๆ

3.อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ คุณภาพของการประเมินการประเมินผลจะให้ได้ผลนั้น จะต้องมีความเข้าใจว่า ต้องการผลมาเพื่อการแก้ไขปรับปรุงการดำเนินงานและไม่ใช่เพียงแต่บอกว่าดี ไม่ดี พอใช้ แต่จะต้องกำกับให้การประเมินผลตรงเป้าหมาย เชื่อถือได้ความสมบรูณ์หรือวัดอย่างเพียงพอที่จะนำมาปรับปรุงงานได้
ระดับของการประเมินผลอาจแบ่งเป็น 4 ระดับ คือ
1.ระดับที่ตั้งเป้าหมายพื้นฐานว่าความรู้ที่เพิ่มขึ้น หรือความเจริญก้าวหน้าของผู้ได้รับการฝึกอบรมที่พอใจนั้นอยู่ที่ไหน ระดับไหน
2.การประเมินกระบวนการฝึกอบรมที่ใช้หรือวิธีการดำเนินการฝึกอบรม ว่าถูกต้องตามหลักทฤษฎีและวิธีดำเนินการส่งเสริมหรือไม่
3.ประเมินวิธีการสอนของวิทยาการแต่ละคน แต่ละกลุ่มว่าได้ผลดีไม่ดีเพียงไร ที่ดีจะได้เอาไว้เป็นแบบอย่าง
4.ประเมินความรู้ที่เพิ่มขึ้นหรือความก้าวหน้าของผู้รับการฝึกอบรม ว่าความรู้ของผู้เรียนที่ได้เพิ่มขึ้นจากการเรียนหรือการฝึกอบรมมากน้อยเพียงใด
ส่วนประกอบที่สำคัญของการประเมินผล
การประเมินผลทางการอบรม คือการนำผลของความแตกต่างของระดับพฤติกรรมของผู้รับการฝึกอบรมและก่อนอบรม ความสำคัญที่จะต้องกำหนด คือ
1.การตั้งระดับหรือเกณฑ์ สำหรับการอบรมแต่ละครั้งว่าระดับไหนหรือแค่ไหนจึงจะถือว่าเป็นความก้าวหน้าของการดำเนินการ
2.การวางแผนการประเมินผลการดำเนินการอบรม
3.การประเมินวิธีการฝึกอบรมแต่ละวิธี แต่ละเรื่อง ว่าจะใช้วิธีอะไรบ้าง อย่างไร
4.การประเมินผลความก้าวหน้าของการเรียนรู้ของผู้เข้าร่วมฝึกอบรม หรือารบรุถึงระดับความสำเร็จในการเรียนรู้ของผู้เข้าร่วมฝึกอบรม ว่าบรรลุที่แท้จริงหรือไม่
ระยะประเมินผลการฝึกอบรม
ทำได้ 3 ระยะ คือ
1. ก่อนการฝึกอบรม
2. ระหว่างการฝึกอบรม
3. ภายหลังการฝึกอบรม

 

 
ส.อ.ศุภกฤต อ่ำช้าง 1193
1. อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม
ตอบ คือ ขั้นตอนการปฏิบัติที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ทักษะ หรือความชำนาญ ตลอดจน ประสบการณ์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไปตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้เพื่อให้การฝึกอบรมเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลแก่บุคคล งาน และหน่วยงานมากที่สุดเพื่อจะได้เป็นพื้นฐานและนำไปสู่ความเข้าใจที่ละเอียดมากยิ่งขึ้น และขั้นตอนในการฝึกอบรมนั้น มีดังนี้
1การสำรวจความจำเป็นในการฝึกอบรม
2การจัดหลักสูตรฝึกอบรม
3.การวางแผนโครงการฝึกอบรม
4.การดำเนินงานฝึกอบรม
5.การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรม
6.การจัดทำรายงานสรุปผล

2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
ตอบ ครื่องมือที่สำคัญ ซึ่งใช้ในระดับของการประเมินพฤติกรรมในการทางานมีเพียง 3 ชนิด คือ แบบสอบถามละแบบ สัมภาษณ์ เพื่อติดตามผลการฝึกอบรม และแบบสอบวัดการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านทัศนคติหรือที่เรียกว่า แบบสอบวัดทัศนคติ แบบสอบถาม เพื่อใช้ติดตาม ผลการฝึกอบรมนั้นอาจมีความหลากหลายกันไป ขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงกรฝึกอบรมที่ต้องการ

3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ 1. เพื่อพิจารณาผลที่ได้รับหลังจากการเข้าร่วมฝึกอบรม
2. เพื่อพิจารณาดูจุดดีและจุดบกพร่องของการฝึกอบรมเพื่อนำมาปรับปรุงให้ดีขึ้น
3. เพื่อให้ผู้บริหารตัดสินใจในการฝึกอบรมต่างๆ
4. เพื่อดูความเหมาะสมของเนื้อหาวิชาและหลักสูตรว่าเหมาะสมกับผู้รับการอบรมหรือเปล่า
5. เพื่อดูผลสำเร็จของผู้เข้ารับการอบรมว่าเข้าใจและพัฒนาศักยภาพหลังจากอบรมหรือไม่
6. เพื่อตรวจสอบการดำเนินการ อุปกรณ์ วิทยากร เจ้าหน้าที่ หรือผู้ประสานงานการฝึกอบรมเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ
สิบเอก จักรภาพ กุดถวิล รหัส 65423471188
1. อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม
ตอบ กระบวนการจัดการที่ให้ความรู้ ทักษะต่างๆ ให้ผู้เข้าอบรม ให้เกิดความเข้าใจเพื่อพัฒนาและเปลี่ยนพฤติกรรมในการพัฒนามนุษย์ การบริหารโครงการฝึกอบรมจะมีขั้นตอนดังนี้
การหาความจำเป็นในการฝึกอบรม การสร้างหลักสูตร, การกำหนดกิจกรรมการฝึกอบรม, การบริหาร, การประเมินและติดตามผล, การฝึกอบรมจะมีผู้ที่เกี่ยวข้อง ยกตัวอย่างเช่น ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ผู้จัดการฝึกอบรม เป็นต้น ซึ่งสิ่งที่ควรนำมาพิจรณา
2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
ตอบ ความสำเร็จของการฝึกอบรม,ความเหมาะสมของหลักสูตร, กระบวนการในการจัดฝึกอบรม, ปฏิกิริยาตอบสนอง, การเรียนรู้, การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการทำงาน, ผลที่เกิดต่อหน่วยงาน
3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ การประเมินก่อนการฝึกอบรม, การประเมินผลหลังการฝึกอบรม, การประเมินก่อนและหลังการฝึกอบรม, การประเมินผลระหว่างฝึกอบรม, การประเมินผลเพื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์การปฏิบัติทำงาน
ส.ท.กฤษดากร แสวงผล
รหัสนักศึกษา65423471163

1. ให้ความหมายของการฝึกอบรม  อธิบายบทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
ตอบ = การฝึกอบรม คือ กระบวนการที่ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดการเรียนรู้ในรูปแบบหนึ่ง เพื่อเพิ่มพูนหรือพัฒนาสมรรถภาพในด้านต่างๆตลอดจนการปรับปรุงพฤติกรรม อันนำมาซึ่งการแสดงออกที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
บทบาทและประโยชน์ของการฝึกอบรม
1. บุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานให้ดียิ่งขึ้น และสร้างผลสำเร็จได้ดียิ่งขึ้น
2. องค์กรมีองค์ความรู้ใหม่ๆ เกิดขึ้น เป็นประโยชน์ต่อการทำงานขององค์กร
3. องค์กรมีทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ไม่สะเปะสะปะ ไปถึงเป้าหมายได้ง่ายขึ้น
4. สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรได้
5. สามารถช่วยลดต้นทุนในการประกอบการได้ เนื่องจากการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
6. พนักงานมีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา

2. อธิบายความหมายการวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
ตอบ = การวิเคราะห์งาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง เพื่อให้เกิดความเข้าใจถึงความหมายของการวิเคราะห์งาน ควรพิจารณามองภาพความสัมพันธ์ของขั้นตอนและกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นในกระบวนการทำงานของบุคลาภายในแต่ละองค์การ ดังต่อไปนี้
          การทำงาน (Work) หมายถึง กิจกรรมที่บุคลากรใดบุคลากรหนึ่งกระทำขึ้นด้วยกำลังกายและกำลังใจ เพื่อจุดมุ่งหมายหนึ่งที่ตนต้องการ เช่น เพื่อการดำรงชีวิต  เพื่อความสบายใจ หรือเพื่อช่วยส่งเสริมสังคม เป็นต้น
          ตำแหน่ง (Position) หมายถึง หน้าที่และความรับผิดชอบที่องค์การมอบหมายให้บุคลากรแต่ละคนโดยจำนวนตำแหน่งจะมีมากเท่ากับจำนวนบุคลากรในองค์การนั้น
           งาน (Job) หมายถึง กลุ่มของตำแหน่งที่มีชนิดและระดับของงานเหมือนกัน ตัวอย่างเช่น บริษัทแห่งหนึ่งประกอบด้วย ผู้จัดการ 1 คน ผู้ช่วยผู้จัดการ 1 คน พนักงานขาย 10 คน เสมียน 3 คน และพนักงานส่งของ 2 คน ดังนั้นบริษัทนี้จึงมีตำแหน่ง 17 ตำแหน่ง แต่มีงาน 4 งาน ได้แก่ ผู้บริหาร พนักงานขาย เสมียน และพนักงานส่งของ
            อาชีพ (Occupation) หมายถึง กลุ่มของงาน (Job) ที่มีลักษณะคล้ายกัน และผู้ประกอบอาชีพนั้นจะปฏิบัติงานโดยวิธีการอย่างเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน เช่น แพทย์ วิศวกร และนักบัญชี เป็นต้น
           ความหมายของศัพท์ข้างต้น แสดงให้เห็นว่าบุคลากรแต่ละคนจะปฏิบัติงานในส่วนต่างๆ ขององค์การตามสาขาอาชีพของตน หรือตามตำแหน่งงานที่ได้รับการแต่งตั้ง ก่อนที่องค์การจะสามารถจัดสรรให้บุคลากรปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสมนั้น มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์จะต้องทำการศึกษาและวิเคราะห์งาน เพื่อให้ได้ข้อมูลและเข้าใจถึงธรรมชาติหรือลักษณะเฉพาะของงานนั้นๆ ที่จะส่งผลให้องค์การสามารถที่จะจัดหาและจัดสรรบุคลากรที่เหมาะสมกับงานและตำแหน่งได้เป็นอย่างดี ซึ่งจะทำให้องค์การดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดการพัฒนาและการเจริญเติบโตขององค์การความหมายของการวิเคราะห์งาน มีผู้บัญญัติความหมายไว้หลายท่าน สามารถเป็นแนวทางในการหาข้อสรุปเพื่อการนำไปใช้งาน
บทบาทและประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
การวิเคราะห์งานเป็นกระบวนการที่มีการจัดการอย่างเป็นระบบที่ถูกนำมาใช้ในการศึกษารวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงาน เพื่อที่จะได้สารสนเทศของงานนั้นเพียงพอต่อการที่จะนำไปใช้ประโยชน์ในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ โดยสารสนเทศที่ได้จากการวิเคราะห์งานสามารถนำมาจัดหมวดหมู่เพื่อประยุกต์ใช้งานในการจัดการทรัพยากรขององค์การได้ ตั้งแต่เอกสารบรรยายลักษณะงาน เอกสารระบุข้อกำหนดของงาน มาตรฐานการทำงาน และเกณฑ์ในการประเมินค่างาน
ความสัมพันธ์ระหว่างการวิเคราะห์งานกับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรมนุษย์จะพบว่าการวิเคราะห์งานไม่เพียงแต่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมด้านทรัพยากรมนุษย์เท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับกิจกรรมด้านทรัพยากรมนุษย์ในลักษณะอื่นๆ อีกมากมาย จากการนำสารสนเทศที่ได้จากการวิเคราะห์งานไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ขององค์การ มีดังต่อไปนี้

3. การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมต้องพิจารณาอะไรบ้าง
ตอบ = 1. มีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน
                2. จะต้องทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีบรรยากาศของการอบรมที่ไม่เครียด สนุกสนานเพลิดเพลินกับกิจกรรมที่วิทยากรถ่ายทอดและกระตุ้นให้อยากรู้ สร้างการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในห้องเรียนในบรรยากาศของความเป็นกันเอง
                3. วิทยากรจะต้องเป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการทำงาน มีความสามารถในการถ่ายทอด
                4. มีการประเมินความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ความสามารถ ทั้งของวิทยากรและผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ของผู้เข้ารับการฝึกอบรมและการบรรลุเป้าหมายของโครงการฝึกอบรมนั้นด้วย
ส.ท.กฤษดากร แสวงผล
รหัสนักศึกษา65423471163

1. อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม 
ตอบ = 1. การหาความจำเป็นในการฝึกอบรม หมายถึง การค้นหาปัญหาที่เกิดขึ้นในองค์กรหรือในหน่วยงาน ว่ามีปัญหา เรื่องใด บ้าง ที่จะสามารถแก้ไขให้หมดไปหรืออาจทำให้ทุเลาลงได้ด้วยการฝึกอบรม โดยรวมไปถึงการพยายาม หาข้อมูลด้วยว่า กลุ่มบุคลากร เป้าหมายที่จะต้องเข้ารับการอบรมเป็นกลุ่มใด ตำแหน่งงานอะไร มีจำนวนมากน้อยเพียงใด ควรจะต้องจัดเป็น โครงการฝึกอบรมให้ หรือเพียงแต่ส่งไปเข้ารับการอบรมภายนอกองค์การเท่านั้น มีภารกิจใดบ้างที่ควรจะต้องแก้ไข ปรับปรุง ด้วยการฝึกอบรม พฤติกรรม ประเภทใดบ้างที่ควรจะต้องเปลี่ยนแปลงด้านความรู้ ทักษะ ทัศนคติ หรือประสบการณ์ ทั้งนี้ สภาพการณ์ที่เป็นปัญหา และแสดงถึง ความจำเป็น ในการฝึกอบรมอาจมีทั้งที่ปรากฎชัดแจ้ง และเป็นสภาพการณ์ที่ ซับซ้อนจำเป็น ต้องวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาเพื่อค้นหา วิธีการที่ใช้ในการวิเคราะห์หาความจำเป็นในการฝึกอบรมมีหลายหลายวิธี เช่น การสำรวจ การสังเกตการณ์ การทดสอบ และการประชุม เป็นต้น 
    2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
ตอบ = การประเมิน/ติดตามผลการฝึกอบรม มีประเด็นในการประเมิน คือ
             1. ทัศนคติทั่วไปของผู้เข้ารับการฝึกอบรม
             2. ความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานที่ ระยะเวลา และสิ่งที่อำนวยความสะดวกต่างๆ
             3. คุณสมบัติและวิธีการที่วิทยากรแต่ละคนใช้ในการฝึกอบรม
             4. ข้อดีและข้อเด่น หรือข้อบกพร่องต่างๆ พร้อมข้อเสนอแนะ
3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ = 1. มีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน
                2. จะต้องทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีบรรยากาศของการอบรมที่ไม่เครียด สนุกสนานเพลิดเพลินกับกิจกรรมที่วิทยากรถ่ายทอดและกระตุ้นให้อยากรู้ สร้างการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในห้องเรียนในบรรยากาศของความเป็นกันเอง
                3. วิทยากรจะต้องเป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการทำงาน มีความสามารถในการถ่ายทอด
                4. มีการประเมินความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ความสามารถ ทั้งของวิทยากรและผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ของผู้เข้ารับการฝึกอบรมและการบรรลุเป้าหมายของโครงการฝึกอบรมนั้นด้วย
ส.ท.กฤษฎากรณ์ บุญแก้ว 1169
1 ตอบ กระบวนการหรือ ขั้นตอนการปฏิบัติในอันที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ทักษะ หรือความชำนาญ ตลอดจน ประสบการณ์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไปตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้”
2 ตอบ ในการดำเนินกิจกรรมใดๆก็ตามเรามักจะต้องมีเป้าหมายหรือวัตถุปะสงค์ไว้ ก่อนว่าเราทำกิจกรรมนั้นๆเพื่ออะไร และการที่จะรับรู้ว่ากิจกรรมดังกล่าวประสบผลสำเร็จหรือไม่คงต้องอาศัย การประเมินผล (Evaluation) มาใช้เป็นเครื่องมือที่สำคัญ เช่นเดียวกับ การฝึกอบรม (Training) คงต้องมีเทคนิคการจัดวางเส้นทางฝึกอบรม (Training Roadmap) เพื่อทราบถึงความสำเร็จในการจัดการฝึกอบรมแต่ละครั้งว่าสามารถทำให้พนักงานมีความรู้ (Skill) ทักษะ (Skill) และปรับทัศนติ (Attitude) ได้ ตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ต้องการหรือไม่ นักฝึกอบรมในหน่วยงานต่างๆมักมีการประเมินผลการฝึกอบรมกันเป็นประจำอาจจะ เป็นทั้งระหว่างการฝึกอบรม เมื่อสิ้นสุดการฝึกอบรม และอาจมีการติดตามไปประเมินในการทำงานจริงว่าผู้รับการฝึกอบรมสามารถนำเอา สิ่งที่ได้เรียนไปใช้ในการทำงานได้จริงหรือไม่
3 ตอบ กระบวนการพิจารณา วินิจฉัย เพื่อให้ทราบว่าการกระทำ กิจกรรมหรืองานต่างๆที่เราได้ทำไปนั้นเกิดผลอย่างไร โดยการสังเกตเก็บข้อมูลตัวเลขของผลที่ออกมานั้น แล้วเอามาเปรียบเทียบหรือวัดกันกับเกณฑ์วัตถุประสงค์หรือมาตรฐานที่เราอยู่หรือตั้งขึ้น จากนั้นเราก็สรุปหรือตัดสินใจว่าดีหรือไม่ดี สูงหรือต่ำกว่ามาตรฐานมากน้อยเพียงใด ควรปรับปรุงแก้ไขตรงไหน
สิ่งสำคัญในการประเมินผล 3 ประการ ที่จะต้องทำ คือ
1. ต้องศึกษา สังเกต ตรวจสอบผลการดำเนินงาน คือ เก็บข้อมูลตัวเลขของการดำเนินงานว่าทำได้เพียงไร ตรงตามวัตถุแระสงค์ในด้านต่างๆที่เราตั้งไว้หรือไม่
2. เอามาตรฐาน เป้าหมายเข้าจับ หรือวัดว่า สูงหรือต่ำกว่า เป้าหมายที่ตั้งไว้มากน้อยเพียงไร
3. ประมวลผลรวมการตัดสิน สรุปว่า สูง ต่ำ ปานกลาง ใช้ได้หรือใช้ไม่ได้แล้วตัดสินใจจะปรับปรุงแก้ไขอย่างไร
ส.อ.เจษฎา สหัสรังษี รหัส 1189

1. อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม
ตอบ กระบวนการฝึกอบรม หมายถึง “กระบวนการหรือ ขั้นตอนการปฏิบัติในอันที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ทักษะ หรือความชำนาญ ตลอดจน ประสบการณ์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไปตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้”
ขั้นตอนของการฝึกอบรม ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ประเมินความต้องการด้านการฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 2 เตรียมการและวางแผนการฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 3 ดำเนินการฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 4 ประเมินผลการฝึกอบรม การฝึกอบรมเชิงระบบเปรียบเสมือน
         2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
ตอบ  2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินปฏิกิริยา
1) แบบประเมินโครงการ
        2) แบบประเมินรายวิชา
2.2.เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้
2.3 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินพฤติกรรมในการทำงาน
2.4 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลลัพธ์ จะต้องมีคุณสมบัติที่ดีของเครื่องมือในการประเมินผล ซึ่งได้แก่
1. ความเที่ยงตรง (Validity)
2. ความเชื่อมั่น (Reliability)
3. ความเป็นกลางปราศจากอคติ (Objectivity)
4. ความเหมาะสมที่จะนำไปใช้ (Practicability)
5. ความง่าย (Simplicity)
         3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ ผู้รับผิดชอบการติดตามและประเมินผลโครงการฝึกอบรม ควรจะมีขั้นตอนการติดตามและ ประเมินผลโครงการฝึกอบรม ดังนี้.
1 กำหนดวัตถุประสงค์การประเมิน
2 ขั้นวางแผนการประเมิน
3 กำหนดแหล่งที่มา ของข้อมูล
4 กำหนดช่วงเวลาจัดเก็บข้อมูล
5 กำหนดเทคนิคหรือวิธีการและเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูล
6 กำหนดวิธีการ วิเคราะห์ข้อมูล โดยอาจกำหนดเป็นตาราง

1.อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม
ด้านของบุคลากร เพื่อนำไปปฏิบัติงานให้ประสบความสำเร็จ ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่
ขั้นตอนที่ 1 ประเมินความต้องการด้านการฝึกอบรม
ขั้นตอนที่ 2 เตรียมการและวางแผนการฝึกอบรม
ขั้นนตอนที่ 3 ดำเนินการฝึกอบรม
ขั้นตอนที่ 4 ประเมินผลการฝึกอบรม การฝึกอบรมเชิงระบบเปรียบเสมือนกับพาราไดม์ใหม่ เป็นการมุ่งเน้นผู้เข้ารับการอบรม
2.อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
กระบวนการพิจารณา วินิจฉัย เพื่อให้ทราบว่าการกระทำ กิจกรรมหรืองานต่างๆที่เราได้ทำไปนั้นเกิดผลอย่างไร โดยการสังเกตเก็บข้อมูลตัวเลขของผลที่ออกมานั้น แล้วเอามาเปรียบเทียบหรือวัดกันกับเกณฑ์วัตถุประสงค์หรือมาตรฐานที่เราอยู่หรือตั้งขึ้น จากนั้นเราก็สรุปหรือตัดสินใจว่าดีหรือไม่ดี สูงหรือต่ำกว่ามาตรฐานมากน้อยเพียงใด ควรปรับปรุงแก้ไขตรงไหน
สิ่งสำคัญในการประเมินผล 3 ประการ ที่จะต้องทำ คือ
1. ต้องศึกษา สังเกต ตรวจสอบผลการดำเนินงาน คือ เก็บข้อมูลตัวเลขของการดำเนินงานว่าทำได้เพียงไร ตรงตามวัตถุแระสงค์ในด้านต่างๆที่เราตั้งไว้หรือไม่
2. เอามาตรฐาน เป้าหมายเข้าจับ หรือวัดว่า สูงหรือต่ำกว่า เป้าหมายที่ตั้งไว้มากน้อยเพียงไร
3. ประมวลผลรวมการตัดสิน สรุปว่า สูง ต่ำ ปานกลาง ใช้ได้หรือใช้ไม่ได้แล้วตัดสินใจจะปรับปรุงแก้ไขอย่างไร
3.อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
การประเมินผลการฝึกอบรมเพื่อให้ได้ข้อมูลครอบคลุม จะต้องประเมินผู้เกี่ยวข้องกับการอบรมทั้งหมด คือ
1. มีความสอดคล้องกับความจำเป็นในการฝึกอบรม
2. มีความชัดเจน เข้าใจง่าย ระบุพฤติกรรมที่ต้องการให้เปลี่ยนแปลงได้เจาะจงมากที่สุด
3. มีความเป็นไปได้
4. สามารถวัดและประเมินผลหลังการฝึกอบรมได้
องค์ประกอบการประเมินที่สำคัญในการจัดการและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และเป็นกุญแจสำคัญในการสร้างแรงจูงใจของพนักงานในการปรับปรุงการปฏิบัติงาน ซึ่งการฝึกอบรมมีวัตถุประสงค์ต่อไปนี้
1.เพื่อช่วยให้ทุกคนมีความเป็นเอกภาพและเคารพในการทำงานเป็นทีม
2.เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้บริหารและพนักงานปฏิบัติการ
3..เพื่อพัฒนาความรู้ ความช านาญและทักษะที่จะช่วยให้พนักงานได้พบกันความต้องการของลูกค้าที่มีคุณภาพระดับสูงขึ้น
4.เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของพนักงานและสร้างความเข้มแข็งในการแข่งขัน ความได้เปรียบ
5.เพื่อปรับปรุงบุคลิกส่วนตัวและความสามารถระดับมืออาชีพ
6.เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพทางธุรกิจ




ส.ท.อานนท์ณัฏฐ์ จำเนียรทอง 1160 said…
ส.ท.อานนท์ณัฏฐ์ จำเนียรทอง 1160
ข้อที่1 ตอบ กระบวนการในการฝึกอบรม
นักวิชาการศึกษา ได้ให้ความหมายของกระบวนการฝึกอบรมไว้ ดังต่อไปนี้
ได้ประมวลข้อมูลจากประสบการณ์การทางานด้าน ฝึกอบรมเป็นเวลานาน และสรุปว่า ขั้นตอนในการฝึกอบรมที่มีความกระชับ และสามารถนาไปใช้ได้ ง่าย มี 5 ขั้นตอน ดังนี้
1. การหาความจาเป็นของการฝึกอบรม
2. การสร้างหลักสูตร
3. การเลือกใช้เทคนิคต่าง ๆ ในการฝึกอบรม
4. การดาเนินการฝึกอบรม
5. การติดตามประเมินผล
. ข้อที่2 อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
ตอบ ความสำเร็จของการฝึกอบรม,ความเหมาะสมของหลักสูตร, กระบวนการในการจัดฝึกอบรม, การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการทำงาน, ผลที่เกิดต่อหน่วยงาน
ข้อที่ 3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ = 1. มีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน
2. จะต้องทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีบรรยากาศของการอบรมที่ไม่เครียด สนุกสนานเพลิดเพลินกับกิจกรรมที่วิทยากรถ่ายทอดและกระตุ้นให้อยากรู้ สร้างการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในห้องเรียน
3. วิทยากรจะต้องเป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการทำงาน
4. มีการประเมินความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ความสามารถ ทั้งของวิทยากรและผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม
จ.อ.สมบูรณ์ สุทธิผล รหัสนักศึกษา 1185
1. อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม

ตอบ กระบวนการฝึกอบรม หมายถึง “กระบวนการหรือ ขั้นตอนการปฏิบัติในอันที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ทักษะ หรือความชำนาญ ตลอดจน ประสบการณ์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไปตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้”

กระบวนการฝึกอบรมมีขั้นตอนที่สำคัญ 5 ขั้นตอน ซึ่งผู้รับผิดชอบจัด โครงการ ฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรแต่ละโครงการควรจะต้องดำเนินการในแต่ละขั้นตอนอย่างครบถ้วน เพื่อให้เป็นการฝึกอบรมอย่างเป็นระบบ มีความสมบูรณ์ และเกิดผลสำเร็จตรงตามเป้าหมาย ซึ่งอาจให้ความหมายและคำอธิบายย่อๆ สำหรับแต่ละขั้นตอน ของกระบวนการ ฝึกอบรมได้ ดังนี้
1. การหาความจำเป็นในการฝึกอบรม
2. การสร้างหลักสูตรฝึกอบรม
3. การกำหนดโครงการฝึกอบรม
4. การบริหารโครงการฝึกอบรม
5. การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรม
ในการจัดฝึกอบรมแต่ละโครงการนั้น ผู้รับผิดชอบจัดการฝึกอบรมจะสามารถ ตรวจสอบว่าการดำเนินงานของตน เป็นการฝึกอบรมอย่างมีระบบหรือไม่ ได้ด้วยการตอบคำถามดังต่อไปนี้ให้ได้ครบ ทุกข้อ คือ
1) ทำไมจึงต้องจัดการฝึกอบรม แน่ใจแล้วใช่หรือไม่ ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นจะแก้ไขได้ด้วยการฝึกอบรม
2) ใครเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย และใครเป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องบ้าง
3) จะฝึกอบรมไปเพื่ออะไร พฤติกรรมอะไรบ้างที่ต้องการจะให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
4) จะฝึกอบรมในเรื่องอะไรบ้าง หลักสูตรฝึกอบรมจะเป็นอย่างไร
5) จะฝึกอบรมอย่างไร มีความพร้อมในด้านใดบ้าง
6) ฝึกอบรมแล้วได้ผล หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงตามวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมหรือไม่

2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม

ตอบ การประเมินผลการฝึกอบรม ต้องประเมินผู้เกี่ยวข้องกับการอบรมทั้งหมด
ได้แก่
1.ผู้เข้ารับการฝึกอบรม
2.วิทยากรผู้ให้การอบรม
3.ผู้จัดการฝึกอบรม
4.หน่วยงาน องค์การที่เป็นเจ้าของโครงการ
5.ผู้ได้รับผลกระทบจากโครงการอบรม เช่น ผู้บังคัับบัญชา/ประธาน/ผู้รับผิดชอบ

3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ 1. มีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน
2. จะต้องทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีบรรยากาศของการอบรมที่ไม่เครียด สนุกสนานเพลิดเพลินกับกิจกรรมที่วิทยากรถ่ายทอดและกระตุ้นให้อยากรู้ สร้างการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในห้องเรียนในบรรยากาศของความเป็นกันเอง
3. วิทยากรจะต้องเป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการทำงาน มีความสามารถในการถ่ายทอด
4. มีการประเมินความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ความสามารถ ทั้งของวิทยากรและผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ของผู้เข้ารับการฝึกอบรมและการบรรลุเป้าหมายของโครงการฝึกอบรมนั้นด้วย
ส.ท.ณัฐปคัลภ์ รอดสวัสดิ์ 1157
1. อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม
-การฝึกอบรมเป็นกระบวนการพัฒนาบุคคล  ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน  โดยจะต้องดำเนินไปตามลำดับขั้นตอนและต่อเนื่อง  เพื่อให้การฝึกอบรมเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลแก่บุคคล  งาน  และหน่วยงานมากที่สุด  เพื่อจะได้เป็นพื้นฐานและนำไปสู่ความเข้าใจที่ลึกซึ้งและละเอียดยิ่งขึ้น  และกิจกรรมสำคัญที่ทำให้เกิดวิธีการจัดการฝึกอบรมหรือกระบวนการฝึกอบรมทั้ง  6  ขั้น  คือ
1.       การสำรวจความจำเป็นในการฝึกอบรม
2.       การจัดหลักสูตรฝึกอบรม
3.       การวางแผนโครงการฝึกอบรม
4.       การดำเนินงานฝึกอบรม
5.       การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรม
6.       การจัดทำรายงานสรุปผ

2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
-1. ต้องศึกษา สังเกต ตรวจสอบผลการดำเนินงาน คือ เก็บข้อมูลตัวเลขของการดำเนินงานว่าทำได้เพียงไร ตรงตามวัตถุแระสงค์ในด้านต่างๆที่เราตั้งไว้หรือไม่
    2. เอามาตรฐาน เป้าหมายเข้าจับ หรือวัดว่า สูงหรือต่ำกว่า เป้าหมายที่ตั้งไว้มากน้อยเพียงไร
    3. ประมวลผลรวมการตัดสิน สรุปว่า สูง ต่ำ ปานกลาง ใช้ได้หรือใช้ไม่ได้แล้วตัดสินใจจะปรับปรุงแก้ไขอย่างไร
วัตถุประสงค์ของการประเมินผลการอบรม
          1. เพื่อพิจารณาผลที่ได้รับหลังจากการเข้าร่วมฝึกอบรม
                2. เพื่อพิจารณาดูจุดดีและจุดบกพร่องของการฝึกอบรมเพื่อนำมาปรับปรุงให้ดีขึ้น
                3. เพื่อให้ผู้บริหารตัดสินใจในการฝึกอบรมต่างๆ
                4. เพื่อดูความเหมาะสมของเนื้อหาวิชาและหลักสูตรว่าเหมาะสมกับผู้รับการอบรมหรือเปล่า
                5. เพื่อดูผลสำเร็จของผู้เข้ารับการอบรมว่าเข้าใจและพัฒนาศักยภาพหลังจากอบรมหรือไม่
                6. เพื่อตรวจสอบการดำเนินการ อุปกรณ์  วิทยากร เจ้าหน้าที่ หรือผู้ประสานงานการฝึกอบรมเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ

3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
-แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า ตลอดระยะเวลาของโครงการ จะมีผลงานหรือผลลัพธ์ที่เป็นเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ ที่คาดว่าจะทำให้เกิดขึ้นในระยะเวลาที่กำหนด อาจเป็นจำนวนหรือร้อยละหรือระดับคุณภาพ
การเขียนเป้าหมายควรมีลักษณะดังนี้
1. กำหนดเป็นตัวเลขหรือปริมาณ  
2. สามารถวัดและประเมินผลได้
จ.อ.วรากร บัวทอง 1117

1. อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม

ตอบ การฝึกอบรม คือ กระบวนการในอันที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ และความชำนาญในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ การจัดโครงการฝึกอบรม เป็นเพียงหนึ่ง ในหลายวิธีการในการพัฒนาบุคลากรขององค์กร และการฝึกอบรมจะบังเกิดผลดีต่อเมื่อผู้รับผิดชอบดำเนินการอย่างมีระบบ ซึ่งจะเกิดขึ้น ได้หากผู้รับผิดชอบจัดการฝึกอบรมมีความเข้าใจถึงกระบวนการฝึกอบรม และวิธีดำเนินการในแต่ละขั้นตอนอย่างเหมาะสม ก่อนที่จะทำความเข้าใจถึงแต่ละขั้นตอนของกระบวนการฝึกอบรมในรายละเอียด เราอาจมองกระบวนการฝึกอบรม เพื่อพัฒนาบุคลากรอย่างคร่าว ๆ
กระบวนการฝึกอบรม หมายถึง “กระบวนการหรือ ขั้นตอนการปฏิบัติในอันที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ทักษะ หรือความชำนาญ ตลอดจน ประสบการณ์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไปตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้”
2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม

ตอบ การประเมินผลการฝึกอบรม ต้องประเมินผู้เกี่ยวข้องกับการอบรมทั้งหมด
ได้แก่
1.ผู้เข้ารับการฝึกอบรม
2.วิทยากรผู้ให้การอบรม
3.ผู้จัดการฝึกอบรม
4.หน่วยงาน องค์การที่เป็นเจ้าของโครงการ
5.ผู้ได้รับผลกระทบจากโครงการอบรม เช่น ผู้บังคับบัญชา/ประธาน/ผู้รับผิดชอบ

3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ การประเมินปัจจัยนำเข้า (Inputs Evaluation) เป็นการประเมินที่อาศัยข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรที่ใช้ในการฝึกอบรม เพื่อการศึกษาทางเลือกระหว่างปัจจัยนำเข้าของโครงการฝึกอบรม การประเมินปัจจัยนำเข้าเป็นการประเมินว่ามีทรัพยากรอะไร และจะใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างไรถึงจะมีโอกาสมากที่สุดในการบรรลุวัตถุประสงค์ ทั้งนี้เพราะงบประมาณและความต้องการทางด้านการจัดการ อาจไม่เปิดโอกาสให้ใช้ทางเลือกบางอย่างที่ต้องการได้ โดยที่คำถามในเรื่องนี้มักจะมุ่งที่ประเด็นดังต่อไปนี้
1.ข้อดีและข้อเสียเชิงเปรียบเทียบของวิธีการต่างๆมีอะไรบ้าง
2.เป็นไปได้หรือไม่ที่องค์การภายนอกจะทำการฝึกอบรมได้ดีกว่า
3.ควรจะทำการฝึกอบรมโดยใช้ทรัพยากรภายในหรือไม่
4.ควรให้มีองค์การหรือสายงานเกี่ยวข้อทำหรือไม่
5.มีเวลาเพียงพอสำหรับโครงการหรือไม่
6.องค์กรได้ผลอะไรบ้างจากการมีโครงการดังกล่าว
เราจะเห็นว่า การประเมินปัจจัยนำเข้าจะมุ่งไปที่กระบวนการหาข้อมูลและใช้ข้อมูลเพื่อตัดสินเกี่ยวกับวิธีการดำเนินโครงการ
1. อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม
เป็นกระบวนการที่ทำให้ผู้เข้าฝึกอบรมเกิดความรู้ความเข้าใจ ทักษะ และทัศนะคติในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้การจัดฝึกอบรมเป็นเพียงหนึ่งในหลากหลายวิธีในการบริหารทรัพยากรมนุษย์
ขั้นตอนของการฝึกอบรม
เริ่มจากการติดต่อประสานงาน
การจัดเตรียมเอกสาร
การจัดเตรียมยานพาหนะ
การดำเนินการทางด้านวิยาการ
การทดสอบ ประเมินผล และปิดการฝึกอบรม

2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
2.1 ความสำเร็จของการฝึกอบรม เช่น ต้องพิจารณาจากความสำเร็จต่างๆ
2.2 ความเหมาะสม เช่น การพิจารณาจากการสร้างความรู้ความเข้าใจ การสร้างทักษะ และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เข้าฝึกอบรม
2.3 กระบวนการในการจัดการฝึกอบรม เช่น วิธีการการดำเนินการความเหมาะสมในการจัด และผู้เข้าอบรมมีทัศนคติที่ดีหรือไม่ดีอย่างไร

3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ความสำเร็จของการจัดการฝึกอบรมขึ้นอาจมาจาก ผู้เข้าฝึกอบรมเกิดความรู้ความเข้าใจ ทักษะ และทัศนะคติในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดหากประเมินได้ว่าผู้เข้าฝึกอบรมบรรลุเป้าหมายของจุดประสงค์ของการอบรมแล้วก็ถือได้ว่า การฝึกอบรมนั้นๆ ประสบความสำเร็จแล้ว
Unknown said…
ส.ต.รัฐพล บุตรราช รหัส1168
1. อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม
1.การพิจารณาความต้องการและปัญหาที่ต้องมีการฝึกอบรม
2.เป้าหมายของการฝึกอบรม
3.การกำหนดเนื้อหาและเรื่องที่จะอบรม
4.การกำหนดวิธีที่จะใช้อบรม และสื่อหรือเครื่องมือที่เหมาะสม
5.การดำเนินการอบรม
2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
ตอบ 2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินปฏิกิริยา
1) แบบประเมินโครงการ
2) แบบประเมินรายวิชา
2.2.เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้
2.3 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินพฤติกรรมในการทำงาน
2.4 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลลัพธ์ จะต้องมีคุณสมบัติที่ดีของเครื่องมือในการประเมินผล ซึ่งได้แก่
1. ความเที่ยงตรง (Validity)
2. ความเชื่อมั่น (Reliability)
3. ความเป็นกลางปราศจากอคติ (Objectivity)
4. ความเหมาะสมที่จะนำไปใช้ (Practicability)
5. ความง่าย (Simplicity)
3.การประเมินวิธีการฝึกอบรมแต่ละวิธี แต่ละเรื่อง ว่าจะใช้วิธีอะไรบ้าง อย่างไร
4.การประเมินผลความก้าวหน้าของการเรียนรู้ของผู้เข้าร่วมฝึกอบรม หรือารบรุถึงระดับความสำเร็จในการเรียนรู้ของผู้เข้าร่วมฝึกอบรม ว่าบรรลุที่แท้จริงหรือไม่
ระยะประเมินผลการฝึกอบรม
ทำได้ 3 ระยะ คือ
1. ก่อนการฝึกอบรม
2. ระหว่างการฝึกอบรม
3. ภายหลังการฝึกอบรม
พ.อ.ท.ปิยทัศน์ ธิรินทอง 1040
1. อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม

ตอบ การฝึกอบรม คือ กระบวนการในอันที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ และความชำนาญในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ การจัดโครงการฝึกอบรม เป็นเพียงหนึ่ง ในหลายวิธีการในการพัฒนาบุคลากรขององค์กร และการฝึกอบรมจะบังเกิดผลดีต่อเมื่อผู้รับผิดชอบดำเนินการอย่างมีระบบ ซึ่งจะเกิดขึ้น ได้หากผู้รับผิดชอบจัดการฝึกอบรมมีความเข้าใจถึงกระบวนการฝึกอบรม และวิธีดำเนินการในแต่ละขั้นตอนอย่างเหมาะสม ก่อนที่จะทำความเข้าใจถึงแต่ละขั้นตอนของกระบวนการฝึกอบรมในรายละเอียด เราอาจมองกระบวนการฝึกอบรม เพื่อพัฒนาบุคลากรอย่างคร่าว ๆ
กระบวนการฝึกอบรม หมายถึง “กระบวนการหรือ ขั้นตอนการปฏิบัติในอันที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ทักษะ หรือความชำนาญ ตลอดจน ประสบการณ์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไปตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้”
2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม

ตอบ การประเมินผลการฝึกอบรม ต้องประเมินผู้เกี่ยวข้องกับการอบรมทั้งหมด
ได้แก่
1.ผู้เข้ารับการฝึกอบรม
2.วิทยากรผู้ให้การอบรม
3.ผู้จัดการฝึกอบรม
4.หน่วยงาน องค์การที่เป็นเจ้าของโครงการ
5.ผู้ได้รับผลกระทบจากโครงการอบรม เช่น ผู้บังคับบัญชา/ประธาน/ผู้รับผิดชอบ

3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ 1. มีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน
2. จะต้องทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีบรรยากาศของการอบรมที่ไม่เครียด สนุกสนานเพลิดเพลินกับกิจกรรมที่วิทยากรถ่ายทอดและกระตุ้นให้อยากรู้ สร้างการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในห้องเรียนในบรรยากาศของความเป็นกันเอง
3. วิทยากรจะต้องเป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการทำงาน มีความสามารถในการถ่ายทอด
4. มีการประเมินความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ความสามารถ ทั้งของวิทยากรและผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ของผู้เข้ารับการฝึกอบรมและการบรรลุเป้าหมายของโครงการฝึกอบรมนั้นด้วย
ส.อ.จรินทร์ ทีเกาะ 1155
1. อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม
ตอบ ความหมายของการฝึกอบรมมีหลายความหมาย ดังนี้

การฝึกอบรม หมายถึง “กระบวนการต่างๆ ที่ใช้เพื่อช่วยให้ข้าราชการมีความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ และเพื่อให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างข้าราชการในการปฏิบัติงานร่วมกันในองค์การ” เมื่อมองการฝึกอบรมในฐานะที่เป็นแนวทางในการพัฒนาข้าราชการตามนโยบายของรัฐหากเป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงานหรือเพิ่มขีดความสามารถในการจัดรูปขององค์การ

การฝึกอบรม หมายถึง “การถ่ายทอดความรู้เพื่อเพิ่มพูนทักษะ ความชำนาญ ความสามารถ และทัศนคติในทางที่ถูกที่ควร เพื่อช่วยให้การปฏิบัติงานและภาระหน้าที่ต่างๆ ในปัจจุบันและอนาคตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น”

การฝึกอบรม หมายถึง “กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างมีระบบ เพื่อให้บุคคลมีความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถที่จำเป็น และมีทัศนคติที่ดีสำหรับการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่งของหน่วยงานหรือองค์การนั้น”

การฝึกอบรม หมายถึง “กระบวนการในอันที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ และความชำนาญ ในเรื่องหนึ่งเรื่องใด และเปลี่ยนพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้จะเห็นได้ว่าความหมายของการฝึกอบรมมีมากมาย ขึ้นอยู่กับว่าจะพิจารณาจากแนวคิด (Approach) ใดที่เกี่ยวกับการฝึกอบรม

กล่าวโดยสรุปความหมายของการฝึกอบรม

การฝึกอบรม คือ กระบวนการที่ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดการเรียนรู้ในรูปแบบหนึ่ง เพื่อเพิ่มพูนหรือพัฒนาสมรรถภาพในด้านต่างๆตลอดจนการปรับปรุงพฤติกรรม อันนำมาซึ่งการแสดงออกที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

กระบวนการฝึกอบรม

1 แบ่งโดยยึดช่วงเวลาในการทำงาน มี 2 ประเภท คือ

1. ฝึกอบรมก่อนทำงาน

2. ฝึกอบรมระหว่างทำงาน

2 แบ่งโดยยึดลักษณะวิธีการฝึกอบรม มี 3 ประเภท คือ

1. ฝึกปฏิบัติงานปกติในที่ทำงาน

2. ฝึกอบรมนอกสถานที่ทำงาน (ฝึกอบรมแบบห้องเรียน)

3. ฝึกอบรมแบบผสม

3 แบ่งตามจำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม มี 2 ประเภท คือ

1. ฝึกอบรมเป็นรายบุคคล

2. ฝึกอบรมเป็นคณะ

4 แบ่งตามลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย มี 2 ประเภท คือ

1. ระดับแนวนอน ความรู้ทั่วๆ ไปในแผนกเดียวกัน

2. ระดับแนวตั้ง ความรู้เฉพาะงาน

5แบ่งตามวัตถุประสงค์การฝึกอบรม มี 3 ประเภท คือ

1. เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น (ขัดข้อง)

2. เพื่อป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต (ป้องกัน)

3. เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพสูงขึ้น (พัฒนา)



2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
ตอบ การประเมิน/ติดตามผลการฝึกอบรม มีประเด็นในการประเมิน คือ

1. ทัศนคติทั่วไปของผู้เข้ารับการฝึกอบรม

2. ความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานที่ ระยะเวลา และสิ่งที่อำนวยความสะดวกต่างๆ

3. คุณสมบัติและวิธีการที่วิทยากรแต่ละคนใช้ในการฝึกอบรม

4. ข้อดีและข้อเด่น หรือข้อบกพร่องต่างๆ พร้อมข้อเสนอแนะ


3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ 1. การกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน

2. จะต้องทำให้ผู้เข้าร่วมการฝึกอบรมมีบรรยากาศของการฝึกอบรมที่ไม่เครียด สนุกสนานเพลิดเพลินกับกิจกรรมที่วิทยากรถ่ายทอดและกระตุ้นให้อยากรู้ สร้างการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในห้องเรียนในบรรยากาศของความเป็นกันเอง

3. วิทยากรจะต้องเป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการทำงาน มีความสามารถในการถ่ายทอด

4. มีการประเมินความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ความสามารถทั้งของวิทยากรและผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ของผู้เข้ารับการฝึกอบรมและการบรรลุเป้าหมายของโครงการฝึกอบรมนั้นด้วย
5มีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน
Anonymous said…
จ.ส.อ.จาตุรนต์ สุขสม 1190
1.อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม
ตอบ.กระบวนการฝึกอบรม หมายถึง กระบวนการหรือขั้นตอนการปฏิบัติในอันที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ทักษะ หรือความชำนาญ ตลอดจน ประสบการณ์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไปตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ มีขั้นตอนที่สำคัญ 5 ขั้นตอน
1.การหาความจำเป็นในการฝึกอบรม หมายถึง การค้นหาปัญหาที่เกิดขึ้นในองค์กรหรือในหน่วยงาน ว่ามีปัญหา เรื่องใด บ้าง ที่จะสามารถแก้ไขให้หมดไปหรืออาจทำให้ทุเลาลงได้ด้วยการฝึกอบรม
2.การสร้างหลักสูตรฝึกอบรม หมายถึง การนำเอาความจำเป็นในการฝึกอบรมซึ่งมีอยู่ชัดเจนแล้วว่า มีปัญหาใดบ้างที่จะสามารถแก้ไขได้ด้วยการฝึกอบรม กลุ่มเป้าหมายเป็นใคร และพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ต้องการจะเปลี่ยนแปลงเป็นด้านใดนั้น มาวิเคราะห์ เพื่อกำหนดเป็นหลักสูตร
3.การกำหนดโครงการฝึกอบรม คือ การวางแผนการดำเนินการฝึกอบรมอย่างเป็นขั้นตอนด้วยการเขียนออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร เรียกว่า “โครงการฝึกอบรม” เป็นการระบุรายละเอียดที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ตั้งแต่เหตุผลความเป็นมาหรือความจำเป็นในการฝึกอบรม
4.การบริหารโครงการฝึกอบรม หมายถึง การดำเนินการฝึกอบรม ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการจัดโครงการฝึกอบรม การดำเนินการ ฝึกอบรมที่มี ประสิทธิภาพ และสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการได้นั้น นอกจากมาจาก วิทยากร ที่มีความรู้ความสามารถ และหลักสูตร ฝึกอบรมที่เหมาะสมแล้ว ยังจำเป็นต้องอาศัยเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบจัดการฝึกอบรม
5.การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรม ในขั้นตอนของการกำหนดโครงการฝึกอบรม ผู้รับผิดชอบจะต้องคำนึง ถึงการประเมินผลการฝึกอบรมไว้ด้วยว่า จะดำเนินการประเมินผลด้วยวิธีการใดบ้าง โดยใช้เครื่องมืออะไร และจะดำเนินการติดตามผลการฝึกอบรมหรือไม่เมื่อใดทั้งนี้เพราะเมื่อการฝึกอบรมเสร็จสิ้นลงแล้ว ผู้รับผิดชอบโครงการควรจะต้อง ทำการสรุปประเมินผลการฝึกอบรม พิจารณาถึงผลของการฝึกอบรม และเพื่อนำข้อมูลย้อนกลับหรือ Feedback ใช้พิจารณาประกอบ ในการจัดฝึกอบรมหลักสูตร ในครั้ง/รุ่นถัดไป
2.อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
ตอบ.การฝึกอบรม (Training) ต้องมีเทคนิคการจัดวางเส้นทางฝึกอบรม (Training Roadmap) เพื่อทราบถึงความสำเร็จในการจัดการฝึกอบรมแต่ละครั้งว่าสามารถทำให้พนักงานมีความรู้ (Skill) ทักษะ (Skill) และปรับทัศนติ (Attitude) ได้ ตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ซึ่งการประเมินผลการฝึกอบรมมีด้วยกัน 4 ขั้นตอนกล่าวคือ
1.การประเมินปฏิกิริยา (Reaction) การประเมินปฏิกิริยา (Reaction) คือการประเมินเพื่อรับรู้ว่าผู้รับการอบรมมีทัศนคติอย่างไรต่อการจัดฝึกอบรม ในหลักสูตรนั้นๆ กล่าวคือเป็นการวัดความรู้สึกพึงพอใจ ชอบหรือไม่ชอบต่อการจัดฝึกอบรมนั่นเอง
2.การประเมินการเรียนรู้ (Learning) การประเมินการเรียนรู้คือการวัดว่าผู้รับการอบรมได้มีการเพื่อพูนความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) หรือมีทัศนคติ (Attitude) อันพึงประสงค์หรือไม่ การประเมินขั้นตอนนี้ถือว่ามีความสำคัญมากเพราะเหตุว่าเป็นการตอบโจทย์หรือ วัตถุประสงค์ของการจัดฝึกอบรมในส่วนของการเรียนรู้
3.การประเมินพฤติกรรม (Behavior) การประเมินพฤติกรรมหรือนักวิชาการบางท่านเรียกว่า Job behavior เกี่ยวข้องกับการนำความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง ซึ่งถือว่าเป็นกระบวนการประเมินที่จะทราบว่าการฝึกอบรมที่จัดขึ้นสามรถทำให้ พนักงานทำงานได้ดีขึ้นหรือลดความบกพร่องในงานได้หรือไม่
4.การประเมินผลลัพธ์ (Results) เป็นการประเมินที่ยากที่สุดและเป็นการประเมินที่ทำให้ทราบว่าการอบรมแต่ ละครั้งส่งผลดีอย่างไรต่อองค์กรบ้างคือ การประเมินผลลัพธ์ (Results) ซึ่งหมายถึงผลลัพธ์แก่องค์กรจากการฝึกอบรมนั่นเอง
Anonymous said…
จ.ส.อ.จาตุรนต์ สุขสม 1190
3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ. 1. ผลสัมฤทธิ์ผลของโครงการฝึกอบรมนั้น ๆ ว่าได้ผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ เช่น เกิด
การเรียนรู้ (Learning) การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการทำงาน (Behavior) หรือไม่เพื่อทราบข้อดี
ข้อบกพร่อง ความเหมาะสม รวมถึงปัญหา และอุปสรรคต่าง ๆของโครงการฝึกอบรม ทั้งในแง่ของ
กระบวนการฝึกอบรม (เช่น เนื้อหาวิชา วิทยากร ระยะเวลา เป็นต้น) และการจัดฝึกอบรม (เช่น สถานที่ การ
อำนวยความสะดวกต่างผู้เข้าอบรมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางด้านความคิด อันได้แก่ ความรู้ ความเข้าใจ ความชำนาญ และความสามารถ ในการประเมิน วิเคราะห์ และสังเคราะห์เพียงใด
2.ผู้เข้าอบรมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางด้านความรู้สึก เช่น ความสนใจ ทัศนคติ ความเชื่อ ค่านิยม ในทิศทางใด ระดับใด มีผลลัพธ์หรือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการฝึกอบรมหรือไม่
3.ผู้เข้าอบรมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางด้านการประพฤติปฏิบัติ ตลอดจน ผลการปฏิบัติงานภายหลัง การฝึกอบรมอย่างไร และเพียงใด เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการฝึกอบรม
4.การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวข้างต้นเป็นการเปลี่ยนแปลงซึ่งผู้รับผิดชอบการฝึกอบรมต้องการให้เปลี่ยนแปลงหรือไม่ และได้ผลดีกว่า การเปลี่ยนแปลงด้วยวิธีการอื่นหรือไม่
5.การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวร หรือเป็นการเปลี่ยนแปลงเพียงชั่วคราวเท่านั้น
จ.ส.อ.จาตุรนต์ สุขสม 1190
1.อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม
ตอบ. กระบวนการฝึกอบรม หมายถึง กระบวนการหรือขั้นตอนการปฏิบัติในอันที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ทักษะ หรือความชำนาญ ตลอดจน ประสบการณ์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไปตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ มีขั้นตอนที่สำคัญ 5 ขั้นตอน
1. การหาความจำเป็นในการฝึกอบรม หมายถึง การค้นหาปัญหาที่เกิดขึ้นในองค์กรหรือในหน่วยงาน ว่ามีปัญหา เรื่องใด บ้าง ที่จะสามารถแก้ไขให้หมดไปหรืออาจทำให้ทุเลาลงได้ด้วยการฝึกอบรม
2. การสร้างหลักสูตรฝึกอบรม หมายถึง การนำเอาความจำเป็นในการฝึกอบรมซึ่งมีอยู่ชัดเจนแล้วว่า มีปัญหาใดบ้างที่จะสามารถแก้ไขได้ด้วยการฝึกอบรม กลุ่มเป้าหมายเป็นใคร และพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ต้องการจะเปลี่ยนแปลงเป็นด้านใดนั้น มาวิเคราะห์ เพื่อกำหนดเป็นหลักสูตร
3. การกำหนดโครงการฝึกอบรม คือ การวางแผนการดำเนินการฝึกอบรมอย่างเป็นขั้นตอนด้วยการเขียนออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร เรียกว่า “โครงการฝึกอบรม” เป็นการระบุรายละเอียดที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ตั้งแต่เหตุผลความเป็นมาหรือความจำเป็นในการฝึกอบรม
4. การบริหารโครงการฝึกอบรม หมายถึง การดำเนินการฝึกอบรม ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการจัดโครงการฝึกอบรม การดำเนินการ ฝึกอบรมที่มี ประสิทธิภาพ และสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการได้นั้น นอกจากมาจาก วิทยากร ที่มีความรู้ความสามารถ และหลักสูตร ฝึกอบรมที่เหมาะสมแล้ว ยังจำเป็นต้องอาศัยเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบจัดการฝึกอบรม
5. การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรม ในขั้นตอนของการกำหนดโครงการฝึกอบรม ผู้รับผิดชอบจะต้องคำนึง ถึงการประเมินผลการฝึกอบรมไว้ด้วยว่า จะดำเนินการประเมินผลด้วยวิธีการใดบ้าง โดยใช้เครื่องมืออะไร และจะดำเนินการติดตามผลการฝึกอบรมหรือไม่เมื่อใดทั้งนี้เพราะเมื่อการฝึกอบรมเสร็จสิ้นลงแล้ว ผู้รับผิดชอบโครงการควรจะต้อง ทำการสรุปประเมินผลการฝึกอบรม พิจารณาถึงผลของการฝึกอบรม และเพื่อนำข้อมูลย้อนกลับหรือ Feedback ใช้พิจารณาประกอบ ในการจัดฝึกอบรมหลักสูตร ในครั้ง/รุ่นถัดไป

2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
ตอบ. การฝึกอบรม (Training) ต้องมีเทคนิคการจัดวางเส้นทางฝึกอบรม (Training Roadmap) เพื่อทราบถึงความสำเร็จในการจัดการฝึกอบรมแต่ละครั้งว่าสามารถทำให้พนักงานมีความรู้ (Skill) ทักษะ (Skill) และปรับทัศนติ (Attitude) ได้ ตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ซึ่งการประเมินผลการฝึกอบรมมีด้วยกัน 4 ขั้นตอนกล่าวคือ
1. การประเมินปฏิกิริยา (Reaction) การประเมินปฏิกิริยา (Reaction) คือการประเมินเพื่อรับรู้ว่าผู้รับการอบรมมีทัศนคติอย่างไรต่อการจัดฝึกอบรม ในหลักสูตรนั้นๆ กล่าวคือเป็นการวัดความรู้สึกพึงพอใจ ชอบหรือไม่ชอบต่อการจัดฝึกอบรมนั่นเอง
2. การประเมินการเรียนรู้ (Learning) การประเมินการเรียนรู้คือการวัดว่าผู้รับการอบรมได้มีการเพื่อพูนความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) หรือมีทัศนคติ (Attitude) อันพึงประสงค์หรือไม่ การประเมินขั้นตอนนี้ถือว่ามีความสำคัญมากเพราะเหตุว่าเป็นการตอบโจทย์หรือ วัตถุประสงค์ของการจัดฝึกอบรมในส่วนของการเรียนรู้
3. การประเมินพฤติกรรม (Behavior) การประเมินพฤติกรรมหรือนักวิชาการบางท่านเรียกว่า Job behavior เกี่ยวข้องกับการนำความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง ซึ่งถือว่าเป็นกระบวนการประเมินที่จะทราบว่าการฝึกอบรมที่จัดขึ้นสามรถทำให้ พนักงานทำงานได้ดีขึ้นหรือลดความบกพร่องในงานได้หรือไม่
4. การประเมินผลลัพธ์ (Results) เป็นการประเมินที่ยากที่สุดและเป็นการประเมินที่ทำให้ทราบว่าการอบรมแต่ ละครั้งส่งผลดีอย่างไรต่อองค์กรบ้างคือ การประเมินผลลัพธ์ (Results) ซึ่งหมายถึงผลลัพธ์แก่องค์กรจากการฝึกอบรมนั่นเอง
จ.ส.อ.จาตุรนต์ สุขสม 1190
3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ. 1. ผลสัมฤทธิ์ผลของโครงการฝึกอบรมนั้น ๆ ว่าได้ผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ เช่น เกิด
การเรียนรู้ (Learning) การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการทำงาน (Behavior) หรือไม่เพื่อทราบข้อดี
ข้อบกพร่อง ความเหมาะสม รวมถึงปัญหา และอุปสรรคต่าง ๆของโครงการฝึกอบรม ทั้งในแง่ของ
กระบวนการฝึกอบรม (เช่น เนื้อหาวิชา วิทยากร ระยะเวลา เป็นต้น) และการจัดฝึกอบรม (เช่น สถานที่ การ
อำนวยความสะดวกต่างผู้เข้าอบรมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางด้านความคิด อันได้แก่ ความรู้ ความเข้าใจ ความชำนาญ และความสามารถ ในการประเมิน วิเคราะห์ และสังเคราะห์เพียงใด
2. ผู้เข้าอบรมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางด้านความรู้สึก เช่น ความสนใจ ทัศนคติ ความเชื่อ ค่านิยม ในทิศทางใด ระดับใด มีผลลัพธ์หรือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการฝึกอบรมหรือไม่
3. ผู้เข้าอบรมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางด้านการประพฤติปฏิบัติ ตลอดจน ผลการปฏิบัติงานภายหลัง การฝึกอบรมอย่างไร และเพียงใด เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการฝึกอบรม
4. การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวข้างต้นเป็นการเปลี่ยนแปลงซึ่งผู้รับผิดชอบการฝึกอบรมต้องการให้เปลี่ยนแปลงหรือไม่ และได้ผลดีกว่า การเปลี่ยนแปลงด้วยวิธีการอื่นหรือไม่
5. การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวร หรือเป็นการเปลี่ยนแปลงเพียงชั่วคราวเท่านั้น
จ.ส.อ.จาตุรนต์ สุขสม 1190
1.อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการและขั้นตอนของการฝึกอบรม
ตอบ. กระบวนการฝึกอบรม หมายถึง กระบวนการหรือขั้นตอนการปฏิบัติในอันที่จะทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ทักษะ หรือความชำนาญ ตลอดจน ประสบการณ์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไปตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ มีขั้นตอนที่สำคัญ 5 ขั้นตอน
1. การหาความจำเป็นในการฝึกอบรม หมายถึง การค้นหาปัญหาที่เกิดขึ้นในองค์กรหรือในหน่วยงาน ว่ามีปัญหา เรื่องใด บ้าง ที่จะสามารถแก้ไขให้หมดไปหรืออาจทำให้ทุเลาลงได้ด้วยการฝึกอบรม
2. การสร้างหลักสูตรฝึกอบรม หมายถึง การนำเอาความจำเป็นในการฝึกอบรมซึ่งมีอยู่ชัดเจนแล้วว่า มีปัญหาใดบ้างที่จะสามารถแก้ไขได้ด้วยการฝึกอบรม กลุ่มเป้าหมายเป็นใคร และพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ต้องการจะเปลี่ยนแปลงเป็นด้านใดนั้น มาวิเคราะห์ เพื่อกำหนดเป็นหลักสูตร
3. การกำหนดโครงการฝึกอบรม คือ การวางแผนการดำเนินการฝึกอบรมอย่างเป็นขั้นตอนด้วยการเขียนออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร เรียกว่า “โครงการฝึกอบรม” เป็นการระบุรายละเอียดที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ตั้งแต่เหตุผลความเป็นมาหรือความจำเป็นในการฝึกอบรม
4. การบริหารโครงการฝึกอบรม หมายถึง การดำเนินการฝึกอบรม ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการจัดโครงการฝึกอบรม การดำเนินการ ฝึกอบรมที่มี ประสิทธิภาพ และสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการได้นั้น นอกจากมาจาก วิทยากร ที่มีความรู้ความสามารถ และหลักสูตร ฝึกอบรมที่เหมาะสมแล้ว ยังจำเป็นต้องอาศัยเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบจัดการฝึกอบรม
5. การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรม ในขั้นตอนของการกำหนดโครงการฝึกอบรม ผู้รับผิดชอบจะต้องคำนึง ถึงการประเมินผลการฝึกอบรมไว้ด้วยว่า จะดำเนินการประเมินผลด้วยวิธีการใดบ้าง โดยใช้เครื่องมืออะไร และจะดำเนินการติดตามผลการฝึกอบรมหรือไม่เมื่อใดทั้งนี้เพราะเมื่อการฝึกอบรมเสร็จสิ้นลงแล้ว ผู้รับผิดชอบโครงการควรจะต้อง ทำการสรุปประเมินผลการฝึกอบรม พิจารณาถึงผลของการฝึกอบรม และเพื่อนำข้อมูลย้อนกลับหรือ Feedback ใช้พิจารณาประกอบ ในการจัดฝึกอบรมหลักสูตร ในครั้ง/รุ่นถัดไป

2. อธิบายถึงสิ่งที่นำมาใช้ในการประเมินผลของฝึกอบรม
ตอบ. การฝึกอบรม (Training) ต้องมีเทคนิคการจัดวางเส้นทางฝึกอบรม (Training Roadmap) เพื่อทราบถึงความสำเร็จในการจัดการฝึกอบรมแต่ละครั้งว่าสามารถทำให้พนักงานมีความรู้ (Skill) ทักษะ (Skill) และปรับทัศนติ (Attitude) ได้ ตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ซึ่งการประเมินผลการฝึกอบรมมีด้วยกัน 4 ขั้นตอนกล่าวคือ
1. การประเมินปฏิกิริยา (Reaction) การประเมินปฏิกิริยา (Reaction) คือการประเมินเพื่อรับรู้ว่าผู้รับการอบรมมีทัศนคติอย่างไรต่อการจัดฝึกอบรม ในหลักสูตรนั้นๆ กล่าวคือเป็นการวัดความรู้สึกพึงพอใจ ชอบหรือไม่ชอบต่อการจัดฝึกอบรมนั่นเอง
2. การประเมินการเรียนรู้ (Learning) การประเมินการเรียนรู้คือการวัดว่าผู้รับการอบรมได้มีการเพื่อพูนความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) หรือมีทัศนคติ (Attitude) อันพึงประสงค์หรือไม่ การประเมินขั้นตอนนี้ถือว่ามีความสำคัญมากเพราะเหตุว่าเป็นการตอบโจทย์หรือ วัตถุประสงค์ของการจัดฝึกอบรมในส่วนของการเรียนรู้
3. การประเมินพฤติกรรม (Behavior) การประเมินพฤติกรรมหรือนักวิชาการบางท่านเรียกว่า Job behavior เกี่ยวข้องกับการนำความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง ซึ่งถือว่าเป็นกระบวนการประเมินที่จะทราบว่าการฝึกอบรมที่จัดขึ้นสามรถทำให้ พนักงานทำงานได้ดีขึ้นหรือลดความบกพร่องในงานได้หรือไม่
4. การประเมินผลลัพธ์ (Results) เป็นการประเมินที่ยากที่สุดและเป็นการประเมินที่ทำให้ทราบว่าการอบรมแต่ ละครั้งส่งผลดีอย่างไรต่อองค์กรบ้างคือ การประเมินผลลัพธ์ (Results) ซึ่งหมายถึงผลลัพธ์แก่องค์กรจากการฝึกอบรมนั่นเอง
จ.ส.อ.จาตุรนต์ สุขสม 1190
3. อธิบายถึงปัจจัยที่นำมาประเมินผลความสำเร็จของโครงการฝึกอบรม
ตอบ. 1. ผลสัมฤทธิ์ผลของโครงการฝึกอบรมนั้น ๆ ว่าได้ผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ เช่น เกิด
การเรียนรู้ (Learning) การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการทำงาน (Behavior) หรือไม่เพื่อทราบข้อดี
ข้อบกพร่อง ความเหมาะสม รวมถึงปัญหา และอุปสรรคต่าง ๆของโครงการฝึกอบรม ทั้งในแง่ของ
กระบวนการฝึกอบรม (เช่น เนื้อหาวิชา วิทยากร ระยะเวลา เป็นต้น) และการจัดฝึกอบรม (เช่น สถานที่ การ
อำนวยความสะดวกต่างผู้เข้าอบรมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางด้านความคิด อันได้แก่ ความรู้ ความเข้าใจ ความชำนาญ และความสามารถ ในการประเมิน วิเคราะห์ และสังเคราะห์เพียงใด
2. ผู้เข้าอบรมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางด้านความรู้สึก เช่น ความสนใจ ทัศนคติ ความเชื่อ ค่านิยม ในทิศทางใด ระดับใด มีผลลัพธ์หรือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการฝึกอบรมหรือไม่
3. ผู้เข้าอบรมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางด้านการประพฤติปฏิบัติ ตลอดจน ผลการปฏิบัติงานภายหลัง การฝึกอบรมอย่างไร และเพียงใด เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการฝึกอบรม
4. การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวข้างต้นเป็นการเปลี่ยนแปลงซึ่งผู้รับผิดชอบการฝึกอบรมต้องการให้เปลี่ยนแปลงหรือไม่ และได้ผลดีกว่า การเปลี่ยนแปลงด้วยวิธีการอื่นหรือไม่
5. การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวร หรือเป็นการเปลี่ยนแปลงเพียงชั่วคราวเท่านั้น

Popular posts from this blog

หลักรัฐประศาสนศาสตร์ Module 1; ภาค/ ปีการศึกษา 3/2565

หลักรัฐประศาสนศาสตร์ Module 2 ; ภาค/ปีการศึกษา 3/2565

หลักรัฐประศาสนศาสตร์ Module 3 ; ภาค/ปีการศึกษา 3/2565