หลักรัฐประศาสนศาสตร์ Module 1; ภาค/ ปีการศึกษา 3/2565

 การศึกษาประกอบร่วมกับการศึกษาในชั้นเรียน


ขอบเขตการศึกษา นักศึกษาศึกษาประเด็นต่าง ๆ ต่อไปนี้ 

1. ความหมายแนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ และที่มาของคำว่าการบริหารงานภาครัฐ


2. พัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์และความเป็นสหวิทยาการ


3. การบริหารภาครัฐกับ
นโยบายสาธารณะและการเมือง



      นักศึกษาศึกษาเอกสารและ Video ที่นี่ 

     ก่อนตอบคำถามให้ศึกษาเอกสารให้เข้าใจ พร้อมทั้งกดติดตามและให้ใส่ชื่อ รูปภาพลงที่มุมกล่องข้อความเพื่อจะได้ทราบว่านักศึกษาคนใดเป็นผู้ตอบคำถาม และสามารถประเมินผลได้อย่างถูกต้อง (ดูตัวอย่างของภาคการศึกษาที่ผ่านมา)

ตอบคำถามลงในกล่องข้อความด้านล่าง (Post Comment) โดยคลิกที่ Post Comment กล่องข้อความจะปรากฏให้เห็นนักศึกาษาเขียนตอบลงในกล่องข้อความ)

     ศึกษาเอกสารตำราได้ที่นี่ 





        เมื่อนักศึกษาศึกษาเอกสารและฟังคำบรรยายทั้งในชั้นเรียนและบรรยายสรุปผ่านระบบออนไลน์แล้ว นักศึกษาทำ Assignment ต่อไปนี้
      
       Assignment ที่  1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
     
       Assignment ที่  2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง

       Assignment ที่ 3.  อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง


         นักศึกษาทำ Assignment ในกล่องโต้ตอบ ซึ่งจะเขียนว่า  Post a Comment โดยคลิกที่รูป 💬 จะปรากฎ กล่องโต้ตอบ นักศึกษาเขียนในกล่องโต้ตอบและสามารถส่งได้โดย คลิกที่ Publish your comment


           

Comments

ส.อ.นครา ปานกลาง รหัส64423471043
Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
ตอบ รัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะเฉพาะที่สำคัญ คือ การเป็นสหวิทยาการ ซึ่งประกอบไปด้วยศาสตร์ต่าง ๆ ใช้ร่วมในการศึกษา ตลอดจนอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในทางรัฐประศาสนศาสตร์ โดยในทัศนะของ Chandler เห็นว่า ควรประกอบไปด้วย วิชารัฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาวิทยาการจัดการ วิชาการบริหารธุรกิจวิชาสังคมวิทยา วิชาจิตวิทยา วิชามนุษยศาสตร์ และวิชานิติศาสตร์ ซึ่งจะมีความสมบูรณ์ครอบคลุมในการศึกษา
ในขณะที่ McCurdy เห็นว่า จากพัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์สามารถอธิบายได้ว่าพื้นฐานแนวคิดหลักในการศึกษาประกอบไปด้วย 4 สำนักด้วยกัน คือ
1. สำนักที่สนใจศึกษาแบบดั้งเดิม กล่าวคือ สนใจศึกษาสังคมวิทยา จิตวิทยา โดยเน้นและปรับใช้ในเรื่องของความสัมพันธ์ของมนุษย์ และสนใจในรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์โดยนำมาใช้ในการปฏิรูประบบ
2. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงพฤติกรรม โดยนำมาใช้ศึกษาถึงระบบราชการทฤษฎีองค์การ การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ และการพัฒนาองค์การ
3. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงเหตุผลนิยม โดยนำวิชาเศรษฐศาสตร์และการบริหารธุรกิจมาใช้ศึกษาในเรื่องของการวิเคราะห์นโยบาย และการจัดการ
4. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงการเมือง โดยสนใจในเรื่องการเมืองและกฎหมายโดยศึกษาในการนำนโยบายไปปฏิบัติ การบริหารงานบุคคลในระบบราชการ การจัดทำงบประมาณ และการบริหารงานในท้องถิ่น
จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า รัฐประศาสนศาสตร์มีการนำความรู้ที่หลากหลายมาประยุกต์ใช้ในวิชาของตนเอง หรือนำวิชาเหล่านั้นมาประกอบเข้ากันเป็นลักษณะของสหวิทยาการ และถือว่าเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ทำให้จำเป็นต้องนำศาสตร์อื่น ๆ และนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาในขอบข่ายของการศึกษาวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ยังจำเป็นต้องมีการศึกษาในศาสตร์อื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์และสถิติ เศรษฐศาสตร์หรือแม้กระทั่งการตลาด และการประชาสัมพันธ์รวมถึงในปัจจุบันมีความสนใจอย่างยิ่งในเรื่องของจริยธรรมและคุณธรรมภายในวิชารัฐประศาสนศาสตร์
การดำเนินกิจการต่าง ๆ ของรัฐนั้นมีขอบเขตครอบคลุมหลายมิติ เพื่อการบริหารที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการนั้น รัฐประศาสนศาสตร์จึงต้องนำเอาสาขาวิชาอื่น ๆ มาประยุกต์ใช้ และมีขอบเขตที่กว้างขวางตามความเหมาะสม และกลับจะเป็นการเปล่าประโยชน์ถ้าหากจะมุ่งพิจารณาความสัมพันธ์ของรัฐประศาสนศาสตร์กับสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งเท่านั้น ทั้งนี้ ในความจริงแล้วสาขาวิชาต่าง ๆ ก็ได้มีการเสริมสร้างความเข้าใจระหว่างกัน มีการร่วมมือศึกษาและทำการวิจัยร่วมกัน ดังนั้น วิชารัฐประศาสนศาสตร์จึงต้องใช้ความรู้ระหว่างศาสตร์วิชาต่าง ๆ เหล่านั้น หรือที่เรียกว่า สหวิทยาการ (inter-disciplinary) มาประยุกต์ใช้กับโลกแห่งความเป็นจริง นอกจากนี้ในทางปฏิบัติแล้วรัฐประศาสนศาสตร์ยังมีความสัมพันธ์กับวิชาชีพอื่น ๆ อีก เช่น วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารธุรกิจ นิติศาสตร์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้รัฐประศาสนศาสตร์จึงมีความสัมพันธ์กับสาขาวิชาต่าง ๆ ที่กล่าวมา และนอกจากนี้การศึกษาในวิชารัฐประศาสนศาสตร์จะต้องเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่าง ๆ อย่างกว้างขวางแล้ว สิ่งที่ขาดเสียมิได้ในการผลิตนักรัฐประศาสนศาสตร์ก็คือ การสร้างจริยธรรม อุดมการณ์ และพฤติกรรม ที่รับผิดชอบต่อสังคมต่อ ๆ ไป
การศึกษาที่มีความหลากหลายและเกิดเป็นพัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์จนเป็นศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับและเป็นที่นิยมทั่วไป ทำให้มีนักวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ทำการศึกษาพัฒนาการของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ โดยมีการจำแนกลำดับการพัฒนาของสาขาวิชานี้อย่างกว้างขวางและมีความหลากหลายขึ้นอยู่กับว่านักวิชาการใดจะให้ความสำคัญในมิติใด ตัวอย่างเช่น พิทยา บวรวัฒนา ได้เสนอว่า พัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ ประกอบด้วย ช่วงเวลาที่สำคัญ 4 ช่วง คือ
(1) สมัยทฤษฎีดั้งเดิม (ค.ศ. 1887-1950) ได้แก่ ทฤษฎีและแนวการศึกษาเรื่อง การบริหารแยกออกจากการเมือง ระบบราชการ วิทยาศาสตร์การจัดการ และหลักการบริหาร



ส.อ.นครา ปานกลาง รหัส 64423471043
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
ตอบ การบริหารกับการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ฝ่ายบริหารมีระดับของความเกี่ยวข้อง ในการกำหนดน โยบายในลักษณะการทำหน้าที่ในการเสนอข้อมูลข่าวสาร หรือ ความเห็นเกี่ยวกับทางเลือกน โยบายแก่ฝ่ายการเมือง หรือ ทำหน้าที่ในการตีความนโขบายในการนำไปปฏิบัติซึ่งมีลักษณะเป็นการกำหนดน โขบายเพื่อแสวงหาแนวปฏิบัติด้วยตนเอง ในกรณีที่ฝ่ายการเมืองไม่มีน โยบายที่ชัดเจน หรือ นโยบายที่กว้างต้องมีการตีความในรายละเอียดในการนำไปปฏิบัติ ขณะที่ในบริบทของสังคมไทย ฝ่ายบริหารมีระดับของความเกี่ยวข้องในการกำหนดน โขบายในหลายระดับตั้งแต่ การทำหน้าที่ในการเสนอข้อมูลข่าวสาร หรือ ความเห็นเกี่ยวกับทางเลือกน โยบายแก่ฝ่ายการเมือง การตีความ นโยบายในการนำไปปฏิบัติซึ่งมีลักษณะเป็นการกำหนดนโยบายเพื่อแสวงหาแนวปฏิบัติด้วยตนเอง ไปจนถึง การทำหน้าที่เป็นคลังสมองด้านนโยบายและวิชาการ(hink-tank) แก่ฝ่ายการเมืองโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่ฝ่ายการเมืองมาจากการปฏิวัติโดยข้าราชการประจำสายทหาร และ การเข้าไปดำรงตำแหน่งทางการเมืองในคณะรัฐมนตรี และในรัฐสภา โดยฝ่ายบริหารจะมีบทบาทอย่างมากในการกำหนดนโยบายในสองสถานะคือ สถานะตัวแสดงฝ่ายการเมืองและในสถานะตัวแสดงฝ่ายบริหาร ในเวลาเดียวกัน

Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
ตอบ มี 2 ลักษณะ กล่าวคือ ลักษณะที่ 1 การบริหารกับการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกันได้อย่างเด็ดขาด เพราะ ฝ่ายข้าราชการประจำเข้าไปเกี่ยวข้องกับกิจกรรมการกำหนดนโขบายของฝ่ายการเมืองที่มาจากการเลือกตั้งลักษณะดังกล่าว คล้ายกับ แนวคิดการบริหารกับการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกันในสังคมตะวันตกเนื่องจาก แม้หน้าที่หลักในการกำหนดนโขบายสาธารณะจะเป็นของฝ่ายการเมือง และฝ่ายข้าราชการประจำมีหน้าที่ในการนำน โขบายสาธารณะไปปฏิบัติให้บรรลุผลสำเร็จ แต่ในความเป็นจริงทั้งสองฝ้ายต่างก็ต้องทำงานร่วมกันและพึ่งพากันเพื่อให้การกำหนดน โขบายและการนำนโขบายไปปฏิบัติบรรลุผลสำเร็จ ข้าราชการประจำบางครั้งก็มักเข้าไปก้าวก่ายงานของฝ่ายการเมือง โดยการเสนอข้อมูลข้อเสนอแนะ หรือ ริเรื่มนโขบายใหม่แก่ฝ่ายการเมือง โดยเฉพาะนโยบายค้านเทคนิค ซึ่งข้าราชการประจำมีความรู้ความเชี่ยวชาญมากกว่าฝ่ายการเมือง ดังจะเห็นได้จาก การนำเสนอข้อมูลประกอบการกำหนดนโขบายของฝ่ายการเมือง การนำเสนอแนวทางการนำไปปฏิบัติ หรือ ร่งกฎหมายและกฎระเบียบของแต่ละกระทรวง ทบวง กรม เป็นต้น หรือการมีส่วนเกี่ยวข้องในการกำหนดนโยบายสาธารณะโดยการตีความเพื่อสร้างความชัดเจนหรือกำหนดรายละเอียดในการนำนโขบายไปปฏิบัติ โดยทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการประจำจะอยู่บนพื้นฐานของอำนาจหน้าที่ (authority) และฝ่ายข้าราชการประจำจะต้องอยู่ภายใต้การควบคุมบังคับบัญชาของฝ่ายการเมือง
ลักษณะที่ 2 ในบริบทของการเมืองและสังดมไทย ฝ่ายข้าราชการประจำโดยเฉพาะทหารและตำรวจมีอำนาจมาก (power/force) โดยเฉพาะอำนาจอาวุธยุทโธปกรณ์และกำลังพล และใช้อำนาจดังกล่าวในการเข้าสู่สถานะเป็นตัวแสดง (actor) ในฝ่ายการเมืองโดยการปฏิวัติรัฐประหาร และมีการพึ่งฝ่ายข้าราชการประจำในสายพลเรือนในกิจกรรมการกำหนดน โยบายของฝ่ายการเมืองที่มาจากการปฏิวัติรัฐประหารใบฐานะที่เป็นคลังสมอง (hink-tank) ของรัฐบาลทหาร ดังจะเห็นได้จากการศึกษาของรังสรรค์ ชนะพรพันธุ์ (2546) ที่พบว่า การกำหนดนโยบายสาธารณะทางเศรษฐกิจใบช่วงพ.ศ.2475-2530 อยู่กายให้ฝ่าขข้าราชการประจำชึ่งเป็นเทคโบแครท อาทิ ข้าราชการประจำใบกระทรวงการคลังธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นต้น หรือการศึกษาของทักษ์ เฉลิมเตียรณ (2548) ที่พบว่า ในสมัยรัฐบาลจอมพล สฤษดิ์ ชนะรัชต์ ฝ่ายข้าราชการประจำได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากในการกำหนดน โขบายทางเศรษฐกิจ สังคม และ การต่างประเทศ
ส.อ.ณัฐพงศ์ บุญเรือง
รหัสนักศึกษา 6442347104

Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะเฉพาะที่สำคัญ คือ การเป็นสหวิทยาการ ซึ่งประกอบไปด้วยศาสตร์ต่าง ๆ ใช้ร่วมในการศึกษา ตลอดจนอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในทางรัฐประศาสนศาสตร์ โดยในทัศนะของ Chandler เห็นว่า ควรประกอบไปด้วย วิชารัฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาวิทยาการจัดการ วิชาการบริหารธุรกิจวิชาสังคมวิทยา วิชาจิตวิทยา วิชามนุษยศาสตร์ และวิชานิติศาสตร์ ซึ่งจะมีความสมบูรณ์ครอบคลุมในการศึกษา
ในขณะที่ McCurdy เห็นว่า จากพัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์สามารถอธิบายได้ว่าพื้นฐานแนวคิดหลักในการศึกษาประกอบไปด้วย 4 สำนักด้วยกัน คือ
1. สำนักที่สนใจศึกษาแบบดั้งเดิม กล่าวคือ สนใจศึกษาสังคมวิทยา จิตวิทยา โดยเน้นและปรับใช้ในเรื่องของความสัมพันธ์ของมนุษย์ และสนใจในรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์โดยนำมาใช้ในการปฏิรูประบบ
2. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงพฤติกรรม โดยนำมาใช้ศึกษาถึงระบบราชการทฤษฎีองค์การ การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ และการพัฒนาองค์การ
3. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงเหตุผลนิยม โดยนำวิชาเศรษฐศาสตร์และการบริหารธุรกิจมาใช้ศึกษาในเรื่องของการวิเคราะห์นโยบาย และการจัดการ
4. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงการเมือง โดยสนใจในเรื่องการเมืองและกฎหมายโดยศึกษาในการนำนโยบายไปปฏิบัติ การบริหารงานบุคคลในระบบราชการ การจัดทำงบประมาณ และการบริหารงานในท้องถิ่น
จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า รัฐประศาสนศาสตร์มีการนำความรู้ที่หลากหลาย มาประยุกต์ใช้ในวิชาของตนเอง หรือนำวิชาเหล่านั้นมาประกอบเข้ากันเป็นลักษณะของ สหวิทยาการ และถือว่าเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ทำให้จำเป็นต้องนำศาสตร์อื่น ๆ และนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาในขอบข่ายของการศึกษาวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ยังจำเป็นต้องมีการศึกษาในศาสตร์อื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์และสถิติ เศรษฐศาสตร์หรือแม้กระทั่งการตลาด และการประชาสัมพันธ์รวมถึงในปัจจุบันมีความสนใจอย่างยิ่งในเรื่องของจริยธรรมและคุณธรรมภายในวิชารัฐประศาสนศาสตร์
ส.อ.สราวุฒิ สังข์ติยานนท์ รหัส 64423471120
ความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะเฉพาะที่สำคัญ คือ การเป็นสหวิทยาการ ซึ่งประกอบไปด้วยศาสตร์ต่าง ๆ ใช้ร่วมในการศึกษา ตลอดจนอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในทางรัฐประศาสนศาสตร์ โดยในทัศนะของ Chandler (1989, pp. 639-641) เห็นว่า ควรประกอบไปด้วย วิชารัฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาวิทยาการจัดการ วิชาการบริหารธุรกิจวิชาสังคมวิทยา วิชาจิตวิทยา วิชามนุษยศาสตร์ และวิชานิติศาสตร์ ซึ่งจะมีความสมบูรณ์ครอบคลุมในการศึกษา ในขณะที่ McCurdy (1986, pp. 17-21) เห็นว่า จากพัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์สามารถอธิบายได้ว่าพื้นฐานแนวคิดหลักในการศึกษาประกอบไปด้วย 4 สำนักด้วยกัน คือ
1. สำนักที่สนใจศึกษาแบบดั้งเดิม กล่าวคือ สนใจศึกษาสังคมวิทยา จิตวิทยา โดยเน้นและปรับใช้ในเรื่องของความสัมพันธ์ของมนุษย์ และสนใจในรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์โดยนำมาใช้ในการปฏิรูประบบ
2. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงพฤติกรรม โดยนำมาใช้ศึกษาถึงระบบราชการทฤษฎีองค์การ การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ และการพัฒนาองค์การ
3. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงเหตุผลนิยม โดยนำวิชาเศรษฐศาสตร์และการบริหารธุรกิจมาใช้ศึกษาในเรื่องของการวิเคราะห์นโยบาย และการจัดการ
4. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงการเมือง โดยสนใจในเรื่องการเมืองและกฎหมายโดยศึกษาในการนำนโยบายไปปฏิบัติ การบริหารงานบุคคลในระบบราชการ การจัดทำงบประมาณ และการบริหารงานในท้องถิ่น

พัฒนาการของแนวความคิดรัฐประศาสนศาสตรหรือการบริหารสาธารณะและการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัยในการบริหารสาธารณะ นำไปสูการพัฒนาของศาสตรทางการบริหารและนำไปสูการเปลี่ยนแปลงทางการบริหารในหลายประเทศการพัฒนาแนวความคิดและการเปลี่ยนแปลงดังกลาวจะชี้ใหเห็นถึงรูปแบบและลักษณะของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
1. แนวความคิดรัฐประศาสนศาสตรหรือการบริหารสาธารณะในอดีต (Historical Paradigms)
2. การเปลี่ยนแปลงของรัฐประศาสนศาสตร(Era of Change)
3. การลดขนาดของระบบราชการ (Reducing the Bureaucracy)

ส.อ.ณัฐพงศ์ บุญเรือง
รหัสนักศึกษา 6442347104

การดำเนินกิจการต่าง ๆ ของรัฐนั้นมีขอบเขตครอบคลุมหลายมิติ เพื่อการบริหาร ที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการนั้น รัฐประศาสนศาสตร์จึงต้องนำเอาสาขาวิชาอื่น ๆ มาประยุกต์ใช้ และมีขอบเขตที่กว้างขวางตามความเหมาะสม และกลับจะเป็นการ เปล่าประโยชน์ถ้าหากจะมุ่งพิจารณาความสัมพันธ์ของรัฐประศาสนศาสตร์กับสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งเท่านั้น ทั้งนี้ ในความจริงแล้วสาขาวิชาต่าง ๆ ก็ได้มีการเสริมสร้างความเข้าใจระหว่างกัน มีการร่วมมือศึกษาและทำการวิจัยร่วมกัน ดังนั้น วิชารัฐประศาสนศาสตร์จึงต้องใช้ความรู้ระหว่างศาสตร์วิชาต่าง ๆ เหล่านั้น หรือที่เรียกว่า สหวิทยาการ (inter-disciplinary) มาประยุกต์ใช้กับโลกแห่งความเป็นจริง นอกจากนี้ในทางปฏิบัติแล้วรัฐประศาสนศาสตร์ยังมีความสัมพันธ์กับวิชาชีพอื่น ๆ อีก เช่น วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารธุรกิจ นิติศาสตร์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้รัฐประศาสนศาสตร์จึงมีความสัมพันธ์กับสาขาวิชาต่าง ๆ ที่กล่าวมา และนอกจากนี้การศึกษาในวิชารัฐประศาสนศาสตร์จะต้องเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่าง ๆ อย่างกว้างขวางแล้ว สิ่งที่ขาดเสียมิได้ในการผลิตนักรัฐประศาสนศาสตร์ก็คือ การสร้างจริยธรรม อุดมการณ์ และพฤติกรรม ที่รับผิดชอบต่อสังคมต่อ ๆ ไป
การศึกษาที่มีความหลากหลายและเกิดเป็นพัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์จนเป็นศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับและเป็นที่นิยมทั่วไป ทำให้มีนักวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ทำการศึกษาพัฒนาการของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ โดยมีการจำแนกลำดับการพัฒนาของสาขาวิชานี้อย่างกว้างขวางและมีความหลากหลายขึ้นอยู่กับว่านักวิชาการใดจะให้ความสำคัญในมิติใด ตัวอย่างเช่น พิทยา บวรวัฒนา ได้เสนอว่า พัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ ประกอบด้วย ช่วงเวลาที่สำคัญ 4 ช่วง คือ
(1) สมัยทฤษฎีดั้งเดิม (ค.ศ. 1887-1950) ได้แก่ ทฤษฎีและแนวการศึกษาเรื่อง การบริหารแยกออกจากการเมือง ระบบราชการ วิทยาศาสตร์การจัดการ และหลักการบริหาร
(2) สมัยทฤษฎีท้าทายหรือวิกฤติการณ์ด้านเอกลักษณ์ (ค.ศ. 1950-1970) ได้แก่ ทฤษฎีและแนวการศึกษาเรื่อง การบริหาร คือ การเมือง ระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ แนวคิดกลุ่มมนุษย์สัมพันธ์และศาสตร์การบริหาร
(3) สมัยวิกฤติการณ์ด้านเอกลักษณ์ครั้งที่สอง (ค.ศ. 1960-1970) หมายถึง แนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ และ (4) สมัยทฤษฎีและแนวการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ (ค.ศ. 1970

Assignment ที่ 2.นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
นโยบายสาธารณะถือเป็นส่วนสำคัญที่สุดของการบริหารงานของรัฐบาลเพราะเกี่ยวข้องกับเจตนารมณ์ของรัฐบาลตั้งแต่เมื่อครั้งหาเสียงเลือกตั้งจนถึงการประกาศแถลงนโยบายและโดย ตัวของมันเอง นโยบายสาธารณะก็มีความสำคัญในแง่ต่างๆ ดังนี้
1) เป็นกรอบแนวทางการบริหารจัดการของภาครัฐในอันที่จะแก้ปัญหาให้แก่สาธารณชนเพราะนโยบายสาธารณะจะกระทบต่อวิถีชีวิตด้านต่างๆ ของประชาชน เช่นนโยบายสาธารณะด้านสาธารณสุข สวัสดิการ การศึกษา การเก็บภาษี การค้าต่างประเทศการอพยพ สิทธิของพลเมือง การปกป้องสิ่งแวดล้อม รายจ่ายของรัฐบาลท้องถิ่นและการป้องกันประเทศ
2) เป็นเสมือนเข็มทิศการทำงานของเจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐที่จะยึดถือเป็นแนวปฏิบัติเนื่องจากในนโยบายสาธารณะจะก าหนดว่าเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้องส่วนใดจะต้องปฏิบัติอะไร อย่างไรและเมื่อไร จึงจะสอดคล้องกับแนวนโยบาย
3) ช่วยให้ประชาชนได้รับรู้ถึงบทบาทการมีส่วนร่วมตามนโยบายที่รัฐบาลกำหนด เช่น โครงการรณรงค์ลดภาวะโลกร้อน
4) เป็นเครื่องมือสำหรับทำให้เกิดการจัดสรรทรัพยากรใหม่ที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมของปัญหาและเพื่อประโยชน์ของประชาชนส่วนใหญ
ส.อ.สราวุฒิ สังข์ติยานนท์ รหัส 64423471120
นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
นโยบายสาธารณะมีความสำคัญต่อสังคมและประเทศชาติเป็นอย่างมาก เพราะส่งผลต่อชีวิตความ เป็นอยู่ของประชาชนทั้งประเทศโดยรัฐบาลต้องออกนโยบายและนำไปปฏิบัติเพื่อช่วยแก้ไขปัญหา หรือ ทำให้ประชาชนที่ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดียิ่งขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน ส่วนประชาชนเมื่อ เห็นว่านโยบายของรัฐบาลมีประโยชน์และตอบสนองต่อความต้องการในการดำเนินชีวิต ก็จะให้การ สนับสนุนรัฐบาลมากขึ้น หรืออาจะกล่าวได้ว่า นโยบายสาธารณะเป็นสิ่งที่เอื้ออำนวยผลประโยชน์และแสดง ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ต่อทั้งประชาชนและรัฐบาล โดยนโยบายสาธารณะแบ่งออกเป็นหลายประเภทด้วยกัน ซึ่งแต่ละประเภทนั้นก็จะแตกต่างกันออกไป ตามความเหมาะสม ส่วนการนำไปใช้บริหารประเทศนั้นก็ขึ้นอยู่ กับรัฐบาลแต่ละชุดว่าจะกำหนดและปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะแบบไหน เพื่อตอบสนองความต้องการของ ประชาชนมากที่สุด ดังนั้นนโยบายสาธารณะจึงเป็นแนวทางปฏิบัติของรัฐบาลที่มุ่งเน้นสร้างผลประโยชน์ให้ กับประชาชนเป็นหลัก เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน และพัฒนาชีวิตประชาชนให้ดียิ่งขึ้น
เช่นเดียวกันกับการบริหาร คือ กระบวนการทำงานร่วมกับผู้อื่นเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ (Sergiovanni) เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใดหรือหลายๆอย่างที่บุคคลร่วมกันกำหนดโดยใช้กระบวนอย่างมีระบบและให้ทรัพยากรตลอดจนเทคนิคต่างๆ อย่างเหมาะสม
อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
การบริหาร คือ กระบวนการทางสังคมของบุคคลที่ทำหน้าที่การวางแผนการจัดองค์การ จัดคนเข้าทำงาน สั่งการ และควบคุมการทำงานให้กิจกรรมขององค์การดำเนินงานไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพบนพื้นฐานปัจจัยในการผลิต
การเมือง คือ กระบวนการและวิธีการ ที่จะนำไปสู่การตัดสินใจของกลุ่มคน คำนี้มักจะถูกนำไปประยุกต์ใช้กับรัฐบาล แต่กิจกรรมทางการเมืองสามารถเกิดขึ้นได้ทั่วไปในทุกกลุ่มคนที่มีปฏิสัมพันธ์กัน ซึ่งรวมไปถึงใบรรษัท แวดวงวิชาการ และในวงการศาสนา

ส.อ.วุฒิชัย ถาวรรัตน์ รหัส 64423471114

ข้อที่ 1 รัฐประศาสนศาสตร์เป็นสาขาสหวิทยาการที่ดึงสาขาวิชาต่างๆ เช่น รัฐศาสตร์ สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ กฎหมาย จิตวิทยา และการจัดการ มาพัฒนาและดำเนินการตามนโยบายและโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ ลักษณะสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ช่วยให้สามารถแก้ไขปัญหาสังคมที่ซับซ้อนได้โดยใช้ความรู้และวิธีการจากสาขาต่างๆ เพื่อสร้างแนวทางแก้ไขที่มีประสิทธิภาพ
การพัฒนาแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์สามารถย้อนกลับไปได้ถึงต้นศตวรรษที่ 20 เมื่อนักวิชาการเริ่มศึกษา หลักการและแนวปฏิบัติในการบริหารจัดการภาครัฐ แนวคิดของรัฐประศาสนศาสตร์มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา โดยมีนักวิชาการและนักปฏิบัติที่แตกต่างกันที่มีส่วนสนับสนุนการพัฒนา ผู้สนับสนุนหลักในการพัฒนารัฐประศาสนศาสตร์ ได้แก่ วูดโรว์ วิลสัน เฮอร์เบิร์ต ไซมอน และเฟรเดอริก เทย์เลอร์
วูดโรว์ วิลสันถือเป็นบิดาแห่งรัฐประศาสนศาสตร์ เขาแย้งว่ารัฐประศาสนศาสตร์ควรเป็นสาขาวิชาที่แยกจากกันและชัดเจนซึ่งมุ่งเน้นไปที่การดำเนินการตามนโยบายและโครงการของรัฐบาล วิลสันเน้นย้ำถึงความสำคัญของงานราชการที่เป็นมืออาชีพและมีคุณธรรมที่ต้องรับผิดชอบต่อสาธารณะ
เฮอร์เบิร์ต ไซมอนแนะนำแนวคิดของการตัดสินใจในการบริหารรัฐกิจ เขาแย้งว่าผู้บริหารภาครัฐควรใช้กระบวนการตัดสินใจอย่างมีเหตุผลเพื่อพัฒนาและนำนโยบายและโปรแกรมไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
เฟรดเดอริก เทย์เลอร์แนะนำแนวคิดของการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ในการบริหารรัฐกิจ เขาแย้งว่าหน่วยงานของรัฐควรใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลในสถานที่ทำงาน
โดยรวมแล้ว ลักษณะสหวิทยาการของการบริหารรัฐกิจและการพัฒนาแนวคิดของการบริหารราชการทำให้สามารถสร้างนโยบายและโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ให้บริการได้ สาธารณประโยชน์

ข้อที่ 2 นโยบายสาธารณะและการบริหารมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด นโยบายสาธารณะหมายถึงการตัดสินใจและการดำเนินการของรัฐบาลเพื่อแก้ไขปัญหาสาธารณะ ในขณะที่การบริหารเกี่ยวข้องกับการนำนโยบายเหล่านั้นไปปฏิบัติ กล่าวอีกนัยหนึ่ง นโยบายสาธารณะกำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่รัฐบาลต้องการบรรลุ ในขณะที่ฝ่ายบริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินการตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์เหล่านั้นอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ
การบริหารราชการที่มีประสิทธิภาพเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการดำเนินการสาธารณะให้ประสบความสำเร็จ นโยบาย ต้องการผู้ดูแลระบบที่มีทักษะที่สามารถแปลเป้าหมายนโยบายเป็นแผนปฏิบัติการที่เป็นรูปธรรม จัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และติดตามความคืบหน้าเพื่อบรรลุผลลัพธ์ที่ต้องการ ในทางกลับกัน นโยบายสาธารณะต้องออกแบบในลักษณะที่คำนึงถึงความเป็นจริงของการนำไปปฏิบัติและความสามารถของกลไกการบริหาร
ดังนั้น นโยบายสาธารณะและการบริหารจึงพึ่งพากันและต้องทำงานร่วมกันเพื่อให้แน่ใจว่าเป้าหมายของรัฐบาล เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และตอบสนองความต้องการของประชาชน

ข้อที่ 3 ธรรมชาติของการบริหารและการเมืองนั้นซับซ้อนและมีหลายแง่มุม หลักการบริหารเกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรและการดำเนินนโยบายเพื่อให้บรรลุเป้าหมายเฉพาะ ในทางกลับกัน การเมืองเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจและการต่อรองผลประโยชน์ที่ขัดแย้งกันเพื่อกำหนดนโยบายและผลลัพธ์ ในทางปฏิบัติ การบริหารและการเมืองมักจะเกี่ยวพันกัน โดยการพิจารณาทางการเมืองมักจะมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจและการดำเนินการทางการบริหาร ท้ายที่สุดแล้ว ความสำเร็จของการบริหารหรือระบบการเมืองขึ้นอยู่กับความสามารถในการสร้างสมดุลระหว่างผลประโยชน์ที่แข่งขันกันและจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ

ส.อ.วุฒิชัย ถาวรรัตน์ รหัส 64423471114
จ.ส.อ.เรืองยศ สามารถ
รหัสนักศึกษา 64423471057
Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
ความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะเฉพาะที่สำคัญ คือ การเป็นสหวิทยาการ ซึ่งประกอบไปด้วยศาสตร์ต่าง ๆ ใช้ร่วมในการศึกษา ตลอดจนอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในทางรัฐประศาสนศาสตร์ โดยในทัศนะของ Chandler (1989, pp. 639-641) เห็นว่า ควรประกอบไปด้วย วิชารัฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาวิทยาการจัดการ วิชาการบริหารธุรกิจวิชาสังคมวิทยา วิชาจิตวิทยา วิชามนุษยศาสตร์ และวิชานิติศาสตร์ ซึ่งจะมีความสมบูรณ์ครอบคลุมในการศึกษา
ในขณะที่ McCurdy (1986, pp. 17-21) เห็นว่า จากพัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์สามารถอธิบายได้ว่าพื้นฐานแนวคิดหลักในการศึกษาประกอบไปด้วย 4 สำนักด้วยกัน คือ
1. สำนักที่สนใจศึกษาแบบดั้งเดิม กล่าวคือ สนใจศึกษาสังคมวิทยา จิตวิทยา โดยเน้นและปรับใช้ในเรื่องของความสัมพันธ์ของมนุษย์ และสนใจในรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์โดยนำมาใช้ในการปฏิรูประบบ
2. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงพฤติกรรม โดยนำมาใช้ศึกษาถึงระบบราชการทฤษฎีองค์การ การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ และการพัฒนาองค์การ
3. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงเหตุผลนิยม โดยนำวิชาเศรษฐศาสตร์และการบริหารธุรกิจมาใช้ศึกษาในเรื่องของการวิเคราะห์นโยบาย และการจัดการ
4. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงการเมือง โดยสนใจในเรื่องการเมืองและกฎหมายโดยศึกษาในการนำนโยบายไปปฏิบัติ การบริหารงานบุคคลในระบบราชการ การจัดทำงบประมาณ และการบริหารงานในท้องถิ่น
จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า รัฐประศาสนศาสตร์มีการนำความรู้ที่หลากหลายมาประยุกต์ใช้ในวิชาของตนเอง หรือนำวิชาเหล่านั้นมาประกอบเข้ากันเป็นลักษณะของสหวิทยาการ และถือว่าเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ทำให้จำเป็นต้องนำศาสตร์อื่น ๆ และนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาในขอบข่ายของการศึกษาวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ยังจำเป็นต้องมีการศึกษาในศาสตร์อื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์และสถิติ เศรษฐศาสตร์หรือแม้กระทั่งการตลาด และการประชาสัมพันธ์รวมถึงในปัจจุบันมีความสนใจอย่างยิ่งในเรื่องของจริยธรรมและคุณธรรมภายในวิชารัฐประศาสนศาสตร์
จ.ส.อ.เรืองยศ สามารถ รหัส 64423471057
+++การพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
พัฒนาการของแนวความคิดรัฐประศาสนศาสตร์หรือการบริหารสาธารณะและการเปลี่ยนแปลงของยุค สมัยในการบริหารสาธารณะ นำไปสู่การพัฒนาของศาสตร์ทางการบริหารและนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการ บริหารในหลายประเทศการพัฒนาแนวความคิดและการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะชี้ให้เห็นถึงรูปแบบและลักษณะ ของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
1. แนวความคิดรัฐประศาสนศาสตร์หรือการบริหารสาธารณะในอดีต (Historical Paradigms) แนวความคิดหลัก5 รูปแบบจากพัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์หรือการบริหารสาธารณะในฐานะ สาขาวิชาหนึ่ง จะมีลักษณะที่คาบเกี่ยวกันอยู่
1.1 การเมืองและการบริหารแยกจากกัน (1900-1926) เป็นยุคที่ได้รับอิทธิพลของแนวความคิดที่ว่า รัฐประศาสนศาสตร์และรัฐศาสตร์ไม่ใช่สิ่งเดียวกัน Goodnow, White (1900) เสนอว่าการเมืองเกี่ยวข่องกับการกระทำของกลุ่มผู้บริหารและการกระทำของรัฐเช่น นโยบายกฎหมายแผนพัฒนา เมกกะโปรเจคหรือโครงการใหญ่ๆขณะที่การบริหารเกี่ยวข่องกับการดำเนินงานให้ เป็นไปตามนโนบายกฎหมายและแผนพัฒนา การเมืองเป็นเรื่องของอำนาจค่านิยม ส่วนการบริหารนั้นจะมีความเป็นกลางดังนั้นศาสตร์ทางการ บริหารจึงเกี่ยวข่องกับการบริหารงานของฝ่ายบริหารคำถามที่ตามมาก็คือจริงหรือไม่ที่ศาสตร์ทางการบริหาร ปลอดจากค่านิยมโดยเฉพาะค่านิยมทางการเมือง
1.2 หลักการของรัฐประศาสนศาสตร์หรือการบริหารสาธารณะ (1927-1937) ช่วงเวลาที่ได้รับอิทธิพลของหลักการทางการบริหาร เฮนรี่ฟาโยและกุลลิค(Henry Fayol, Gulic Urwick, 1937) เสนอแนวคิดเกี่ยวกับหลักการของการบริหารต้องคนควราให้เกิดความเชี่ยวชาญ และผู้เชี่ยวชาญ ต้องเรียนรู้ให้เกิดความสามารถนำไปปฏิบัติใช่ได้อย่างเหมาะสม แต่หลักการดังกล่าว ยังไม่ให้ความสำคัญต่อ แนวความคิดด้านวัฒนธรรม หน้าที่และกรอบของความเป็นสถาบัน มีเพียงหลักการของการบริหารเช่น หลัก PODSCORB อย่างไรก็ตาม มีการท่าทายหลักการของPODSCORB โดย เอฟเอ็ม มาร์ก( F.M. Marx, 1946) และ ไซมอน (H. Simon, 1947) มาร์กเห็นว่า การงบประมาณ (Budgetary) เป็นเรื่องการตัดสินใจทางการเมืองไซมอน เสนอว่า การบริหารสาธารณะเป็นเรื่องของ ประการแรกการตัดสินใจอย่างมีเหตุผล(Rational Decision) ภายใต้ ข่าวสารข้อมูลที่สามารถหามาได้และมีอยู่ ประการที่สองคือการตัดสินใจจากทางเลือกทั้งหมดที่สามารถจะนำมา ประเมินได้นอกจากนั้น แนวความคิดใหม่ของเขาเสนอว่าการบริหารสาธารณะเป็นศาสตร์ทางสังคมจิตวิทยาและ นำไปใช่ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายสาธารณะ
จ.ส.อ.เรืองยศ สามารถ รหัส 64423471057
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์ มีลักษะ 7 ประการดังนี้
(Nhimpanit, 2010) ประการแรก จัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ รัฐควรมีบทบาทหน้าที่ในการจัดให้มีกฎ ระเบียบที่จำเป็นสำหรับการดำเนินการตามระบบทุนนิยมสมัยใหม่ ปกป้องสิทธิในทรัพย์สิน การบังคับใช้ สัญญาต่างๆ รวมทั้งการจัดให้มีมาตรการต่างๆ อาทิเรื่องลิขสิทธิ์การรักษากฎหมาย ระบบภาษีกฎหมาย ล้มละลาย รวมถึง กฎกติกาทางการเมืองที่สามารถรองรับชีวิตทางเศรษฐกิจได้เป็นต้น
ประการที่สอง การจัดหาสินค้าและบริการส่วนรวมที่มีลักษณะหลากหลาย ในแง่ของหลักการ มี สินค้าสาธารณะ บางประเภทที่มีคุณค่าต่อสังคมโดยรวมเป็นสินค้าที่ใช้ร่วมกัน บางคนใช้น้อยหรือมาก บาง คนไม่ได้ใช้เลย เพราะสินค้าดังกล่าวเมื่อรัฐได้จัดให้มีจะเป็นประโยชน์สำหรับคนทั่วไป ได้แก่ การป้องกัน ประเทศ ถนน สะพาน ระบบการป้องกันน้ำท่วม ระบบสัญญาณควบคุมจราจร เป็นต้น
ประการที่สาม การหาข้อยุติและปรองดองความขัดแย้งระหว่างกลุ่มต่างๆ บทบาทหน้าที่นี้คือ เหตุผลเบื้องต้นว่าทำไมรัฐจึงต้องมีหรือคงอยู่ เพราะถ้าปราศจากซึ่งบทบาทหน้าที่นี้ของรัฐ สังคมจะขัดแย้ง วุ่นวาย จะมีแต่ความไร้ระเบียบ ไม่มีความมั่นคง หาความยุติธรรมไม่ได้นอกจากนี้บทบาทหน้าที่ในเรื่องนี้ ของรัฐยังช่วยปกป้องคุ้มครองพวกที่อ่อนแอโดนรังแกจากพวกที่มีความเข้มแข็งหรือแข็งแกร่งกว่า
ประการที่สี่ การรักษาการแข่งขัน การรักษาการแข่งขัน ในระบบทุนนิยมสมัยใหม่ในแง่ของหลัก การเน้นการแข่งขัน ดังนั้นหากปราศจากบทบาทหน้าที่นี้ของรัฐ แน่นอนภาคเอกชนย่อมประสบปัญหาการ แข่งขันระหว่างกัน ทั้งนี้เพราะการแข่งขันไม่สามารถรักษาตัวของมันเองได้เมื่อเป็นเช่นนี้ทางภาคเอกชนจึง ต้องการให้รัฐเป็นคนรักษากติกาหรือคอยติดตามการแข่งขัน ทั้งนี้เพื่อให้มีหลักประกัน ถ้าไม่เช่นนั้น หากเกิด สภาวะการแข่งขันที่ไม่มีกติกาคือภาคเอกชนสามารถแข่งขันโดยไม่มีขอบเขตจำกัด โดยทั่วไปลักษณะของ การแข่งขันดังกล่าวจะทำลายตัวมันเอง
ประการที่ห้า การปกป้องทรัพยากรธรรมชาติโดยทั่วไป กิจกรรมการตลาดมักจะก่อให้เกิดความ เสียหายต่อระบบสภาพแวดล้อม ดังนั้น หากรัฐไม่มีบทบาทหน้าที่นี้ย่อมนำไปสู่ความล้มเหลวทางการตลาด บทบาทหน้าที่ของรัฐหรือรัฐบาลช่วยระงับหรือบรรเทาเบาบางความเสียหายของระบบสภาพแวดล้อมหรือ ทรัพยากรธรรมชาติได้ 620 วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์มจร ปีที่ 6 ฉบับพิเศษ
ประการที่หก การจัดให้ปัจเจกชนสามารถเข้าถึงสินค้าและบริการที่ประหยัดได้การดำเนินการ ของตลาด บางครั้งก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่สังคมยอมรับไม่ได้เช่น การก่อให้เกิดผลกระทบต่อประชาชน ในขณะ ที่ประชาชนบางกลุ่มอาจจะเจ็บไข้ได้ป่วย ชราภาพ ไม่รู้หนังสือ เป็นต้น
ประการสุดท้าย การทำให้ระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพ ในแง่ของหลักการ วงจรธุรกิจของระบบ เศรษฐกิจ มักจะมีภาวะที่แกว่งตัวไปมา กล่าวคือ ในบางช่วงธุรกิจอาจจะเฟื่องฟูแต่บางช่วงอาจจะอยู่ใน ภาวะถดถอย ในกรณีดังกล่าวรัฐจะต้องเข้ามาดำเนินการแก้ไขปัญหาโดยใช้นโยบายทางงบประมาณหรือ นโยบายทางด้านการเงิน รวมทั้งมีการควบคุมราคาค่าจ้าง แม้ว่าในการดำเนินการตามนโยบายดังกล่าวบาง ครั้งอาจจะเกิดความผิดพลาดแต่สังคมชุมชนก็ยังมีความคาดหวังให้รัฐมีความรับผิดชอบในเรื่องเหล่านี้ทั้งนี้ เพื่อให้ระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพ
อาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า รัฐหรือรัฐบาลมีบทบาทหน้าที่พื้นฐานที่สำคัญ จะให้ใครดำเนินการไม่ได้ เพราะจะเกิดความไม่ยุติธรรม เท่าเทียมและเสมอภาคได้รัฐหรือรัฐบาลจึงจำเป็นต้องเป็นตัวแทนของรัฐใน การดำเนินการแทนประชาชนทุกคน โดยเฉพาะการให้ได้รับซึ่งสินค้าและบริการสาธารณะพื้นฐาน เพื่อให้ ประชาชนทุกคนในรัฐเข้าถึงซึ่งสินค้าและบริการสาธารณะนั้นทั่วถึงและเท่าเทียวกัน ส่วนรูปแบบในราย ละเอียดจะเป็นเช่นใดนั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยสภาพแวดล้อมของรัฐนั้น อาทิปัจจัยสภาพแวดล้อมทางการเมือง

จ.ส.อ.เรืองยศ สามารถ รหัส 64423471057
Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
ธรรมาภิบาล (good governance) นับเป็นกระแสที่ทุกภาคส่วนไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาชน ให้ความสนใจ และนำมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานของ องค์กร ด้วยหลักธรรมมาภิบาล ซึ่งประกอบด้วยหลักสำ คัญ 6 ประการคือหลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักสำนึกรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า เป็นความ สอดคล้องกับความรู้สึกและความต้องการของสาธารณะชน และสาธารณะชนก็มีความคาดหวังให้ ทุกภาคส่วนมีการปฎิบัติอย่างแท้จริง มิใช่เป็นเพียงแต่กระแสนิยมเท่านั้น ด้วยผลลัพธ์ของการ ด าเนินงานด้วยหลักธรรมาภิบาล จะนำมาซึ่งสันติสุขแห่งมวลมนุษยชาติอย่างยั่งยืน หลักธรรมาภิบาลหรือหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี หมายความว่า หลักการ บริหารงานภาครัฐ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ไม่ มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจ าเป็น มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์ ประชาชนได้รับการอ านวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ มีการประเมินผลการ ปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ธรรมาภิบาล ตามในพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณท์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ ดี พ.ศ.2546 มีหลักพื้นฐาน 6 ประการ ดังนี้
(1) หลักนิติธรรม (Rule of Law) หมายถึง การตรากฎหมายที่ถูกต้องเป็นธรรม การบังคับ ใช้กฎหมาย การกำหนด กฎ กติกา และการปฏิบัติตามกฎกติกาที่ตกลงกันไว้อย่าง เคร่งครัด โดยคำนึงถึงสิทธิเสรีภาพความยุติธรรมของสมาชิก
(2) หลักคุณธรรม (Ethics) หมายถึง การยึดมั่นในความถูกต้องดีงาม การส่งเสริมสนับสนุน ให้ประชาชนพัฒนาตนเองไปพร้อมกัน เพื่อให้คนไทยมีความซื่อสัตย์จริงใจ ขยันอดทน มีระเบียบวินัย ประกอบอาชีพสุจริตจนเป็นนิสัยประจำชาติ
(3) หลักความโปร่งใส (Transparency) หมายถึง การสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกันของ คนในชาติ โดยการปรับปรุงกลไกการทำงานขององค์กรทุกวงการให้มีความโปร่งใส
(4) หลักการมีส่วนร่วม (Participation) หมายถึงการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ และเสนอความเห็นในการตัดสินใจ ปัญหาสำคัญของประเทศไม่ว่าด้วยการแจ้ง ความเห็น การไต่สวนสาธารณะ การประชาพิจารณ์ การแสดงประชามติหรืออื่นๆ
(5) หลักสำนึกรับผิดชอบ (Accountability) หมายถึงการตระหนักในสิทธิหน้าที่ ความสานึกในความรับผิดชอบต่อสังคม การใส่ใจปัญหาสาธารณะของบ้านเมือง และการ กระตือรือร้นในการแก้ปัญหาตลอดจนความเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่างและความ กล้าที่จะยอมรับผลดี และเสียจากการกระท าของตนเอง
(6) หลักความคุ้มค่า (Value for Money) หมายถึงการบริหารจัดการและการใช้ทรัพยากร ที่มีจำกัด เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม โดยให้มีองค์กรหรือประชาชนมีความ ประหยัดใช้ของอย่างคุ้มค่า สร้างสรรค์สินค้าและบริการที่มีคุณภาพสามารถแข่งขันได้ใน เวทีโลก และรักษาพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติให้สมบูรณ์ยั่งยืน
จ.ส.อ.ธานินทร์ บริบูรณ์

1.อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
ตอบ รัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะเฉพาะที่สำคัญ คือ การเป็นสหวิทยาการ ซึ่งประกอบไปด้วยศาสตร์ ต่างๆ ใช้ร่วมในการศึกษา ตลอดจนอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในทางรัฐประศาสนศาสตร์ ประกอบไปด้วย วิชารัฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาวิทยาการจัดการ วิชาการบริหารธุรกิจวิชาสังคมวิทยา วิชาจิตวิทยา วิชามนุษยศาสตร์ และวิชานิติศาสตร์ ซึ่งจะมีความสมบูรณ์ครอบคลุมในการศึกษา
จากพัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์สามารถอธิบายได้ว่าพื้นฐานแนวคิดหลักในการศึกษาประกอบไปด้วย 4 สำนักด้วยกัน คือ
1. สำนักที่สนใจศึกษาแบบดั้งเดิม กล่าวคือ สนใจศึกษาสังคมวิทยา จิตวิทยา โดยเน้นและปรับใช้ในเรื่องของความสัมพันธ์ของมนุษย์ และสนใจในรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์โดยนำมาใช้ในการปฏิรูประบบ
2. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงพฤติกรรม โดยนำมาใช้ศึกษาถึงระบบราชการทฤษฎีองค์การ การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ และการพัฒนาองค์การ
3. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงเหตุผลนิยม โดยนำวิชาเศรษฐศาสตร์และการบริหารธุรกิจมาใช้ศึกษาในเรื่องของการวิเคราะห์นโยบาย และการจัดการ
4. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงการเมือง โดยสนใจในเรื่องการเมืองและกฎหมายโดยศึกษาในการนำนโยบายไปปฏิบัติ การบริหารงานบุคคลในระบบราชการ การจัดทำงบประมาณ และการบริหารงานในท้องถิ่น
จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า รัฐประศาสนศาสตร์มีการนำความรู้ที่หลากหลาย มาประยุกต์ใช้ในวิชาของตนเอง หรือนำวิชาเหล่านั้นมาประกอบเข้ากันเป็นลักษณะของสหวิทยาการ และถือว่าเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ทำให้จำเป็นต้องนำศาสตร์อื่น ๆ และนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาในขอบข่ายของการศึกษาวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ยังจำเป็นต้องมีการศึกษาในศาสตร์อื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์และสถิติ เศรษฐศาสตร์หรือแม้กระทั่งการตลาด และการประชาสัมพันธ์รวมถึงในปัจจุบันมีความสนใจอย่างยิ่งในเรื่องของจริยธรรมและคุณธรรมภายในวิชา รัฐประศาสนศาสตร์

2.นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
ตอบ การเมือง การบริหาร และนโยบายสาธารณะ มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะการบริหารและการเมืองระบบการเมืองจะเป็นระบบใหญ่ที่ครอบคลุมระบบบริหารแต่ในทางปฏิบัติอาจไม่ชัดเจนบางช่วงเวลาการเมืองต้องอาศัยนักบริหารซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านระบบการเมือง
ระบบการบริหาร
นักรัฐประศาสนศาสตร์ได้ให้ความหมายของคำว่า ระบบบริหารไว้หลากหลาย แต่ยังไม่มีความหมายใดที่เป็นที่ยอมรับกัน ตัวอย่างเช่น
J. Kingsbury และ R. Wilcoxให้ความหมายว่า การบริหารหมายถึงกิจกรรมของกลุ่มชนที่ปฏิบัติงานร่วมกัน เพื่อบรรลุจุดหมายปลายทางเดียวกัน ซึ่งได้ขยายความต่อไปว่าต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ ต้องมีบุคคลอย่างน้อย 2 คน ขึ้นไป มีจุดมุ่งหมายร่วมกัน เพื่อที่จะกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อบรรลุถึงสิ่งที่ได้กำหนดไว้
Harold Koontz ให้ความหมายไว้ว่า การบริหารคือ การดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่
กำหนดไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งหลาย ได้แก่ คน เงิน วัตถุสิ่งของเป็นอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานนั้นคำนิยามนี้ใช้ในทางปฏิบัติจริงๆซึ่งเน้นไปที่การจัดการ จากคำนิยามดังกล่าวที่นำเสนอมาข้างต้นได้แสดงให้เห็นว่า การบริหารมุ่งถึงการนำเอานโยบายไปปฏิบัติเป็นหลัก ดังนั้น ข้อเขียนของนักรัฐประศาสนศาสตร์ในช่วงแรก ของการขยายตัวจึงพยายามเน้นให้แยกบทบาทระหว่างฝ่ายการเมืองและฝ่ายบริหาร กล่าวคือ ฝ่ายนิติบัญญัติจะมุ่งไปที่การกำหนดนโยบาย ในขณะที่ฝ่ายบริหารจะมุ่งไปที่การนำนโยบายไปแปลงเป็นแผน แผนงาน โครงการ และนำแผนไปสู่ปฏิบัติสิ่งที่ปรากฎให้เห็นชัดเจน คือ ฝ่ายบริหาร ทั้งระบบประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา หรือระบบของคณะรัฐมนตรีเป็นผู้บริหารของอังกฤษมีสิ่งที่แสดงให้เห็นชัดเจนคือ การมีระบบราชการ เป็นแกนหลักในการนำเอากฎหมาย ระเบียบ หรือคำสั่งไปปฏิบัติ ซึ่งชี้ให้เห็นว่าฝ่ายบริหารมีบทบาทที่ทำให้การนำเอานโยบายไปปฏิบัติมีความเข้มแข็งและมีความเป็นไปได้การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของระบบการเมือง ระบบการบริหาร และ นโยบายสาธารณะ มีความสำคัญไม่น้อยไปกว่าการศึกษากระบวนการกำหนดนโยบาย หรือการนำเอานโยบายไปปฏิบัติเพราะหากมีความรู้ความเข้าใจในความสัมพันธ์ของเรื่องดังกล่าวจะช่วยให้การศึกษานโยบายสาธารณะเกิดความเข้าใจที่ดีมากขึ้น
การกำหนดนโยบายเป็นภารกิจของฝ่ายการเมือง ไม่ว่าจะเป็นการริเริ่มเพื่อการแก้ปัญหาหรือการกำหนดมาตรการให้ประชาชน ปฏิบัติในขณะที่ฝ่ายบริหารมุ่งไปที่การนำนโยบายไปจัดทำแผนโครงการ กฎ คำสั่ง หรือระเบียบ เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายของนโยบายที่ได้กำหนดไว้ ความสัมพันธ์ดังกล่าวจะสะท้อนความคิดในช่วงต้นของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์และเป็นการวิเคราะห์ที่ตรงไปตรงมา แต่ไม่สะท้อนความเป็นจริงที่เป็นอยู่ กล่าวคือ การกำหนดนโยบายการนำนโยบายไปปฏิบัติ และการประเมินผลนโยบาย จะมีกลุ่มบุคคลที่นอกเหนือไปจากฝ่ายการเมืองและฝ่ายบริหารเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย พัฒนาการแนวความคิดที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการเมือง การบริหาร และนโยบายสาธารณะ


3.อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
ตอบ ในบริบทของสังคมไทยการอธิบายและวิเคราะห์การแสดงบทบาทของฝ่ายการเมืองและ
ฝ่ายบริหารในการกำหนดนโยบาย ในบริบทสังคมไทยอาจกล่าวได้ว่า นับตั้งแต่พ.ศ.2475 เป็นต้นมา
การเมืองกับการบริหารไม่อาจแยกออกจากกันได้มีความคล้ายคลึง และความแตกต่างจากบริบทของ
สังคมตะวันตก โดยลักษณะการเมืองกับการบริหารไม่อาจแยกออกจากกันได้ในสังคมไทย มี 2 ลักษณะ
ลักษณะที่ 1 การบริหารกับการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกันได้อย่างเด็ดขาด เพราะ ฝ่าย ข้าราชการประจำ เข้าไปเกี่ยวข้องกับกิจกรรมการกำหนดนโยบายของฝ่ายการเมืองที่มาจากการเลือกตั้งลกษณะดังกล่าว คล้ายกับแนวคิดการบริหารกบัการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกันในสังคมตะวันตก เนื่องจาก แม้หน้าที่หลักในการกำหนดนโยบายสาธารณะจะเป็นของฝ่ายการเมือง และฝ่ายข้าราชการ ประจำ มีหน้าที่ในการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติให้บรรลุผลสำเร็จ แต่ในความเป็นจริงทั้งสองฝ่าย ต่างก็ต้องทำงานร่วมกันและพึ่งพากันเพื่อใหการกำหนดนโยบายและการนำนโยบายไปปฏิบัติบรรลุผลสำเร็จ ข้าราชการประจำบางครั้งมักเข้าไปก้าวก่ายงานของฝ่ายการเมือง โดยการเสนอข้อมูล ข้อเสนอแนะ หรือ ริเริ่มนโยบายใหม่แก่ฝ่ายการเมือง โดยเฉพาะนโยบายด้านเทคนิค ซึ่งข้าราชการ ประจำ มีความรู้ความเชี่ยวชาญมากกว่าฝ่ายการเมือง ดังจะเห็นได้จาก การนำเสนอข้อมูลประกอบการ กำหนดนโยบายของฝ่ายการเมือง การนำ เสนอแนวทางการนา ไปปฏิบัติหรือ ร่างกฎหมายและ กฎระเบียบของแต่ละกระทรวง ทบวง กรม เป็นต้น หรือการมีส่วนเกี่ยวข้องในการกำหนดนโยบาย สาธารณะโดยการตีความเพื่อสร้างความชัดเจนหรือกำหนดรายละเอียดในการนำ นโยบายไปปฏิบัติโดย ทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการประจำ จะอยู่พื้นฐานของอำนาจหน้าที่ และฝ่าย ข้าราชการประจำจะต้องอยู่ภายใต้การควบคุมบังคับบัญชาของฝ่ายการเมือง
ลักษณะที่ 2 ในบริบทของการเมืองและสังคมไทย ฝ่ายข้าราชการประจำโดยเฉพาะทหารและ ตำรวจมีอำนาจมาก โดยเฉพาะอำนาจอาวุธยุทโธปกรณ์และกำลังพล และใชอำนาจ ดังกล่าวในการเข้าสู่สถานะเป็นตัวแสดง ในฝ่ายการเมืองโดยการปฏิวัติรัฐประหาร และมีการพึ่ง ฝ่ายขา้ราชการประจำ ในสายพลเรือนในกิจกรรมการกำหนดนโยบายของฝ่ายการเมืองที่มาจากการ ปฏิวัติรัฐประหารในฐานะที่เป็นคลังสมองของรัฐบาลทหาร

สิบเอกขจรวุฒิ สุทธิประภา รหัสนักศึกษา 64423471140
Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์ตอบ ความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะเฉพาะที่สำคัญ คือ การเป็นสหวิทยาการ ซึ่งประกอบไปด้วยศาสตร์ต่าง ๆ ใช้ร่วมในการศึกษา ตลอดจนอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในทางรัฐประศาสนศาสตร์ โดยในทัศนะของ Chandler (1989, pp. 639-641) เห็นว่า ควรประกอบไปด้วย วิชารัฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาวิทยาการจัดการ วิชาการบริหารธุรกิจวิชาสังคมวิทยา วิชาจิตวิทยา วิชามนุษยศาสตร์ และวิชานิติศาสตร์ ซึ่งจะมีความสมบูรณ์ครอบคลุมในการศึกษา
ในขณะที่ McCurdy (1986, pp. 17-21) เห็นว่า จากพัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์สามารถอธิบายได้ว่าพื้นฐานแนวคิดหลักในการศึกษาประกอบไปด้วย 4 สำนักด้วยกัน คือ
1. สำนักที่สนใจศึกษาแบบดั้งเดิม กล่าวคือ สนใจศึกษาสังคมวิทยา จิตวิทยา โดยเน้นและปรับใช้ในเรื่องของความสัมพันธ์ของมนุษย์ และสนใจในรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์โดยนำมาใช้ในการปฏิรูประบบ
2. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงพฤติกรรม โดยนำมาใช้ศึกษาถึงระบบราชการทฤษฎีองค์การ การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ และการพัฒนาองค์การ
3. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงเหตุผลนิยม โดยนำวิชาเศรษฐศาสตร์และการบริหารธุรกิจมาใช้ศึกษาในเรื่องของการวิเคราะห์นโยบาย และการจัดการ
4. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงการเมือง โดยสนใจในเรื่องการเมืองและกฎหมายโดยศึกษาในการนำนโยบายไปปฏิบัติ การบริหารงานบุคคลในระบบราชการ การจัดทำงบประมาณ และการบริหารงานในท้องถิ่น
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
ตอบ นโยบายสาธารณะ คือ นโยบายที่รัฐเป็นผู้ดำเนินการเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน
ช่วยแก้ไขปัญหาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น เป็นสิ่งที่เอื้ออำนวยผลประโยชน์และแสดงให้เห็นถึง
ความสัมพันธ์ต่อทั้งประชาชนและรัฐบาล โดยนโยบายสาธารณะแบ่งออกเป็นหลายประเภทด้วยกัน ซึ่งแต่ละ
ประเภทนั้นก็จะแตกต่างกันออกไป ตามความเหมาะสม ส่วนการนำไปใช้บริหารประเทศนั้นก็ขึ้นอยู่กับ
รัฐบาลแต่ละชุดว่าจะกำหนดและปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะแบบไหน เพื่อตอบสนองความต้องการของ
ประชาชนมากที่สุด ดังนั้นนโยบายสาธารณะจึงเป็นแนวทางปฏิบัติของรัฐบาลที่มุ่งเน้นสร้างผลประโยชน์ให้
กับประชาชนเป็นหลัก เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน และพัฒนาชีวิตประชาชนให้ดียิ่งขึ้น
ที่สำคัญต้องให้ความสำคัญในหลายๆด้านไม่ว่าจะเป็นการกำหนดนโยบายรวมไปถึงการนำนโยบายไปปฏิบัติ
ถ้าหากสามารถนำไปปฏิบัติได้จริงและตรงกับความต้องการของประชาชนก็จะสามารถช่วยให้ประชาชนมี
ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นได้อย่างแท้จริง
Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
ตอบ ในการศึกษา การเมือง การบริหาร และการกำหนดนโยบายสาธารณะ ภายใต้แนวคิดการบริหารกับ
การเมืองที่ไม่แยกออกจากกันในบริบทสังคมตะวันตกและบริบทสังคมไทยกล่าวได้ว่า มีความแตกต่างกันใน
หลายประการ โดยความแตกต่างที่สำคัญ มาจาก ความแตกต่างในแง่ที่มาและความว่าชอบธรรมของตัวแสดงในฝ่ายการเมือง ความสมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างฝ่ายการเมืองและฝ่ายบริหาร และระดับการเข้าไปเกี่ยวข้องของฝ่ายบริหารในกิจกรรมการกำหนดนโยบายสาธารณะ เหตุที่เป็นเช่นนั้นมาจาก ความแตกต่างในโครงสร้าง
สังคมและสภาพแวดล้อมทางการเมืองและการบริหารในบริบทของสังคมตะวันตกและสังคมไทย
จ.ส.อ. นิวัฒน๋ ราชบุตร 64423471180 รุ่น 49 ห้อง 4
Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
1. ความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะเฉพาะที่สำคัญ คือ การเป็นสหวิทยาการซึ่งประกอบไปด้วยศาสตร์ ต่าง ๆ ใช้ร่วมในการศึกษาตลอดจนอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในทางรัฐประศาสนศาสตร์โดย ในทัศนะของ Chandler เห็นว่าควรประกอบไปด้วย วิชารัฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาวิทยาการจัดการ วิชาการบริหารธุรกิจวิชาสังคมวิทยา วิชาจิตวิทยา วิชามนุษยศาสตร์ และวิชานิติศาสตร์ ซึ่งจะมีความสมบูรณ์ครอบคลุมในการศึกษาในขณะที่ McCurdy เห็นว่า จากพัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์สามารถอธิบายได้ว่าพื้นฐานแนวคิดหลักในการศึกษาประกอบไปด้วย 4 สำนักด้วยกัน คือ
1. สำนักที่สนใจศึกษาแบบดั้งเดิม กล่าวคือ สนใจศึกษาสังคมวิทยา จิตวิทยา โดยเน้นและปรับใช้ ในเรื่องของความสัมพันธ์ของมนุษย์ และสนใจในรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์โดยนำมาใช้ในการปฏิรูประบบ
2. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงพฤติกรรม โดยนำมาใช้ศึกษาถึงระบบราชการทฤษฎีองค์การ การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ และการพัฒนาองค์การ
3. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงเหตุผลนิยม โดยนำวิชาเศรษฐศาสตร์และการบริหารธุรกิจมาใช้ศึกษา ในเรื่องของการวิเคราะห์นโยบาย และการจัดการ
4. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงการเมือง โดยสนใจในเรื่องการเมืองและกฎหมายโดยศึกษาในการนำนโยบายไปปฏิบัติ การบริหารงานบุคคลในระบบราชการ การจัดทำงบประมาณ และการบริหารงานในท้องถิ่น
จะเห็นได้ว่า รัฐประศาสนศาสตร์มีการนำความรู้ที่หลากหลายมาประยุกต์ใช้ในวิชาของตนเอง หรือนำวิชาเหล่านั้นมาประกอบเข้ากันเป็นลักษณะของสหวิทยาการ และถือว่าเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ทำให้จำเป็นต้องนำศาสตร์อื่น ๆ และนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาในขอบข่ายของการศึกษาวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ยังจำเป็นต้องมีการศึกษาในศาสตร์อื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์ และสถิติ เศรษฐศาสตร์ หรือแม้กระทั่งการตลาด และการประชาสัมพันธ์รวมถึงในปัจจุบันมีความสนใจอย่างยิ่งในเรื่องของจริยธรรม และคุณธรรมภายในวิชารัฐประศาสนศาสตร์
2. การพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
พัฒนาการของแนวความคิดรัฐประศาสนศาสตร์หรือการบริหารสาธารณะและการเปลี่ยนแปลงของยุค สมัยในการบริหารสาธารณะ นำไปสู่การพัฒนาของศาสตร์ทางการบริหารและนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการบริหารในหลายประเทศการพัฒนาแนวความคิดและการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะชี้ให้เห็นถึงรูปแบบและลักษณะของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
จ.ส.อ. นิวัฒน๋ ราชบุตร 64423471180 รุ่น 49 ห้อง 4
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์ มีลักษะ 7 ประการดังนี้
ประการแรก จัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ รัฐควรมีบทบาทหน้าที่ในการจัดให้มีกฎระเบียบที่จำเป็นสำหรับการดำเนินการตามระบบทุนนิยมสมัยใหม่ปกป้องสิทธิในทรัพย์สินการบังคับใช้ สัญญาต่างๆ รวมทั้งการจัดให้มีมาตรการต่างๆ อาทิ เรื่องลิขสิทธิ์การรักษากฎหมาย ระบบภาษีกฎหมาย ล้มละลาย รวมถึง กฎกติกาทางการเมืองที่สามารถรองรับชีวิตทางเศรษฐกิจได้เป็นต้น
ประการที่สอง การจัดหาสินค้าและบริการส่วนรวมที่มีลักษณะหลากหลายในแง่ของหลักการมีสินค้าสาธารณะบางประเภทที่มีคุณค่าต่อสังคมโดยรวมเป็นสินค้าที่ใช้ร่วมกัน บางคนใช้น้อยหรือมาก บางคนไม่ได้ ใช้เลยเพราะสินค้าดังกล่าวเมื่อรัฐได้จัดให้มีจะเป็นประโยชน์สำหรับคนทั่วไป ได้แก่ การป้องกัน ประเทศ ถนน สะพาน ระบบการป้องกันน้ำท่วม ระบบสัญญาณควบคุมจราจร เป็นต้น
ประการที่สาม การหาข้อยุติและปรองดองความขัดแย้งระหว่างกลุ่มต่างๆ บทบาทหน้าที่นี้คือเหตุผลเบื้องต้นว่าทำไมรัฐจึงต้องมีหรือคงอยู่เพราะถ้าปราศจากซึ่งบทบาทหน้าที่นี้ของรัฐ สังคมจะขัดแย้ง วุ่นวาย จะมีแต่ความไร้ระเบียบไม่มีความมั่นคงหาความยุติธรรมไม่ได้นอกจากนี้บทบาทหน้าที่ในเรื่องนี้ของรัฐยังช่วยปกป้องคุ้มครองพวกที่อ่อนแอโดนรังแกจากพวกที่มีความเข้มแข็งหรือแข็งแกร่งกว่า
ประการที่สี่ การรักษาการแข่งขัน การรักษาการแข่งขัน ในระบบทุนนิยมสมัยใหม่ในแง่ของหลัก การเน้นการแข่งขัน ดังนั้นหากปราศจากบทบาทหน้าที่นี้ของรัฐ แน่นอนภาคเอกชนย่อมประสบปัญหา การแข่งขันระหว่างกัน ทั้งนี้เพราะการแข่งขันไม่สามารถรักษาตัวของมันเองได้เมื่อเป็นเช่นนี้ทางภาคเอกชน จึงต้องการให้รัฐเป็นคนรักษากติกาหรือคอยติดตามการแข่งขัน ทั้งนี้เพื่อให้มีหลักประกัน ถ้าไม่เช่นนั้นหากเกิดสภาวะการแข่งขันที่ไม่มีกติกาคือภาคเอกชนสามารถแข่งขันโดยไม่มีขอบเขตจำกัดโดยทั่วไปลักษณะของการแข่งขันดังกล่าวจะทำลายตัวมันเอง
ประการที่ห้า การปกป้องทรัพยากรธรรมชาติโดยทั่วไป กิจกรรมการตลาดมักจะก่อให้เกิดความ เสียหายต่อระบบสภาพแวดล้อม ดังนั้นหากรัฐไม่มีบทบาทหน้าที่นี้ย่อมนำไปสู่ความล้มเหลวทางการตลาด บทบาทหน้าที่ของรัฐหรือรัฐบาลช่วยระงับหรือบรรเทาเบาบางความเสียหายของระบบสภาพแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติได้ 620 วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์มจร ปีที่ 6 ฉบับพิเศษ
ประการที่หก การจัดให้ปัจเจกชนสามารถเข้าถึงสินค้าและบริการที่ประหยัดได้การดำเนินการ ของตลาดบางครั้งก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่สังคมยอมรับไม่ได้ เช่น การก่อให้เกิดผลกระทบต่อประชาชน ในขณะที่ประชาชนบางกลุ่มอาจจะเจ็บไข้ได้ป่วยชราภาพไม่รู้หนังสือ เป็นต้น
ประการสุดท้าย การทำให้ระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพในแง่ของหลักการวงจรธุรกิจของ ระบบเศรษฐกิจมักจะมีภาวะที่แกว่งตัวไปมา กล่าวคือ ในบางช่วงธุรกิจอาจจะเฟื่องฟูแต่บางช่วงอาจจะอยู่ในภาวะถดถอยในกรณีดังกล่าวรัฐจะต้องเข้ามาดำเนินการแก้ไขปัญหาโดยใช้นโยบายทางงบประมาณหรือ นโยบายทางด้านการเงิน รวมทั้งมีการควบคุมราคาค่าจ้างแม้ว่าในการดำเนินการตามนโยบายดังกล่าวบางครั้งอาจจะเกิดความผิดพลาดแต่สังคมชุมชนก็ยังมีความคาดหวังให้รัฐมีความรับผิดชอบในเรื่องเหล่านี้ทั้งนี้เพื่อ ให้ระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพ
อาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า รัฐหรือรัฐบาลมีบทบาทหน้าที่พื้นฐานที่สำคัญจะให้ใครดำเนินการไม่ได้ เพราะจะเกิดความไม่ยุติธรรมเท่าเทียมและเสมอภาคได้รัฐหรือรัฐบาลจึงจำเป็นต้องเป็นตัวแทนของรัฐในการดำเนินการแทนประชาชนทุกคนโดยเฉพาะการให้ได้รับซึ่งสินค้าและบริการสาธารณะพื้นฐานเพื่อให้ ประชาชนทุกคนในรัฐเข้าถึงซึ่งสินค้าและบริการสาธารณะนั้นทั่วถึงและเท่าเทียวกันส่วนรูปแบบในรายละเอียดจะเป็นเช่นใดนั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยสภาพแวดล้อมของรัฐนั้น อาทิปัจจัยสภาพแวดล้อมทางการเมือง
จ.ส.อ. นิวัฒน๋ ราชบุตร 64423471180 รุ่น 49 ห้อง 4
Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ ดี พ.ศ.2546 มีหลักพื้นฐาน 6 ประการ ดังนี้
(1) หลักนิติธรรม (Rule of Law) หมายถึง การตรากฎหมายที่ถูกต้องเป็นธรรมการบังคับใช้กฎหมาย การกำหนดกฎ กติกา และการปฏิบัติตามกฎกติกาที่ตกลงกันไว้อย่าง เคร่งครัด โดยคำนึงถึงสิทธิเสรีภาพความยุติธรรมของสมาชิก
(2) หลักคุณธรรม (Ethics) หมายถึง การยึดมั่นในความถูกต้องดีงามการส่งเสริมสนับสนุน ให้ประชาชนพัฒนาตนเองไปพร้อมกันเพื่อให้คนไทยมีความซื่อสัตย์จริงใจขยันอดทนมีระเบียบวินัยประกอบอาชีพสุจริตจนเป็นนิสัยประจำชาติ
(3) หลักความโปร่งใส (Transparency) หมายถึง การสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกันของคนในชาติ โดยการปรับปรุงกลไกการทำงานขององค์กรทุกวงการให้มีความโปร่งใส
(4) หลักการมีส่วนร่วม (Participation) หมายถึงการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ และเสนอความเห็นในการตัดสินใจปัญหาสำคัญของประเทศไม่ว่าด้วยการแจ้งความเห็นการไต่สวนสาธารณะ การประชาพิจารณ์ การแสดงประชามติหรืออื่นๆ
(5) หลักสำนึกรับผิดชอบ (Accountability) หมายถึงการตระหนักในสิทธิหน้าที่ความสานึกใน ความรับผิดชอบต่อสังคมการใส่ใจปัญหาสาธารณะของบ้านเมือง และการกระตือรือร้นในการแก้ปัญหาตลอดจนความเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่างและความกล้าที่จะยอมรับผลดี และเสียจากการกระทฎของตนเอง
(6) หลักความคุ้มค่า (Value for Money) หมายถึงการบริหารจัดการและการใช้ทรัพยากรที่มีจำกัด เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวมโดยให้มีองค์กรหรือประชาชนมีความประหยัดใช้ของอย่างคุ้มค่า สร้างสรรค์สินค้าและบริการที่มีคุณภาพสามารถแข่งขันได้ในเวทีโลก และรักษาพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติให้สมบูรณ์ยั่งยืน
ในบริบทของสังคมไทย การอธิบายและวิเคราะห์การแสดงบทบาทของฝ่ายการเมืองและฝ่ายการเมืองกับการบริหารไม่สามารถแยกออกจากกันได้มีความหมายคล้ายคลึงและแตกต่างจากบริบทของสังคมตะวันตก โดยลักษณะการเมืองกับการบริหารไม่อาจแยกออกจากกันได้ ในสังคมไทย มี 2 ลักษณะ กล่าวคือ
ลักษณะที่ 1 การบริหารกับการเมืองไมรสามารถแยกออกจากกรนได้อยรางเด็ดขาดเพราะฝ่ายข้าราชการประจำเข้าไปเกี่ยวข้องกับกอจกรรมการกำหนดนโยบายของฝ่ายการเมืองที่มาจากการเลือกตัอ งลักษณะดังกล่าวคล้ายกับ แนวคิดการบริหารกับการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกันในสังคมตะวันตก เนื่องจากแม้หน้าที่หลักในการกำหนดนโยบายสาธารณะจะเป็นของฝ่ายการเมือง และฝ่ายข้าราชการประจำมีหน้าที่ในการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติให้บรรลุผลสำเร็จ แต่ในความเป็นจริงทั้งสองฝ่ายต่างก็ต้องทำงานร่วมกันและพึ่งพากันเพื่อให้การกำหนดนโยบายและการนำนโยบายไปปฏิบัติบรรลุผลสำเร็จ ข้าราชการประจำบางครั้งก็มักเข้าไปก้าวก่ายงานของฝ่ายการเมือง โดยการเสนอข้อมูลข้อเสนอแนะ หรือริเริ่มนโยบายใหม่แก่ฝ่ายการเมือง โดยเฉพาะนโยบายด้านเทคนิค ซึ่งข้าราชการประจำมีความรู้ความเชี่ยวชาญมากกว่าฝ่ายการเมือง ดังจะเห็นได้จากนำเสนอข้อมูลประกอบการกำหนดนโยบายของฝ่ายการเมือง การนำเสนอแนวทางการนำไปปฏิบัติ หรือร่างกฎหมายและกฏระเบียบของแต่ละกระทรวง ทบวง กรม เป็นต้น หรือการมีส่วนเกี่ยวข้องในการกำหนดนโยบายสาธารณะโดยการตีความเพื่อสร้างความชัดเจนหรือกำหนดรายละเอียดในการนำนโยบายไปปฏิบัติ โดยทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการประจำจะ อยู่บนพื้นฐานของอำนาจหน้าที่ (authority) และฝ่ายข้าราชการประจำจะต้องอยู่ภายใต้การควบคุมบังคับบัญชาของฝ่ายการเมือง
ลักษณะที่ 2 ในบริบทของการเมืองและสังคมไทย ฝ่ายข้าราชการประจำโดยเฉพาะทหารและตำรวจ มีอำนาจมาก (power/force) โดยเฉพาะอำนาจอาวุธยุทโธปกรณ์และกำลังพล และใช้อำนาจดังกล่าวในการเข้าสู่สถานะเป็นตัวแสดง (actor) ในฝ่ายการเมืองโดยการปฏิวัติรัฐประหาร และมีการพึ่งฝ่ายข้าราชการประจำในสายพลเรือนในกิจกรรมการกำหนดนโยบายของฝ่ายการเมืองที่มาจากการปฏิวัติรัฐประหารในฐานะที่เป็นคลังสมอง (think-tank) ของรัฐบาลทหาร ดังจะเห็นได้จากการศึกษา ของรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ (2546) ที่พบว่าการกำหนดนโยบายสาธารณะทางเศรษฐกิจในช่วง พ.ศ.2475 - 2530 อยู่ ภายใต้ฝ่ายข้าราชการประจำซึ่งเป็นเทคโนแครท อาทิ ข้าราชการประจำในกระทรวงการคลังธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นต้น
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
ตอบ. นโยบายสาธารณะ คือ นโยบายที่รัฐเป็นผู้ดำเนินการเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนช่วยแก้ไขปัญหาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น เป็นสิ่งที่เอื้ออำนวยผลประโยชน์และแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ต่อทั้งประชาชนและรัฐบาล โดยนโยบายสาธารณะแบ่งออกเป็นหลายประเภทด้วยกัน ซึ่งแต่ละประเภทนั้นก็จะแตกต่างกันออกไป ตามความเหมาะสม ส่วนการนำไปใช้บริหารประเทศนั้นก็ขึ้นอยู่กับรัฐบาลแต่ละชุดว่าจะกำหนดและปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะแบบไหน เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนมากที่สุด ดังนั้นนโยบายสาธารณะจึงเป็นแนวทางปฏิบัติของรัฐบาลที่มุ่งเน้นสร้างผลประโยชน์ให้กับประชาชนเป็นหลัก เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน และพัฒนาชีวิตประชาชนให้ดียิ่งขึ้นที่สำคัญต้องให้ความสำคัญในหลายๆด้านไม่ว่าจะเป็นการกำหนดนโยบายรวมไปถึงการนำนโยบายไปปฏิบัติถ้าหากสามารถนำไปปฏิบัติได้จริงและตรงกับความต้องการของประชาชนก็จะสามารถช่วยให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นได้อย่างแท้จริง
นโยบายสาธารณะจึงมีความสำคัญต่อสังคมและประเทศชาติเป็นอย่างมาก เพราะส่งผลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนทั้งประเทศ โดยรัฐบาลต้องออกนโยบายและนำไปปฏิบัติเพื่อช่วยแก้ไขปัญหา หรือทำให้ประชาชนที่ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดียิ่งขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน ส่วนประชาชนเมื่อเห็นว่านโยบายของรัฐบาลมีประโยชน์และตอบสนองต่อความต้องการในการดำเนินชีวิต ก็จะให้การสนับสนุนรัฐบาลมากขึ้น หรืออาจะกล่าวได้ว่า นโยบายสาธารณะเป็นสิ่งที่เอื้ออำนวยผลประโยชน์และแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ต่อทั้งประชาชนและรัฐบาล โดยนโยบายสาธารณะแบ่งออกเป็นหลายประเภทด้วยกันซึ่งแต่ละประเภทนั้นก็จะแตกต่างกันออกไป ตามความเหมาะสม ส่วนการนำไปใช้บริหารประเทศนั้นก็ขึ้นอยู่กับรัฐบาลแต่ละชุดว่าจะกำหนดและปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะแบบไหน เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนมากที่สุด ดังนั้นนโยบายสาธารณะจึงเป็นแนวทางปฏิบัติของรัฐบาลที่มุ่งเน้นสร้างผลประโยชน์ให้กับประชาชนเป็นหลัก เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน และพัฒนาชีวิตประชาชนให้ดียิ่งขึ้น


Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
ตอบ. ธรรมชาติของการบริหารและการเมืองเป็นเรื่องที่ซับซ้อนและมีหลายแง่มุม ซึ่งอาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับระบบการเมืองและวัฒนธรรมของประเทศใดประเทศหนึ่ง อย่างไรก็ตาม โดยทั่วไปแล้ว การบริหารหมายถึงการดำเนินนโยบายและการตัดสินใจของรัฐบาล ในขณะที่การเมืองหมายถึงกระบวนการกำหนดนโยบายและการตัดสินใจ
ในประเทศประชาธิปไตย การเมืองมีลักษณะเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจ -สร้างกระบวนการผ่านการเลือกตั้งและรูปแบบอื่นๆ ของการมีส่วนร่วมของประชาชน ในทางกลับกัน ฝ่ายบริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินนโยบายและการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการเลือกตั้ง
ในระบอบเผด็จการ การเมืองมักถูกครอบงำโดยพรรคเดียวหรือปัจเจกบุคคล และประชาชนอาจมีโอกาสจำกัดในการมีส่วนร่วมหรือเป็นตัวแทน การบริหารในระบบเหล่านี้มักเป็นแบบรวมศูนย์และมีลำดับชั้น โดยมีความโปร่งใสหรือความรับผิดชอบเพียงเล็กน้อย
ทั้งในระบบประชาธิปไตยและเผด็จการ ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารและการเมืองอาจเต็มไปด้วยความตึงเครียดและความขัดแย้ง เจ้าหน้าที่ที่ได้รับการเลือกตั้งอาจขัดแย้งกับข้าราชการอาชีพในเรื่องการนำนโยบายไปใช้ ขณะที่ผู้บริหารอาจพยายามสร้างสมดุลระหว่างความต้องการที่แข่งขันกันจากผู้นำทางการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ และประชาชน โดยรวมแล้ว ลักษณะของการบริหารและการเมืองถูกกำหนดโดยปัจจัยหลายประการ รวมถึงระบบการเมือง วัฒนธรรม และค่านิยมของประเทศใดประเทศหนึ่ง

ส.อ. ณัฐวุฒิ พุ่มพวง 64423471181
Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
ตอบ. ความเป็นสหวิทยาการ ( Interdiscipline ) คือการใช้ความรู้จากศาสตร์หลากหลายแขนง เพื่อมาอธิบายจุดที่ศึกษา การเรียนรัฐประศาสนศาสตร์จึงเป็นการหาความรู้จากหลายสาขาวิชามาประกอบกัน เช่น วิชารัฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาวิทยาการจัดการ วิชาการบริหารธุรกิจวิชาสังคมวิทยา วิชาจิตวิทยา วิชามนุษยศาสตร์ และวิชานิติศาสตร์ ซึ่งจะมีความสมบูรณ์ครอบคลุมในการศึกษา และถือว่าเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ทำให้จำเป็นต้องนำศาสตร์อื่น ๆ และนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาในขอบข่ายของการศึกษาวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ยังจำเป็นต้องมีการศึกษาในศาสตร์อื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์และสถิติ เศรษฐศาสตร์หรือแม้กระทั่งการตลาด และการประชาสัมพันธ์รวมถึงในปัจจุบันมีความสนใจอย่างยิ่งในเรื่องของจริยธรรมและคุณธรรมภายในวิชารัฐประศาสนศาสตร์
การดำเนินกิจการต่าง ๆ ของรัฐนั้นมีขอบเขตครอบคลุมหลายมิติ เพื่อการบริหารที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการนั้น รัฐประศาสนศาสตร์จึงต้องนำเอาสาขาวิชาอื่น ๆ มาประยุกต์ใช้ และมีขอบเขตที่กว้างขวางตามความเหมาะสม และกลับจะเป็นการเปล่าประโยชน์ถ้าหากจะมุ่งพิจารณาความสัมพันธ์ของรัฐประศาสนศาสตร์กับสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งเท่านั้น ทั้งนี้ ในความจริงแล้วสาขาวิชาต่าง ๆ ก็ได้มีการเสริมสร้างความเข้าใจระหว่างกัน มีการร่วมมือศึกษาและทำการวิจัยร่วมกัน ดังนั้น วิชารัฐประศาสนศาสตร์จึงต้องใช้ความรู้ระหว่างศาสตร์วิชาต่าง ๆ เหล่านั้น หรือที่เรียกว่า สหวิทยาการ (inter-disciplinary) มาประยุกต์ใช้กับโลกแห่งความเป็นจริง นอกจากนี้ในทางปฏิบัติแล้วรัฐประศาสนศาสตร์ยังมีความสัมพันธ์กับวิชาชีพอื่น ๆ อีก เช่น วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารธุรกิจ นิติศาสตร์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้รัฐประศาสนศาสตร์จึงมีความสัมพันธ์กับสาขาวิชาต่าง ๆ ที่กล่าวมา และนอกจากนี้การศึกษาในวิชารัฐประศาสนศาสตร์จะต้องเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่าง ๆ อย่างกว้างขวางแล้ว สิ่งที่ขาดเสียมิได้ในการผลิตนักรัฐประศาสนศาสตร์ก็คือ การสร้างจริยธรรม อุดมการณ์ และพฤติกรรม ที่รับผิดชอบต่อสังคมต่อ ๆ ไป
การศึกษาที่มีความหลากหลายและเกิดเป็นพัฒนาแนวความคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์จนเป็นศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับและเป็นที่นิยมทั่วไป ทำให้มีนักวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ทำการศึกษาพัฒนาการของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ โดยมีการจำแนกลำดับการพัฒนาของสาขาวิชานี้อย่างกว้างขวางและมีความหลากหลายขึ้นอยู่กับว่านักวิชาการใดจะให้ความสำคัญในมิติใด แม้การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์อย่างเป็นระบบหรือในฐานะของวิชาจะมีจุดเริ่มต้นที่เห็นพ้องต้องกันคือ ปี ค.ศ. 1887 จากบทความของ วูดโรว์ วิลสัน (Woodrow Wilson) (โดยทั่วไปนักวิชาการยอมรับกันว่าวิชารัฐประศาสนศาสตร์ถือกำเนิดมา ประมาณเกือบร้อยปีแล้วกล่าวคือนับตั้งแต่ปี 1887 ที่ Woodrow Wilson เขียนบทความเรื่อง “The Study of Administration” ขึ้น (พิทยา บวรวัฒนา, 2538, น. 11) แต่ในแง่การอธิบายพัฒนาการรัฐประศาสนศาสตร์มีความแตกต่างกับสาขาวิชาอื่นๆ ที่มักแบ่งโดย ใช้คาว่า “ยุค” หรือ “สมัย” โดยแนวทางการอธิบายพัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์ มักใช้วิธีการอธิบายโดยใช้คำว่า “paradigm” (พาราไดม์) หรือ “กระบวนทัศน์” อันเป็นเครื่องมืออธิบายซึ่งได้รับความนิยมอย่างสูงในหมู่ผู้ศึกษารัฐประศาสนศาสตร์โดย โทมัส คูห์น (Thomas Kuhn) คือ ผู้นำเสนอความหมายของคาว่า “พาราไดม์” ที่มีอิทธิพลต่อการสร้างองค์ความรู้ในวงการสังคมศาสตร์เป็นอย่างมาก หลังจากที่ Kuhn เสนอให้ใช้คำนี้วงการสังคมศาสตร์ใช้เวลาอยู่ระยะหนึ่งก่อนที่จะมีการยอมรับและใช้กันอย่างแพร่หลายในระยะต่อมา “Paradigm” เป็นคำกิริยาภาษากรีก แปลว่า “การแสดงให้เห็นไว้ข้างเคียงกัน” อันหมายความถึง “การแสดงตัวอย่างให้เห็น” พาราไดม์เป็นตัวกำหนดเงื่อนไขครอบงำความคิดของบุคคลในการกำหนดปัญหาและวิธีที่ใช้ในการวิจัย สำหรับความหมายที่ให้ไว้โดย Kuhn (1970, อ้างถึงใน อมรา พงศาพิชญ์, 2557, น. 10) นักวิชาการผู้บุกเบิกการใช้คำนี้กล่าวว่า พาราไดม์ หมายถึง กลุ่มความคิดพื้นฐาน ซึ่งเป็นกรอบชี้นำแนวทางและการกระทำของปัจเจกบุคคลและสังคมโดยรวมทั้งใน การใช้ชีวิตประจำวันไปจนถึงการแสวงหาความรู้ทางศาสตร์ เป็นต้น
ส.อ.อภิสิทธิ์ ปิ่นทอง 64423471176
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
ตอบ. นโยบายสาธารณะ คือ นโยบายที่รัฐเป็นผู้ดำเนินการเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนช่วยแก้ไขปัญหาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น เป็นสิ่งที่เอื้ออำนวยผลประโยชน์และแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ต่อทั้งประชาชนและรัฐบาล โดยนโยบายสาธารณะแบ่งออกเป็นหลายประเภทด้วยกัน ซึ่งแต่ละประเภทนั้นก็จะแตกต่างกันออกไป ตามความเหมาะสม ส่วนการนำไปใช้บริหารประเทศนั้นก็ขึ้นอยู่กับรัฐบาลแต่ละชุดว่าจะกำหนดและปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะแบบไหน เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนมากที่สุด ดังนั้นนโยบายสาธารณะจึงเป็นแนวทางปฏิบัติของรัฐบาลที่มุ่งเน้นสร้างผลประโยชน์ให้กับประชาชนเป็นหลัก เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน และพัฒนาชีวิตประชาชนให้ดียิ่งขึ้นที่สำคัญต้องให้ความสำคัญในหลายๆด้านไม่ว่าจะเป็นการกำหนดนโยบายรวมไปถึงการนำนโยบายไปปฏิบัติถ้าหากสามารถนำไปปฏิบัติได้จริงและตรงกับความต้องการของประชาชนก็จะสามารถช่วยให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นได้อย่างแท้จริง
นโยบายสาธารณะจึงมีความสำคัญต่อสังคมและประเทศชาติเป็นอย่างมาก เพราะส่งผลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนทั้งประเทศ โดยรัฐบาลต้องออกนโยบายและนำไปปฏิบัติเพื่อช่วยแก้ไขปัญหา หรือทำให้ประชาชนที่ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดียิ่งขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน ส่วนประชาชนเมื่อเห็นว่านโยบายของรัฐบาลมีประโยชน์และตอบสนองต่อความต้องการในการดำเนินชีวิต ก็จะให้การสนับสนุนรัฐบาลมากขึ้น หรืออาจะกล่าวได้ว่า นโยบายสาธารณะเป็นสิ่งที่เอื้ออำนวยผลประโยชน์และแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ต่อทั้งประชาชนและรัฐบาล โดยนโยบายสาธารณะแบ่งออกเป็นหลายประเภทด้วยกันซึ่งแต่ละประเภทนั้นก็จะแตกต่างกันออกไป ตามความเหมาะสม ส่วนการนำไปใช้บริหารประเทศนั้นก็ขึ้นอยู่กับรัฐบาลแต่ละชุดว่าจะกำหนดและปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะแบบไหน เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนมากที่สุด ดังนั้นนโยบายสาธารณะจึงเป็นแนวทางปฏิบัติของรัฐบาลที่มุ่งเน้นสร้างผลประโยชน์ให้กับประชาชนเป็นหลัก เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน และพัฒนาชีวิตประชาชนให้ดียิ่งขึ้น
ส.อ.อภิสิทธิ์ ปิ่นทอง 64423471176
Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
ตอบ. ธรรมชาติของการบริหารและการเมืองเป็นเรื่องที่ซับซ้อนและมีหลายแง่มุม ซึ่งอาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับระบบการเมืองและวัฒนธรรมของประเทศใดประเทศหนึ่ง อย่างไรก็ตาม โดยทั่วไปแล้ว การบริหารหมายถึงการดำเนินนโยบายและการตัดสินใจของรัฐบาล ในขณะที่การเมืองหมายถึงกระบวนการกำหนดนโยบายและการตัดสินใจ
ในประเทศประชาธิปไตย การเมืองมีลักษณะเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจ -สร้างกระบวนการผ่านการเลือกตั้งและรูปแบบอื่นๆ ของการมีส่วนร่วมของประชาชน ในทางกลับกัน ฝ่ายบริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินนโยบายและการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการเลือกตั้ง
ในระบอบเผด็จการ การเมืองมักถูกครอบงำโดยพรรคเดียวหรือปัจเจกบุคคล และประชาชนอาจมีโอกาสจำกัดในการมีส่วนร่วมหรือเป็นตัวแทน การบริหารในระบบเหล่านี้มักเป็นแบบรวมศูนย์และมีลำดับชั้น โดยมีความโปร่งใสหรือความรับผิดชอบเพียงเล็กน้อย
ทั้งในระบบประชาธิปไตยและเผด็จการ ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารและการเมืองอาจเต็มไปด้วยความตึงเครียดและความขัดแย้ง เจ้าหน้าที่ที่ได้รับการเลือกตั้งอาจขัดแย้งกับข้าราชการอาชีพในเรื่องการนำนโยบายไปใช้ ขณะที่ผู้บริหารอาจพยายามสร้างสมดุลระหว่างความต้องการที่แข่งขันกันจากผู้นำทางการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ และประชาชน โดยรวมแล้ว ลักษณะของการบริหารและการเมืองถูกกำหนดโดยปัจจัยหลายประการ รวมถึงระบบการเมือง วัฒนธรรม และค่านิยมของประเทศใดประเทศหนึ่ง

ส.อ. อภิสิทธิ์ ปิ่นทอง 64423471176
จ.ท. ยศพล ชอบกิจ รหัส 64823471077 Module 1
Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
ตอบ รัฐประศาสนศาสตร์มีเอกลักษณ์ เพราะมีความแตกต่างจากวิชารัฐศาสตร์ในแง่ที่ว่าเป็นวิชาที่ให้ความสนใจต่อการศึกษาโครงสร้างและพฤติกรรมของระบบราชการ รวมทั้งเป็นศาสตร์ที่มีระเบียบวิธีการศึกษาเป็นของตนเอง วิชารัฐประศาสนศาสตร์ยังแตกต่างจากศาสตร์การบริหารในแง่ที่ว่าเป็นวิชาที่ศึกษาเรื่องขององค์การของรัฐ ซึ่งมิได้มุ่งแสวงหากำไรดังเช่นองค์การเอกชน และเป็นวิชาที่สนับสนุนให้องค์การของรัฐมีโครงสร้างกลไกการตัดสินใจและพฤติกรรมของข้าราชการที่เกื้อกูลการให้บริการสาธารณะ รัฐประศาสนศาสตร์หมายถึง กระบวนการ องค์การ และบุคคลซึ่งดำรงตำแหน่งทางราชการทั้งหลายและมีส่วนเกี่ยวข้องในการกำหนดและนำเอากฎหมาย ระเบียบแบบแผนต่าง ๆ ซึ่งออกโดยฝ่าย นิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ ไปปฏิบัติ รัฐประศาสนศาสตร์มีการนำความรู้ที่หลากหลายมาประยุกต์ใช้ในวิชาของตนเอง หรือนำวิชาเหล่านั้นมาประกอบเข้ากันเป็นลักษณะของสหวิทยาการ และถือว่าเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ทำให้จำเป็นต้องนำศาสตร์อื่น ๆ และนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาในขอบข่ายของการศึกษาวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ยังจำเป็นต้องมีการศึกษาในศาสตร์อื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์และสถิติ เศรษฐศาสตร์หรือแม้กระทั่งการตลาด และการประชาสัมพันธ์รวมถึงในปัจจุบันมีความสนใจอย่างยิ่งในเรื่องของจริยธรรมและคุณธรรมภายในวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
ตอบ นโยบายสาธารณะเป็นแนวทางปฏิบัติของรัฐบาล มีวัตถุประสงค์แน่นอนอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างเพื่อแก้ปัญหา ในปัจจุบัน เพื่อป้องกันปัญหาในอนาคตหรือเพื่อก่อให้เกิดผลที่ พึง ปรารถนา ตลอดจนรัฐบาลมีความจริงใจที่จะให้นําไปปฏิบัติและผลจาก การนําไปปฏิบัติแล้วอาจจะประสบ ความสําเร็จหรือล้มเหลวก็ได้ การเมือง การบริหาร และนโยบายสาธารณะ มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะการบริหารและการเมืองระบบการเมืองจะเป็นระบบใหญ่ที่ครอบคลุมระบบบริหารแต่ในทางปฏิบัติอาจไม่ชัดเจนบางช่วงเวลาการเมืองต้องอาศัยนักบริหารซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านระบบการเมือง
ระบบการบริหาร เช่น การทำหน้าที่ในการเสนอข้อมูลข่าวสาร หรือ ความเห็นเกี่ยวกับทางเลือกนโยบายแก่ฝ่าย การเมือง เพราะการตัดสินใจในเรื่องนโยบายสาธารณะควรจะต้องอยู่บนพื้นฐานของเหตุผลขอ้เท็จจริง สภาพความเป็นจริงให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ด้วยเหตุดงักล่าว ฝ่ายบริหารซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานมี ความรู้และประสบการณ์ จึงทำหน้าสที่ในการให้การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร และการแสดงทัศนะ ข้อคิดเห็นเกี่ยวกบั ทางเลือกนโยบายแก่ฝ่ายการเมือง โดยฝ่ายการเมืองจะเป็นผู้ท าหน้าที่ในการเลือกหรือกำหนดนโยบาย
จ.ท. ยศพล ชอบกิจ หมู่ 4 รหัส 64823471077 Module 1
Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
ตอบ รัฐประศาสนศาสตร์มีเอกลักษณ์ เพราะมีความแตกต่างจากวิชารัฐศาสตร์ในแง่ที่ว่าเป็นวิชาที่ให้ความสนใจต่อการศึกษาโครงสร้างและพฤติกรรมของระบบราชการ รวมทั้งเป็นศาสตร์ที่มีระเบียบวิธีการศึกษาเป็นของตนเอง วิชารัฐประศาสนศาสตร์ยังแตกต่างจากศาสตร์การบริหารในแง่ที่ว่าเป็นวิชาที่ศึกษาเรื่องขององค์การของรัฐ ซึ่งมิได้มุ่งแสวงหากำไรดังเช่นองค์การเอกชน และเป็นวิชาที่สนับสนุนให้องค์การของรัฐมีโครงสร้างกลไกการตัดสินใจและพฤติกรรมของข้าราชการที่เกื้อกูลการให้บริการสาธารณะ รัฐประศาสนศาสตร์หมายถึง กระบวนการ องค์การ และบุคคลซึ่งดำรงตำแหน่งทางราชการทั้งหลายและมีส่วนเกี่ยวข้องในการกำหนดและนำเอากฎหมาย ระเบียบแบบแผนต่าง ๆ ซึ่งออกโดยฝ่าย นิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ ไปปฏิบัติ รัฐประศาสนศาสตร์มีการนำความรู้ที่หลากหลายมาประยุกต์ใช้ในวิชาของตนเอง หรือนำวิชาเหล่านั้นมาประกอบเข้ากันเป็นลักษณะของสหวิทยาการ และถือว่าเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ทำให้จำเป็นต้องนำศาสตร์อื่น ๆ และนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาในขอบข่ายของการศึกษาวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ยังจำเป็นต้องมีการศึกษาในศาสตร์อื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์และสถิติ เศรษฐศาสตร์หรือแม้กระทั่งการตลาด และการประชาสัมพันธ์รวมถึงในปัจจุบันมีความสนใจอย่างยิ่งในเรื่องของจริยธรรมและคุณธรรมภายในวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
ตอบ นโยบายสาธารณะเป็นแนวทางปฏิบัติของรัฐบาล มีวัตถุประสงค์แน่นอนอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างเพื่อแก้ปัญหา ในปัจจุบัน เพื่อป้องกันปัญหาในอนาคตหรือเพื่อก่อให้เกิดผลที่ พึง ปรารถนา ตลอดจนรัฐบาลมีความจริงใจที่จะให้นําไปปฏิบัติและผลจาก การนําไปปฏิบัติแล้วอาจจะประสบ ความสําเร็จหรือล้มเหลวก็ได้ การเมือง การบริหาร และนโยบายสาธารณะ มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะการบริหารและการเมืองระบบการเมืองจะเป็นระบบใหญ่ที่ครอบคลุมระบบบริหารแต่ในทางปฏิบัติอาจไม่ชัดเจนบางช่วงเวลาการเมืองต้องอาศัยนักบริหารซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านระบบการเมือง
ระบบการบริหาร เช่น การทำหน้าที่ในการเสนอข้อมูลข่าวสาร หรือ ความเห็นเกี่ยวกับทางเลือกนโยบายแก่ฝ่าย การเมือง เพราะการตัดสินใจในเรื่องนโยบายสาธารณะควรจะต้องอยู่บนพื้นฐานของเหตุผลขอ้เท็จจริง สภาพความเป็นจริงให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ด้วยเหตุดงักล่าว ฝ่ายบริหารซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานมี ความรู้และประสบการณ์ จึงทำหน้าสที่ในการให้การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร และการแสดงทัศนะ ข้อคิดเห็นเกี่ยวกบั ทางเลือกนโยบายแก่ฝ่ายการเมือง โดยฝ่ายการเมืองจะเป็นผู้ท าหน้าที่ในการเลือกหรือกำหนดนโยบาย
จ.ท. ยศพล ชอบกิจ หมู่ 4 รหัส 64823471077 Module 1
Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
ตอบ การเมืองกับการบริหารไม่อาจแยกออกจากกันได้มีความคล้ายคลึง และ ความแตกต่างจากบริบทของสังคมตะวันตก โดยลักษณะการเมืองกับการบริหารไม่อาจแยกออกจากกันได้ในสังคมไทย มี 2 ลักษณะกล่าวคือักษณะที่ 1 การบริหารกับการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกันได้อย่างเด็ดขาด เพราะ ฝ่าย
ข้าราชการประจำเข้าไปเกี่ยวข้องกับกิจกรรมการกำหนดนโบายของฝ่ายการเมืองที่มาจากการเลือกตั้ง
ลักขณะดังกล่าว คล้ายกับ แนวคิดการบริหารกับการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกันในสังคมตะวันตก
เนื่องจาก แม้หน้าที่หลักในการกำหนดนโขบายสาธารณะ จะเป็นของฝ่ายการเมือง และฝ่ายข้าราชการ
ประจำมีหน้าที่ในการนำน โยบายสาธารณะไปปฏิบัติให้บรรลุผลสำเร็จ แต่ในความเป็นจริงทั้งสองฝ่าย
ต่างก็ต้องทำงานร่วมกันและพึ่งพากันเพื่อให้การกำหนดน ไขบายและการนำนโขบายไปปฏิบัติบรรลุผล
สำเร็จ ข้าราชการประจำบางครั้งก็มักเข้าไปก้าวก่ายงานของฝ่ายการเมือง โดยการเสนอข้อมูล
ข้อเสนอแนะ หรือ ริเร่มนโยบายใหม่แก่ฝ่ายการเมือง โดยเฉพาะน โขบายด้านเทคนิค ซึ่งข้าราชการ
ประจำมีความรู้ความเชี่ยวชาญมากกว่าฝ่ายการเมือง ดังจะเห็นได้จาก การนำเสนอข้อมูลประกอบการ
กำหนดนโขบายของฝ่ายการเมือง การนำเสนอแนวทางการนำไปปฏิบัติ หรือ ร่างกฎหมายและ
กฎระเบียบของแต่ละกระทรวง ทบวง กรม เป็นด้น หรือการมีส่วนเกี่ยวข้องในการกำหนดน โขบาย
สาธารณะโดยการดีความเพื่อสร้างความชัดเจนหรือกำหนดรายละเอียดในการนำนโขบายไปปฏิบัติ โดย
ทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการประจำจะอยู่บนพื้นฐานของอำนาจหน้าที่(authority)และฝ่าย
ข้าราชการประจำจะต้องอยู่ภายใด้การควบคุมบังคับบัญชาของฝ่ายการเมืองลักษณะที่ 2 ในบริบทของการเมืองและสังคมไทย ฝ่ายข้าราชการประจำโดยเฉพาะทหารและตำรวจมีอำนาจมาก (power/force) โดยเฉพาะอำนาจอาวุธยุทโธปกรณ์และกำลังพล และใช้อำนางดังกล่าวในการเข้าสู่สถานะเป็นตัวแสดง (actor) ในฝ่ายการเมืองโดยการปฏิวัติรัฐประหาร และมีการพึ่งฝ่ายข้าราชการประจำในสายพลเรือนในกิจกรรมการกำหนดน โขบายของฝ่ายการเมืองที่มาจากการปฏิวัติรัฐประหารในฐานะที่เป็นคลังสมอง (hink-tank) ของรัฐบาลทหาร ดังจะเห็นได้จากการศึกษาของรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ (2546) ที่พบว่า การกำหนดน โยบายสาธารณะทางเศรษฐกิจในช่วงพ ศ .24752530 อยู่กายใด้ฝ่ายข้าราชการประจำซึ่งเป็นเทค โนแครท อาทิ ข้าราชการประจำในกระทรวงการคลังธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรมฐกิงและสังคมแห่งชาติ เป็นด้น หรือ
การศึกษาของทักข์ เถลิมเตียรณ (2548) ที่พบว่า ในสมัยรัฐบาลจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชค์ ฝ่ายข้าราชการ
ประจำได้ข้ามามึบทบาทอย่างมากในการกำหนดน โขบายทางเศรมฐกิง สังคม และ การด่างประเทศ


Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์

ตอบ สหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ คือ ศาสตร์ สาขาวิชา หรือองค์ความรู้ที่ เกี่ยวกับการบริหารงานของภาครัฐหรือระบบราชการ โดยจะมุ่งเน้นไปที่ แนวคิด และทฤษฎี รัฐประศาสนศาสตร์เป็นวิชาที่มีเอกลักษณ์โดยมี ความแตกต่างจากวิชารัฐศาสตร์ในแง่ที่ว่า ให้ความสนใจในการศึกษาถึงโครงสร้างและพฤติกรรมของระบบ ราชการรวมทงั้เป็นศาสตร์ที่มีระเบียบและวิธีการศึกษาเป็นของตนเองมีความแตกต่างจากศาสตร์การบริหาร ในแง่ที่ว่าเป็นวิชาที่ศึกษาเรื่องขององค์การของรัฐที่ไม่ได้มุ่งแสวงหากาไรเหมือนองค์การธุรกิจเอกชนและเป็นวิชาที่สนับสนุนให้องค์การของรัฐมีโครงสร้าง กลไกการตัดสินใจและพฤติกรรมขอข้าราชการที่เกื้อกลต่อ การให้บริการสาธารณะและรัฐประศาสนศาสตร์ยังหมายถึงกระบวนการองค์การ และบุคคลที่ดำรงตำแหน่งทางราชการทั้งหลายและมีส่วนเกี่ยวข้องกับการกำหนดและนำเอากฎหมาย ระเบียบแบบแผนต่างๆที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการออกไปปฏิบัติ” อีกทั้ง วิชารัฐประศาสนศาสตร์คือการกาหนดและปฏิบัติ ตามนโยบายของระบบราชการซึ่งตัว ระบบมีขนาดใหญ่โตและมีลักษณะความเป็นสาธารณะ ดังนั้น รัฐประศาสนศาสตร์ ยังเป็นความพยายามของกลุ่มที่ร่วมมือกนัปฏิบัติงานในหน่วยงานสาธารณะที่มีขอบเขตครอบคลุมถึงการปฏิบัติงานของทั้งสามฝุาย คือ ฝุายบริหาร ฝุายนิติบัญญัติ และฝุาย ตุลาการตลอดจนความสัมพันธ์ที่มีระหว่างกัน มีบทบาทสาคัญในการกาหนดนโยบายสาธารณะจึงถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทาง การเมือง มีความแตกต่างจากการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชนในประเด็นที่สาคัญๆหลายประการ มีความเกี่ยวพันอย่างใกล้ชิดกับกลุ่มเอกชนและปัจเจกชนจานวนมากในอันที่จะจัดหาบริการ สาธารณะให้แก่ชุมชน

สำหรับพัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์โดยท่ัวไปอยู่ภายใต้กรอบ แนวทางการศึกษาว่าด้วยคาว่ากระบวนทัศน์หรือคำว่า พาราไดม์ (Paradigm) ดังกล่าว ข้างต้น อย่างไรก็ดี แนวทางดังกล่าวพบว่าอาจมีปัญหาหลายประการ กล่าวคือ ในแต่ละ กระบวนทัศน์ที่เป็นการแสดงความเห็นพ้องที่ลงรอยกันของนักวิชาการ แต่ในความเป็นจริง ภายใต้กระบวนทัศน์หนึ่งท่ียึดโยงตามกรอบของห้วงเวลาการศึกษาของนักวิชาการ ท่านต่างๆ ย่อมเป็นเรื่องสุดวิสัยที่แนวคิดของนักวิชาการท่านต่างๆ เหล่าน้ันจะลงรอยกัน จนสร้างเป็นกระบวนทัศน์หน่ึงๆ ได้โดยสมบูรณ์ รวมทั้งกระบวนทัศน์ต่างๆ ที่ดูเหมือน มีการแบ่งแยกแนวคิดหรือมีความเชื่อในเรื่องความรู้ความจริงท่ีแตกต่างกันกลับมี ความเหลื่อมล้าทับซ้อนกันอย่างแยกไม่ได้ ดังปรากฏการจัดแบ่งออกกลุ่มแนวคิดทฤษฏี ในลักษณะที่แตกต่างหลากหลายตามเกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่งของนักวิชาการท่ีให้ความสนใจ ประเด็นการศึกษานี้ ดังนั้น โดยแท้จริงแล้วจึงทาให้การศึกษาแนวทางการศึกษาพัฒนาการ ของรัฐประศาสนศาสตร์สามารถศึกษาได้หลายแนวทางมากกว่าแนวทางของพาราไดม์ ดังท่ีเข้าใจทั่วไปโดยเฉพาะผู้เร่ิมศึกษา

สรุป วิชารัฐประศาสนศาสตร์จึงหมายถึงวิชาที่ว่าด้วยการบริหารและ การปกครองบ้านเมืองสาขาหนึ่งที่เน้นในเรื่องของระบบราชการ หรือกิจการงานที่รัฐเป็นผู้ปฏิบัติจัดทาเพื่อ ประโยชน์สาธารณะ หรือเป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกบการบริหารงานสาธารณะทั้งหลาย ศาสตร์ทางการบริหาร จึงเป็นวิชาที่เพิ่งเกิดใหม่เมื่อปลาย ๑๙ ศตวรรษที่ เป็นคนละวิชากับศาสตร์ ทางการเมืองที่เป็นวิชาที่ว่าด้วย การปกครองของรัฐและมีการศึกษามายาวนานกว่า ๒,๐๐๐ ปีมาแล้ว
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง

ตอบ นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันคือ 1.เป็นเครื่องชี้วัดความสําเร็จหรือความล้ม เหลมของการนํานโยบายไปปฏิบัติจะส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อผู้ตัดสินใจ ในกรณีที่นํานโยบายไปปฏิบัติประสบความสําเร็จตามเป้าหมาย นโยบายจะส่งผลให้ผู้ตัดสินใจได้รับความเชื่อถือศรัทธาจากประชาชน เพราะได้กรทําการตัดสิน ใจเลือกนโยบายที่ถูกต้องและเลือกหน่วยปฏิบัติที่เหมาะสม ซึ่งจะเป็นผลดีต่ออนาคตทางการเมืองของผู้ตัดสินใจนโยบาย ในทางตรงกันข้ามถ้าหากการนํานโยบายไปปฏิบัติประสบความล้มเหลว จะส่งผลให้ผู้ตัดสินใจนำนโยบายไปใช้ถูกตําหนิหรือวิพากษ์วิจารณ์ในทางลบจากประชาชน ทั้งต่อการตัดสินใจเลือกนโยบายที่ไม่ เหมาะสมและความบกพร่องในการควบคุมและกํากับหน่วยปฏิบัติหรือการมอบหมายให้หน่วยปฏิบัติที่ไม่ เหมาะสมเป็นผู้รับผิดชอบ เป็นต้น 2.อีกทั้งยังบ่งบอกถึงความสําเร็จหรือความล้มเหลวของการนํานโยบายไปปฏิบัติจะส่งผลกระทบทั้งทาง ตรงและทางอ้อมต่อกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง ในกรณีที่นํานโยบายไปปฏิบัติประสบความสําเร็จตาม เป้าประสงค์ จะทําให้ปัญหาของกลุ่มเป้าหมายได้รับการแก้ไขด้วยดี กลุ่มเป้าหมายได้รับความพึงพอใจ ถ้านํา ไปปฏิบัติไม่ได้กลุ่มเป้าหมายอาจเรียกร้องด้วยวิธีต่างๆ ทําให้การิหารงานของรัฐบาลมีความยุ่งยากมากขึ้น 3.เป็นสิ่งบอกเหตุถึงความสําเร็จหรือความล้มเหลวของการนํานโยบายไปปฏิบัติจะส่งผลกระทบทั้งทาง ตรงและทางอ้อมต่อหน่วยปฏิบัติ ในกรณีที่การนํานโยบายไปปฏิบัติประสบความสําเร็จตามเป้าประสงค์ หน่วยปฏิบัติจะได้รับความเชื่อถือและความไว้วางใจทั้งจากผู้กําหนดนโยบายและกลุ่มเป้าหมายว่าเป็นหน่วย ปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 4.การนำนโยบายสาธารณะกับการบริหารมาใช้ควบคู่กันจะสามารถพิจารณาได้ถึง ความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากร เนื่องจากทุกประเทศมีทรัพยากรที่จํากัด ดังนั้น การนํานโยบายไปปฏิบัติจะต้องใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและสามารถแก้ปัญหาของกลุ่มเป้าหมายหรือสังคม อย่างได้ผล ไม่เกิดภาวการณ์สูญเปล่า หรือต้องกลับมาแก้ไขใหม่ ทรัพยากรในทีนี้หมายความรวมทั้งบุคลากร งบประมาณ อุปกรณ์และเวลาที่ต้องใช้ไปทั้งหมด 5.บอกได้ถึงความก้าวหน้าในการพัฒนาประเทศ การนํานโยบายไปปฏิบัติมีความสําคัญต่อการ ก้าวหน้าในการพัฒนาประเทศเป็นอย่างยิ่ง เพราะถ้าหากการนํานโยบายไปปฏิบัติตามแผนงานและโครงการ พัฒนาต่างๆ ประสบความสําเร็จตามเป้าประสงค์ที่กําหนดไว้ จะส่งผลให้การพัฒนาประเทศบรรลุเป้าหมาย เพื่อความก้าวหน้าทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งจะทําให้ประชาชนมีความกินดีอยู่ดีและมีความสุข 6.ยังบอกได้ถึงความสําคัญต่อกระบวนการนโยบายสาธารณะในกระบวนการวิเคราะห์นโยบาย นั้น การนํานโยบายไปปฏิบัติเข้าไปมีบทบาทตั้งแต่กระบวนการกําหนดทางเลือกนโยบาย กล่าวคือ นักวิเคราะห์นโยบายจะต้องคํานึงถึงการพิจารณาทางเลือกนโยบายที่มีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติเท่านั้น เพื่อให้มั่นใจว่าทุกทางเลือกที่นํามาวิเคราะห์จะไม่ก่อให้เกิดความสูญเปล่า และในการจัดทํานโยบายก็จะต้อง คํานึงถึงการกําหนดแนวทางการนําไปปฏิบัติที่สอดคล้องกับความเป็นจริงและสามารถนําไปปฏิบัติให้มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากที่สุด ดังนั้น การนํานโยบายไปปฏิบัติจึงมีส่วนสําคัญอย่างมากต่อ กระบวนการนโยบายว่านโยบายนั้นจะมีแนวโน้มที่จะประสบความสําเร็จหรือล้มเหลว
Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง

ตอบ ลักษณะของการบริหารกับการเมือง คือ การนำเอานโยบายออกไปปฏิบัติให้บรรลุตามเป้าหมายส่วนการเมืองลักษณะคือมีหน้าที่ออกกฏหมายกำหนดนโยบายสาธารณะต่างๆ
Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์

ตอบ สหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ คือ ศาสตร์ สาขาวิชา หรือองค์ความรู้ที่ เกี่ยวกับการบริหารงานของภาครัฐหรือระบบราชการ โดยจะมุ่งเน้นไปที่ แนวคิด และทฤษฎี รัฐประศาสนศาสตร์เป็นวิชาที่มีเอกลักษณ์โดยมี ความแตกต่างจากวิชารัฐศาสตร์ในแง่ที่ว่า ให้ความสนใจในการศึกษาถึงโครงสร้างและพฤติกรรมของระบบ ราชการรวมทงั้เป็นศาสตร์ที่มีระเบียบและวิธีการศึกษาเป็นของตนเองมีความแตกต่างจากศาสตร์การบริหาร ในแง่ที่ว่าเป็นวิชาที่ศึกษาเรื่องขององค์การของรัฐที่ไม่ได้มุ่งแสวงหากาไรเหมือนองค์การธุรกิจเอกชนและเป็นวิชาที่สนับสนุนให้องค์การของรัฐมีโครงสร้าง กลไกการตัดสินใจและพฤติกรรมขอข้าราชการที่เกื้อกลต่อ การให้บริการสาธารณะและรัฐประศาสนศาสตร์ยังหมายถึงกระบวนการองค์การ และบุคคลที่ดำรงตำแหน่งทางราชการทั้งหลายและมีส่วนเกี่ยวข้องกับการกำหนดและนำเอากฎหมาย ระเบียบแบบแผนต่างๆที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการออกไปปฏิบัติ” อีกทั้ง วิชารัฐประศาสนศาสตร์คือการกาหนดและปฏิบัติ ตามนโยบายของระบบราชการซึ่งตัว ระบบมีขนาดใหญ่โตและมีลักษณะความเป็นสาธารณะ ดังนั้น รัฐประศาสนศาสตร์ ยังเป็นความพยายามของกลุ่มที่ร่วมมือกนัปฏิบัติงานในหน่วยงานสาธารณะที่มีขอบเขตครอบคลุมถึงการปฏิบัติงานของทั้งสามฝุาย คือ ฝุายบริหาร ฝุายนิติบัญญัติ และฝุาย ตุลาการตลอดจนความสัมพันธ์ที่มีระหว่างกัน มีบทบาทสาคัญในการกาหนดนโยบายสาธารณะจึงถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทาง การเมือง มีความแตกต่างจากการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชนในประเด็นที่สาคัญๆหลายประการ มีความเกี่ยวพันอย่างใกล้ชิดกับกลุ่มเอกชนและปัจเจกชนจานวนมากในอันที่จะจัดหาบริการ สาธารณะให้แก่ชุมชน

สำหรับพัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์โดยท่ัวไปอยู่ภายใต้กรอบ แนวทางการศึกษาว่าด้วยคาว่ากระบวนทัศน์หรือคำว่า พาราไดม์ (Paradigm) ดังกล่าว ข้างต้น อย่างไรก็ดี แนวทางดังกล่าวพบว่าอาจมีปัญหาหลายประการ กล่าวคือ ในแต่ละ กระบวนทัศน์ที่เป็นการแสดงความเห็นพ้องที่ลงรอยกันของนักวิชาการ แต่ในความเป็นจริง ภายใต้กระบวนทัศน์หนึ่งท่ียึดโยงตามกรอบของห้วงเวลาการศึกษาของนักวิชาการ ท่านต่างๆ ย่อมเป็นเรื่องสุดวิสัยที่แนวคิดของนักวิชาการท่านต่างๆ เหล่าน้ันจะลงรอยกัน จนสร้างเป็นกระบวนทัศน์หน่ึงๆ ได้โดยสมบูรณ์ รวมทั้งกระบวนทัศน์ต่างๆ ที่ดูเหมือน มีการแบ่งแยกแนวคิดหรือมีความเชื่อในเรื่องความรู้ความจริงท่ีแตกต่างกันกลับมี ความเหลื่อมล้าทับซ้อนกันอย่างแยกไม่ได้ ดังปรากฏการจัดแบ่งออกกลุ่มแนวคิดทฤษฏี ในลักษณะที่แตกต่างหลากหลายตามเกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่งของนักวิชาการท่ีให้ความสนใจ ประเด็นการศึกษานี้ ดังนั้น โดยแท้จริงแล้วจึงทาให้การศึกษาแนวทางการศึกษาพัฒนาการ ของรัฐประศาสนศาสตร์สามารถศึกษาได้หลายแนวทางมากกว่าแนวทางของพาราไดม์ ดังท่ีเข้าใจทั่วไปโดยเฉพาะผู้เร่ิมศึกษา

สรุป วิชารัฐประศาสนศาสตร์จึงหมายถึงวิชาที่ว่าด้วยการบริหารและ การปกครองบ้านเมืองสาขาหนึ่งที่เน้นในเรื่องของระบบราชการ หรือกิจการงานที่รัฐเป็นผู้ปฏิบัติจัดทาเพื่อ ประโยชน์สาธารณะ หรือเป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกบการบริหารงานสาธารณะทั้งหลาย ศาสตร์ทางการบริหาร จึงเป็นวิชาที่เพิ่งเกิดใหม่เมื่อปลาย ๑๙ ศตวรรษที่ เป็นคนละวิชากับศาสตร์ ทางการเมืองที่เป็นวิชาที่ว่าด้วย การปกครองของรัฐและมีการศึกษามายาวนานกว่า ๒,๐๐๐ ปีมาแล้ว
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง

ตอบ นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันคือ 1.เป็นเครื่องชี้วัดความสําเร็จหรือความล้ม เหลมของการนํานโยบายไปปฏิบัติจะส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อผู้ตัดสินใจ ในกรณีที่นํานโยบายไปปฏิบัติประสบความสําเร็จตามเป้าหมาย นโยบายจะส่งผลให้ผู้ตัดสินใจได้รับความเชื่อถือศรัทธาจากประชาชน เพราะได้กรทําการตัดสิน ใจเลือกนโยบายที่ถูกต้องและเลือกหน่วยปฏิบัติที่เหมาะสม ซึ่งจะเป็นผลดีต่ออนาคตทางการเมืองของผู้ตัดสินใจนโยบาย ในทางตรงกันข้ามถ้าหากการนํานโยบายไปปฏิบัติประสบความล้มเหลว จะส่งผลให้ผู้ตัดสินใจนำนโยบายไปใช้ถูกตําหนิหรือวิพากษ์วิจารณ์ในทางลบจากประชาชน ทั้งต่อการตัดสินใจเลือกนโยบายที่ไม่ เหมาะสมและความบกพร่องในการควบคุมและกํากับหน่วยปฏิบัติหรือการมอบหมายให้หน่วยปฏิบัติที่ไม่ เหมาะสมเป็นผู้รับผิดชอบ เป็นต้น 2.อีกทั้งยังบ่งบอกถึงความสําเร็จหรือความล้มเหลวของการนํานโยบายไปปฏิบัติจะส่งผลกระทบทั้งทาง ตรงและทางอ้อมต่อกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง ในกรณีที่นํานโยบายไปปฏิบัติประสบความสําเร็จตาม เป้าประสงค์ จะทําให้ปัญหาของกลุ่มเป้าหมายได้รับการแก้ไขด้วยดี กลุ่มเป้าหมายได้รับความพึงพอใจ ถ้านํา ไปปฏิบัติไม่ได้กลุ่มเป้าหมายอาจเรียกร้องด้วยวิธีต่างๆ ทําให้การิหารงานของรัฐบาลมีความยุ่งยากมากขึ้น 3.เป็นสิ่งบอกเหตุถึงความสําเร็จหรือความล้มเหลวของการนํานโยบายไปปฏิบัติจะส่งผลกระทบทั้งทาง ตรงและทางอ้อมต่อหน่วยปฏิบัติ ในกรณีที่การนํานโยบายไปปฏิบัติประสบความสําเร็จตามเป้าประสงค์ หน่วยปฏิบัติจะได้รับความเชื่อถือและความไว้วางใจทั้งจากผู้กําหนดนโยบายและกลุ่มเป้าหมายว่าเป็นหน่วย ปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 4.การนำนโยบายสาธารณะกับการบริหารมาใช้ควบคู่กันจะสามารถพิจารณาได้ถึง ความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากร เนื่องจากทุกประเทศมีทรัพยากรที่จํากัด ดังนั้น การนํานโยบายไปปฏิบัติจะต้องใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและสามารถแก้ปัญหาของกลุ่มเป้าหมายหรือสังคม อย่างได้ผล ไม่เกิดภาวการณ์สูญเปล่า หรือต้องกลับมาแก้ไขใหม่ ทรัพยากรในทีนี้หมายความรวมทั้งบุคลากร งบประมาณ อุปกรณ์และเวลาที่ต้องใช้ไปทั้งหมด 5.บอกได้ถึงความก้าวหน้าในการพัฒนาประเทศ การนํานโยบายไปปฏิบัติมีความสําคัญต่อการ ก้าวหน้าในการพัฒนาประเทศเป็นอย่างยิ่ง เพราะถ้าหากการนํานโยบายไปปฏิบัติตามแผนงานและโครงการ พัฒนาต่างๆ ประสบความสําเร็จตามเป้าประสงค์ที่กําหนดไว้ จะส่งผลให้การพัฒนาประเทศบรรลุเป้าหมาย เพื่อความก้าวหน้าทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งจะทําให้ประชาชนมีความกินดีอยู่ดีและมีความสุข 6.ยังบอกได้ถึงความสําคัญต่อกระบวนการนโยบายสาธารณะในกระบวนการวิเคราะห์นโยบาย นั้น การนํานโยบายไปปฏิบัติเข้าไปมีบทบาทตั้งแต่กระบวนการกําหนดทางเลือกนโยบาย กล่าวคือ นักวิเคราะห์นโยบายจะต้องคํานึงถึงการพิจารณาทางเลือกนโยบายที่มีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติเท่านั้น เพื่อให้มั่นใจว่าทุกทางเลือกที่นํามาวิเคราะห์จะไม่ก่อให้เกิดความสูญเปล่า และในการจัดทํานโยบายก็จะต้อง คํานึงถึงการกําหนดแนวทางการนําไปปฏิบัติที่สอดคล้องกับความเป็นจริงและสามารถนําไปปฏิบัติให้มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากที่สุด ดังนั้น การนํานโยบายไปปฏิบัติจึงมีส่วนสําคัญอย่างมากต่อ กระบวนการนโยบายว่านโยบายนั้นจะมีแนวโน้มที่จะประสบความสําเร็จหรือล้มเหลว
Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง

ตอบ ลักษณะของการบริหารกับการเมือง คือ การนำเอานโยบายออกไปปฏิบัติให้บรรลุตามเป้าหมายส่วนการเมืองลักษณะคือมีหน้าที่ออกกฏหมายกำหนดนโยบายสาธารณะต่างๆ
Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
ตอบ. ความเป็นสหวิทยาการ ( Interdiscipline ) คือการใช้ความรู้จากศาสตร์หลากหลายแขนง เพื่อมาอธิบายจุดที่ศึกษา การเรียนรัฐประศาสนศาสตร์จึงเป็นการหาความรู้จากหลายสาขาวิชามาประกอบกัน เช่น วิชารัฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาวิทยาการจัดการ วิชาการบริหารธุรกิจวิชาสังคมวิทยา วิชาจิตวิทยา วิชามนุษยศาสตร์ และวิชานิติศาสตร์ ซึ่งจะมีความสมบูรณ์ครอบคลุมในการศึกษา และถือว่าเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ทำให้จำเป็นต้องนำศาสตร์อื่น ๆ และนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาในขอบข่ายของการศึกษาวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ยังจำเป็นต้องมีการศึกษาในศาสตร์อื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์และสถิติ เศรษฐศาสตร์หรือแม้กระทั่งการตลาด และการประชาสัมพันธ์รวมถึงในปัจจุบันมีความสนใจอย่างยิ่งในเรื่องของจริยธรรมและคุณธรรมภายในวิชารัฐประศาสนศาสตร์
การดำเนินกิจการต่าง ๆ ของรัฐนั้นมีขอบเขตครอบคลุมหลายมิติ เพื่อการบริหารที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการนั้น รัฐประศาสนศาสตร์จึงต้องนำเอาสาขาวิชาอื่น ๆ มาประยุกต์ใช้ และมีขอบเขตที่กว้างขวางตามความเหมาะสม และกลับจะเป็นการเปล่าประโยชน์ถ้าหากจะมุ่งพิจารณาความสัมพันธ์ของรัฐประศาสนศาสตร์กับสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งเท่านั้น ทั้งนี้ ในความจริงแล้วสาขาวิชาต่าง ๆ ก็ได้มีการเสริมสร้างความเข้าใจระหว่างกัน มีการร่วมมือศึกษาและทำการวิจัยร่วมกัน ดังนั้น วิชารัฐประศาสนศาสตร์จึงต้องใช้ความรู้ระหว่างศาสตร์วิชาต่าง ๆ เหล่านั้น หรือที่เรียกว่า สหวิทยาการ (inter-disciplinary) มาประยุกต์ใช้กับโลกแห่งความเป็นจริง นอกจากนี้ในทางปฏิบัติแล้วรัฐประศาสนศาสตร์ยังมีความสัมพันธ์กับวิชาชีพอื่น ๆ อีก เช่น วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารธุรกิจ นิติศาสตร์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้รัฐประศาสนศาสตร์จึงมีความสัมพันธ์กับสาขาวิชาต่าง ๆ ที่กล่าวมา และนอกจากนี้การศึกษาในวิชารัฐประศาสนศาสตร์จะต้องเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่าง ๆ อย่างกว้างขวางแล้ว สิ่งที่ขาดเสียมิได้ในการผลิตนักรัฐประศาสนศาสตร์ก็คือ การสร้างจริยธรรม อุดมการณ์ และพฤติกรรม ที่รับผิดชอบต่อสังคมต่อ ๆ ไป
การศึกษาที่มีความหลากหลายและเกิดเป็นพัฒนาแนวความคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์จนเป็นศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับและเป็นที่นิยมทั่วไป ทำให้มีนักวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ทำการศึกษาพัฒนาการของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ โดยมีการจำแนกลำดับการพัฒนาของสาขาวิชานี้อย่างกว้างขวางและมีความหลากหลายขึ้นอยู่กับว่านักวิชาการใดจะให้ความสำคัญในมิติใด แม้การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์อย่างเป็นระบบหรือในฐานะของวิชาจะมีจุดเริ่มต้นที่เห็นพ้องต้องกันคือ ปี ค.ศ. 1887 จากบทความของ วูดโรว์ วิลสัน (Woodrow Wilson) (โดยทั่วไปนักวิชาการยอมรับกันว่าวิชารัฐประศาสนศาสตร์ถือกำเนิดมา ประมาณเกือบร้อยปีแล้วกล่าวคือนับตั้งแต่ปี 1887 ที่ Woodrow Wilson เขียนบทความเรื่อง “The Study of Administration” ขึ้น (พิทยา บวรวัฒนา, 2538, น. 11) แต่ในแง่การอธิบายพัฒนาการรัฐประศาสนศาสตร์มีความแตกต่างกับสาขาวิชาอื่นๆ ที่มักแบ่งโดย ใช้คาว่า “ยุค” หรือ “สมัย” โดยแนวทางการอธิบายพัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์ มักใช้วิธีการอธิบายโดยใช้คำว่า “paradigm” (พาราไดม์) หรือ “กระบวนทัศน์” อันเป็นเครื่องมืออธิบายซึ่งได้รับความนิยมอย่างสูงในหมู่ผู้ศึกษารัฐประศาสนศาสตร์โดย โทมัส คูห์น (Thomas Kuhn) คือ ผู้นำเสนอความหมายของคาว่า “พาราไดม์” ที่มีอิทธิพลต่อการสร้างองค์ความรู้ในวงการสังคมศาสตร์เป็นอย่างมาก หลังจากที่ Kuhn เสนอให้ใช้คำนี้วงการสังคมศาสตร์ใช้เวลาอยู่ระยะหนึ่งก่อนที่จะมีการยอมรับและใช้กันอย่างแพร่หลายในระยะต่อมา “Paradigm” เป็นคำกิริยาภาษากรีก แปลว่า “การแสดงให้เห็นไว้ข้างเคียงกัน” อันหมายความถึง “การแสดงตัวอย่างให้เห็น” พาราไดม์เป็นตัวกำหนดเงื่อนไขครอบงำความคิดของบุคคลในการกำหนดปัญหาและวิธีที่ใช้ในการวิจัย สำหรับความหมายที่ให้ไว้โดย Kuhn (1970, อ้างถึงใน อมรา พงศาพิชญ์, 2557, น. 10) นักวิชาการผู้บุกเบิกการใช้คำนี้กล่าวว่า พาราไดม์ หมายถึง กลุ่มความคิดพื้นฐาน ซึ่งเป็นกรอบชี้นำแนวทางและการกระทำของปัจเจกบุคคลและสังคมโดยรวมทั้งใน การใช้ชีวิตประจำวันไปจนถึงการแสวงหาความรู้ทางศาสตร์ เป็นต้น
ส.อ. ณัฐวุฒิ พุ่มพวง 64423471181
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
ตอบ. นโยบายสาธารณะ คือ นโยบายที่รัฐเป็นผู้ดำเนินการเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนช่วยแก้ไขปัญหาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น เป็นสิ่งที่เอื้ออำนวยผลประโยชน์และแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ต่อทั้งประชาชนและรัฐบาล โดยนโยบายสาธารณะแบ่งออกเป็นหลายประเภทด้วยกัน ซึ่งแต่ละประเภทนั้นก็จะแตกต่างกันออกไป ตามความเหมาะสม ส่วนการนำไปใช้บริหารประเทศนั้นก็ขึ้นอยู่กับรัฐบาลแต่ละชุดว่าจะกำหนดและปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะแบบไหน เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนมากที่สุด ดังนั้นนโยบายสาธารณะจึงเป็นแนวทางปฏิบัติของรัฐบาลที่มุ่งเน้นสร้างผลประโยชน์ให้กับประชาชนเป็นหลัก เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน และพัฒนาชีวิตประชาชนให้ดียิ่งขึ้นที่สำคัญต้องให้ความสำคัญในหลายๆด้านไม่ว่าจะเป็นการกำหนดนโยบายรวมไปถึงการนำนโยบายไปปฏิบัติถ้าหากสามารถนำไปปฏิบัติได้จริงและตรงกับความต้องการของประชาชนก็จะสามารถช่วยให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นได้อย่างแท้จริง
นโยบายสาธารณะจึงมีความสำคัญต่อสังคมและประเทศชาติเป็นอย่างมาก เพราะส่งผลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนทั้งประเทศ โดยรัฐบาลต้องออกนโยบายและนำไปปฏิบัติเพื่อช่วยแก้ไขปัญหา หรือทำให้ประชาชนที่ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดียิ่งขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน ส่วนประชาชนเมื่อเห็นว่านโยบายของรัฐบาลมีประโยชน์และตอบสนองต่อความต้องการในการดำเนินชีวิต ก็จะให้การสนับสนุนรัฐบาลมากขึ้น หรืออาจะกล่าวได้ว่า นโยบายสาธารณะเป็นสิ่งที่เอื้ออำนวยผลประโยชน์และแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ต่อทั้งประชาชนและรัฐบาล โดยนโยบายสาธารณะแบ่งออกเป็นหลายประเภทด้วยกันซึ่งแต่ละประเภทนั้นก็จะแตกต่างกันออกไป ตามความเหมาะสม ส่วนการนำไปใช้บริหารประเทศนั้นก็ขึ้นอยู่กับรัฐบาลแต่ละชุดว่าจะกำหนดและปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะแบบไหน เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนมากที่สุด ดังนั้นนโยบายสาธารณะจึงเป็นแนวทางปฏิบัติของรัฐบาลที่มุ่งเน้นสร้างผลประโยชน์ให้กับประชาชนเป็นหลัก เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน และพัฒนาชีวิตประชาชนให้ดียิ่งขึ้น


Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
ตอบ. ธรรมชาติของการบริหารและการเมืองเป็นเรื่องที่ซับซ้อนและมีหลายแง่มุม ซึ่งอาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับระบบการเมืองและวัฒนธรรมของประเทศใดประเทศหนึ่ง อย่างไรก็ตาม โดยทั่วไปแล้ว การบริหารหมายถึงการดำเนินนโยบายและการตัดสินใจของรัฐบาล ในขณะที่การเมืองหมายถึงกระบวนการกำหนดนโยบายและการตัดสินใจ
ในประเทศประชาธิปไตย การเมืองมีลักษณะเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจ -สร้างกระบวนการผ่านการเลือกตั้งและรูปแบบอื่นๆ ของการมีส่วนร่วมของประชาชน ในทางกลับกัน ฝ่ายบริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินนโยบายและการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการเลือกตั้ง
ในระบอบเผด็จการ การเมืองมักถูกครอบงำโดยพรรคเดียวหรือปัจเจกบุคคล และประชาชนอาจมีโอกาสจำกัดในการมีส่วนร่วมหรือเป็นตัวแทน การบริหารในระบบเหล่านี้มักเป็นแบบรวมศูนย์และมีลำดับชั้น โดยมีความโปร่งใสหรือความรับผิดชอบเพียงเล็กน้อย
ทั้งในระบบประชาธิปไตยและเผด็จการ ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารและการเมืองอาจเต็มไปด้วยความตึงเครียดและความขัดแย้ง เจ้าหน้าที่ที่ได้รับการเลือกตั้งอาจขัดแย้งกับข้าราชการอาชีพในเรื่องการนำนโยบายไปใช้ ขณะที่ผู้บริหารอาจพยายามสร้างสมดุลระหว่างความต้องการที่แข่งขันกันจากผู้นำทางการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ และประชาชน โดยรวมแล้ว ลักษณะของการบริหารและการเมืองถูกกำหนดโดยปัจจัยหลายประการ รวมถึงระบบการเมือง วัฒนธรรม และค่านิยมของประเทศใดประเทศหนึ่ง

ส.อ. ณัฐวุฒิ พุ่มพวง 64423471181
จ.อ.พีรศักดิื แววไธสง 64423471199
Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
ตอบ รัฐประศาสนศาสตร์มีเอกลักษณ์ เพราะมีความแตกต่างจากวิชารัฐศาสตร์ในแง่ที่ว่าเป็นวิชาที่ให้ความสนใจต่อการศึกษาโครงสร้างและพฤติกรรมของระบบราชการ รวมทั้งเป็นศาสตร์ที่มีระเบียบวิธีการศึกษาเป็นของตนเอง วิชารัฐประศาสนศาสตร์ยังแตกต่างจากศาสตร์การบริหารในแง่ที่ว่าเป็นวิชาที่ศึกษาเรื่องขององค์การของรัฐ ซึ่งมิได้มุ่งแสวงหากำไรดังเช่นองค์การเอกชน และเป็นวิชาที่สนับสนุนให้องค์การของรัฐมีโครงสร้างกลไกการตัดสินใจและพฤติกรรมของข้าราชการที่เกื้อกูลการให้บริการสาธารณะ รัฐประศาสนศาสตร์หมายถึง กระบวนการ องค์การ และบุคคลซึ่งดำรงตำแหน่งทางราชการทั้งหลายและมีส่วนเกี่ยวข้องในการกำหนดและนำเอากฎหมาย ระเบียบแบบแผนต่าง ๆ ซึ่งออกโดยฝ่าย นิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ ไปปฏิบัติ รัฐประศาสนศาสตร์มีการนำความรู้ที่หลากหลายมาประยุกต์ใช้ในวิชาของตนเอง หรือนำวิชาเหล่านั้นมาประกอบเข้ากันเป็นลักษณะของสหวิทยาการ และถือว่าเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพิ่มขึ้น
จ.อ.พีรศักดิื แววไธสง 64423471199
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
ตอบ การบริหารกับการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ฝ่ายบริหารมีระดับของความเกี่ยวข้อง ในการกำหนดน โยบายในลักษณะการทำหน้าที่ในการเสนอข้อมูลข่าวสาร หรือ ความเห็นเกี่ยวกับทางเลือกน โยบายแก่ฝ่ายการเมือง หรือ ทำหน้าที่ในการตีความนโขบายในการนำไปปฏิบัติซึ่งมีลักษณะเป็นการกำหนดน โขบายเพื่อแสวงหาแนวปฏิบัติด้วยตนเอง ในกรณีที่ฝ่ายการเมืองไม่มีน โยบายที่ชัดเจน หรือ นโยบายที่กว้างต้องมีการตีความในรายละเอียดในการนำไปปฏิบัติ ขณะที่ในบริบทของสังคมไทย ฝ่ายบริหารมีระดับของความเกี่ยวข้องในการกำหนดน โขบายในหลายระดับตั้งแต่ การทำหน้าที่ในการเสนอข้อมูลข่าวสาร หรือ ความเห็นเกี่ยวกับทางเลือกน โยบายแก่ฝ่ายการเมือง การตีความ นโยบายในการนำไปปฏิบัติซึ่งมีลักษณะเป็นการกำหนดนโยบายเพื่อแสวงหาแนวปฏิบัติด้วยตนเอง ไปจนถึง การทำหน้าที่เป็นคลังสมองด้านนโยบายและวิชาการ(hink-tank) แก่ฝ่ายการเมืองโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่ฝ่ายการเมืองมาจากการปฏิวัติโดยข้าราชการประจำสายทหาร และ การเข้าไปดำรงตำแหน่งทางการเมืองในคณะรัฐมนตรี และในรัฐสภา โดยฝ่ายบริหารจะมีบทบาทอย่างมากในการกำหนดนโยบายในสองสถานะคือ สถานะตัวแสดงฝ่ายการเมืองและในสถานะตัวแสดงฝ่ายบริหาร ในเวลาเดียวกัน
จ.อ.พีรศักดิ์ แววไธสง 64423471199
Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
ตอบ. ธรรมชาติของการบริหารและการเมืองเป็นเรื่องที่ซับซ้อนและมีหลายแง่มุม ซึ่งอาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับระบบการเมืองและวัฒนธรรมของประเทศใดประเทศหนึ่ง อย่างไรก็ตาม โดยทั่วไปแล้ว การบริหารหมายถึงการดำเนินนโยบายและการตัดสินใจของรัฐบาล ในขณะที่การเมืองหมายถึงกระบวนการกำหนดนโยบายและการตัดสินใจ
ในประเทศประชาธิปไตย การเมืองมีลักษณะเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจ -สร้างกระบวนการผ่านการเลือกตั้งและรูปแบบอื่นๆ ของการมีส่วนร่วมของประชาชน ในทางกลับกัน ฝ่ายบริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินนโยบายและการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการเลือกตั้ง
ในระบอบเผด็จการ การเมืองมักถูกครอบงำโดยพรรคเดียวหรือปัจเจกบุคคล และประชาชนอาจมีโอกาสจำกัดในการมีส่วนร่วมหรือเป็นตัวแทน การบริหารในระบบเหล่านี้มักเป็นแบบรวมศูนย์และมีลำดับชั้น โดยมีความโปร่งใสหรือความรับผิดชอบเพียงเล็กน้อย
ทั้งในระบบประชาธิปไตยและเผด็จการ ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารและการเมืองอาจเต็มไปด้วยความตึงเครียดและความขัดแย้ง เจ้าหน้าที่ที่ได้รับการเลือกตั้งอาจขัดแย้งกับข้าราชการอาชีพในเรื่องการนำนโยบายไปใช้ ขณะที่ผู้บริหารอาจพยายามสร้างสมดุลระหว่างความต้องการที่แข่งขันกันจากผู้นำทางการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ และประชาชน โดยรวมแล้ว ลักษณะของการบริหารและการเมืองถูกกำหนดโดยปัจจัยหลายประการ รวมถึงระบบการเมือง วัฒนธรรม และค่านิยมของประเทศใดประเทศหนึ่ง
ส.ท.สุชาติ ทองทา
64423471165
Assignment ที่ 1 อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์

รัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะเฉพาะที่สำคัญ คือ การเป็นสหวิทยาการ ซึ่งประกอบไปด้วยศาสตร์ต่าง ๆ ใช้ร่วมในการศึกษา ตลอดจนอธิบายรัฐประศาสนศาสตร์มีการนำความรู้ที่หลากหลายมาประยุกต์ใช้ในวิชาของตนเอง หรือนำวิชาเหล่านั้นมาประกอบเข้ากันเป็นลักษณะของสหวิทยาการ และถือว่าเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ทำให้จำเป็นต้องนำศาสตร์อื่น ๆ และนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาในขอบข่ายของการศึกษาวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ยังจำเป็นต้องมีการศึกษาในศาสตร์อื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์และสถิติ เศรษฐศาสตร์หรือแม้กระทั่งการตลาด และการประชาสัมพันธ์รวมถึงในปัจจุบันมีความสนใจอย่างยิ่งในเรื่องของจริยธรรมและคุณธรรมภายในวิชารัฐประศาสนศาสตร์การดำเนินกิจการต่าง ๆ ของรัฐนั้นมีขอบเขตครอบคลุมหลายมิติ เพื่อการบริหารที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการนั้น รัฐประศาสนศาสตร์จึงต้องนำเอาสาขาวิชาอื่น ๆ มาประยุกต์ใช้ และมีขอบเขตที่กว้างขวางตามความเหมาะสม และกลับจะเป็นการเปล่าประโยชน์ถ้าหากจะมุ่งพิจารณาความสัมพันธ์ของรัฐประศาสนศาสตร์กับสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งเท่านั้น ทั้งนี้ ในความจริงแล้วสาขาวิชาต่าง ๆ ก็ได้มีการเสริมสร้างความเข้าใจระหว่างกัน มีการร่วมมือศึกษาและทำการวิจัยร่วมกัน ดังนั้น วิชารัฐประศาสนศาสตร์จึงต้องใช้ความรู้ระหว่างศาสตร์วิชาต่าง ๆ เหล่านั้น หรือที่เรียกว่า สหวิทยาการ (inter-disciplinary) มาประยุกต์ใช้กับโลกแห่งความเป็นจริง นอกจากนี้ในทางปฏิบัติแล้วรัฐประศาสนศาสตร์ยังมีความสัมพันธ์กับวิชาชีพอื่น ๆ อีก เช่น วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารธุรกิจ นิติศาสตร์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้รัฐประศาสนศาสตร์จึงมีความสัมพันธ์กับสาขาวิชาต่าง ๆ ที่กล่าวมา และนอกจากนี้การศึกษาในวิชารัฐประศาสนศาสตร์จะต้องเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่าง ๆ อย่างกว้างขวางแล้ว สิ่งที่ขาดเสียมิได้ในการผลิตนักรัฐประศาสนศาสตร์ก็คือ การสร้างจริยธรรม อุดมการณ์ และพฤติกรรม ที่รับผิดชอบต่อสังคมต่อ ๆ ไปการศึกษาที่มีความหลากหลายและเกิดเป็นพัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์จนเป็นศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับและเป็นที่นิยมทั่วไป ทำให้มีนักวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ทำการศึกษาพัฒนาการของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ โดยมีการจำแนกลำดับการพัฒนาของสาขาวิชานี้อย่างกว้างขวางและมีความหลากหลายขึ้นอยู่กับว่านักวิชาการใดจะให้ความสำคัญในมิติใด
การพัฒนาการแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์ แบ่งการพัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์ออกเป็น 3 ช่วงเวลา ประกอบด้วย ช่วงเวลาของยุคดั้งเดิม ช่วงเวลาของวิกฤตการณ์ด้านเอกลักษณ์ และช่วงเวลาของการใช้คำว่า ใหม่ ผ่านกรอบแนวทางการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ 3 แนวทาง คือ
1. แนวการศึกษาที่ใช้มิติของเวลา
2. แนวทางการศึกษาที่ใช้มิติของขอบเขต
3. จุดเน้น และแนวทางที่ใช้มิติของหน่วยวิเคราะห์
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง

นโยบายสาธารณะมีความสำคัญต่อสังคมและประเทศชาติเป็นอย่างมาก เพราะส่งผลต่อชีวิตความ เป็นอยู่ของประชาชนทั้งประเทศ โดยรัฐบาลต้องออกนโยบายและนำไปปฏิบัติเพื่อช่วยแก้ไขปัญหา หรือ ทำให้ประชาชนที่ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดียิ่งขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน ส่วนประชาชนเมื่อ เห็นว่านโยบายของรัฐบาลมีประโยชน์และตอบสนองต่อความต้องการในการดำเนินชีวิต ก็จะให้การ สนับสนุนรัฐบาลมากขึ้น หรืออาจะกล่าวได้ว่า นโยบายสาธารณะเป็นสิ่งที่เอื้ออำนวยผลประโยชน์และแสดง ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ต่อทั้งประชาชนและรัฐบาล โดยนโยบายสาธารณะแบ่งออกเป็นหลายประเภทด้วยกัน ซึ่งแต่ละประเภทนั้นก็จะแตกต่างกันออกไป ตามความเหมาะสม ส่วนการนำไปใช้บริหารประเทศนั้นก็ขึ้นอยู่ กับรัฐบาลแต่ละชุดว่าจะกำหนดและปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะแบบไหน เพื่อตอบสนองความต้องการของ ประชาชนมากที่สุด ดังนั้นนโยบายสาธารณะจึงเป็นแนวทางปฏิบัติของรัฐบาลที่มุ่งเน้นสร้างผลประโยชน์ให้ กับประชาชนเป็นหลัก เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน และพัฒนาชีวิตประชาชนให้ดียิ่งขึ้น การพัฒนาการบริหารภาครัฐให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล จะต้องพัฒนา บุคลากรตามแนวทางของกระบวนการนำนโยบายไปปฏิบัติตามบริบทและยุทธศาสตร์ (Strategies) ที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นภารกิจงานใหม่ที่ท้าทายศักยภาพของบุคลากรภาครัฐเป็นอย่างมาก ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า นโยบายของรัฐบาลกับระบบราชการหรือการบริหารภาครัฐมีความเกี่ยวพันกันอย่างใกล้ชิด ซึ่งนโยบายของ รัฐบาล ก็คือ นโยบายสาธารณะที่มีผลผูกพันและผลกระทบไปสู่สาธารณะหรือประชาชนที่เกี่ยวข้องกับ นโยบายนั้น จึงจำเป็นที่จะต้องให้ความสำคัญ ซึ่งปัจจุบันกระบวนการสาธารณะ โดยเฉพาะนโยบายของ รัฐบาลมีการดำเนินการที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเป็นอันมาก
Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง

การบริหาร การทำงานของคณะบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปที่ร่วมกันบรรลุเป้าหมาย อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ เป็นผู้ให้ข้อมูลช่วยเสนอแนะฝ่ายการเมืองในการกำหนดนโยบายสาธารณะ นำนโยบายไปปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพ การดำรงตำแหน่ง ผ่านกระบวนการสรรหาและคัดเลือกบุคคลตามที่กำหนด
การเมือง การจัดสรรผลประโยชน์ การใช้อำนาจ อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ เป็นผู้แสดงเจตนารมณ์ของประชาชนในรูปนโยบายสาธารณะ มอบหมายให้ฝ่ายบริหารนำไปปฏิบัติควบคุมเร่งรัดงานให้เป็นไปตามนโยบายโดยรับผิดชอบต่อประชาชนอาจจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม การดำรงตำแหน่ง ได้รับการเลือกตั้งจากประชาชน ได้รับการแต่งตั้งจากผู้มีอำนาจทางการเมือง
Anonymous said…
ส.อ.วสุพล ผ่องใส รหัสนักศึกษา 64423471041 Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์ ความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะเฉพาะที่สาคัญ คือ การเป็นสหวิทยาการ ซึ่งประกอบไปด้วยศาสตร์ต่าง ๆ ใช้ร่วมในการศึกษา ตลอดจนอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในทางรัฐประศาสนศาสตร์ โดยในทัศนะของ Chandler (1989, pp. 639-641) เห็นว่า ควรประกอบไปด้วย วิชารัฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาวิทยาการจัดการ วิชาการบริหารธุรกิจวิชาสังคมวิทยา วิชาจิตวิทยา วิชามนุษยศาสตร์ และวิชานิติศาสตร์ ซึ่งจะมีความสมบูรณ์ครอบคลุมในการศึกษา ในขณะที่ McCurdy (1986, pp. 17-21) เห็นว่า จากพัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์สามารถอธิบายได้ว่าพื้นฐานแนวคิดหลักในการศึกษาประกอบไปด้วย 4 สานักด้วยกัน คือ 1. สานักที่สนใจศึกษาแบบดั้งเดิม กล่าวคือ สนใจศึกษาสังคมวิทยา จิตวิทยา โดยเน้นและปรับใช้ในเรื่องของความสัมพันธ์ของมนุษย์ และสนใจในรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์โดยนามาใช้ในการปฏิรูประบบ 2. สานักที่สนใจศึกษาในเชิงพฤติกรรม โดยนามาใช้ศึกษาถึงระบบราชการทฤษฎีองค์การ การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ และการพัฒนาองค์การ 3. สานักที่สนใจศึกษาในเชิงเหตุผลนิยม โดยนาวิชาเศรษฐศาสตร์และการบริหารธุรกิจมาใช้ศึกษาในเรื่องของการวิเคราะห์นโยบาย และการจัดการ 4. สานักที่สนใจศึกษาในเชิงการเมือง โดยสนใจในเรื่องการเมืองและกฎหมายโดยศึกษาในการนานโยบายไปปฏิบัติ การบริหารงานบุคคลในระบบราชการ การจัดทางบประมาณ และการบริหารงานในท้องถิ่น จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า รัฐประศาสนศาสตร์มีการนาความรู้ที่หลากหลายมาประยุกต์ใช้ในวิชาของตนเอง หรือนาวิชาเหล่านั้นมาประกอบเข้ากันเป็นลักษณะของสหวิทยาการ และถือว่าเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ การนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ทาให้จาเป็นต้องนาศาสตร์อื่น ๆ และนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาในขอบข่ายของการศึกษาวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ยังจาเป็นต้องมีการศึกษาในศาสตร์อื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์และสถิติ เศรษฐศาสตร์หรือแม้กระทั่งการตลาด และการประชาสัมพันธ์รวมถึงในปัจจุบันมีความสนใจอย่างยิ่งในเรื่องของจริยธรรมและคุณธรรมภายในวิชารัฐประศาสนศาสต
ส.อ.วสุพล ผ่องใส รหัสนักศึกษา 64423471041 Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์ ความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะเฉพาะที่สาคัญ คือ การเป็นสหวิทยาการ ซึ่งประกอบไปด้วยศาสตร์ต่าง ๆ ใช้ร่วมในการศึกษา ตลอดจนอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในทางรัฐประศาสนศาสตร์ โดยในทัศนะของ Chandler (1989, pp. 639-641) เห็นว่า ควรประกอบไปด้วย วิชารัฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาวิทยาการจัดการ วิชาการบริหารธุรกิจวิชาสังคมวิทยา วิชาจิตวิทยา วิชามนุษยศาสตร์ และวิชานิติศาสตร์ ซึ่งจะมีความสมบูรณ์ครอบคลุมในการศึกษา ในขณะที่ McCurdy (1986, pp. 17-21) เห็นว่า จากพัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์สามารถอธิบายได้ว่าพื้นฐานแนวคิดหลักในการศึกษาประกอบไปด้วย 4 สานักด้วยกัน คือ 1. สานักที่สนใจศึกษาแบบดั้งเดิม กล่าวคือ สนใจศึกษาสังคมวิทยา จิตวิทยา โดยเน้นและปรับใช้ในเรื่องของความสัมพันธ์ของมนุษย์ และสนใจในรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์โดยนามาใช้ในการปฏิรูประบบ 2. สานักที่สนใจศึกษาในเชิงพฤติกรรม โดยนามาใช้ศึกษาถึงระบบราชการทฤษฎีองค์การ การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ และการพัฒนาองค์การ 3. สานักที่สนใจศึกษาในเชิงเหตุผลนิยม โดยนาวิชาเศรษฐศาสตร์และการบริหารธุรกิจมาใช้ศึกษาในเรื่องของการวิเคราะห์นโยบาย และการจัดการ 4. สานักที่สนใจศึกษาในเชิงการเมือง โดยสนใจในเรื่องการเมืองและกฎหมายโดยศึกษาในการนานโยบายไปปฏิบัติ การบริหารงานบุคคลในระบบราชการ การจัดทางบประมาณ และการบริหารงานในท้องถิ่น จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า รัฐประศาสนศาสตร์มีการนาความรู้ที่หลากหลายมาประยุกต์ใช้ในวิชาของตนเอง หรือนาวิชาเหล่านั้นมาประกอบเข้ากันเป็นลักษณะของสหวิทยาการ และถือว่าเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ การนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ทาให้จาเป็นต้องนาศาสตร์อื่น ๆ และนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาในขอบข่ายของการศึกษาวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ยังจาเป็นต้องมีการศึกษาในศาสตร์อื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์และสถิติ เศรษฐศาสตร์หรือแม้กระทั่งการตลาด และการประชาสัมพันธ์รวมถึงในปัจจุบันมีความสนใจอย่างยิ่งในเรื่องของจริยธรรมและคุณธรรมภายในวิชารัฐประศาสนศาสต
ส.อ.วสุพล ผ่องใส รหัสนักศึกษา 64423471041 Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์ ความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะเฉพาะที่สาคัญ คือ การเป็นสหวิทยาการ ซึ่งประกอบไปด้วยศาสตร์ต่าง ๆ ใช้ร่วมในการศึกษา ตลอดจนอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในทางรัฐประศาสนศาสตร์ โดยในทัศนะของ Chandler (1989, pp. 639-641) เห็นว่า ควรประกอบไปด้วย วิชารัฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาวิทยาการจัดการ วิชาการบริหารธุรกิจวิชาสังคมวิทยา วิชาจิตวิทยา วิชามนุษยศาสตร์ และวิชานิติศาสตร์ ซึ่งจะมีความสมบูรณ์ครอบคลุมในการศึกษา ในขณะที่ McCurdy (1986, pp. 17-21) เห็นว่า จากพัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์สามารถอธิบายได้ว่าพื้นฐานแนวคิดหลักในการศึกษาประกอบไปด้วย 4 สานักด้วยกัน คือ 1. สานักที่สนใจศึกษาแบบดั้งเดิม กล่าวคือ สนใจศึกษาสังคมวิทยา จิตวิทยา โดยเน้นและปรับใช้ในเรื่องของความสัมพันธ์ของมนุษย์ และสนใจในรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์โดยนามาใช้ในการปฏิรูประบบ 2. สานักที่สนใจศึกษาในเชิงพฤติกรรม โดยนามาใช้ศึกษาถึงระบบราชการทฤษฎีองค์การ การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ และการพัฒนาองค์การ 3. สานักที่สนใจศึกษาในเชิงเหตุผลนิยม โดยนาวิชาเศรษฐศาสตร์และการบริหารธุรกิจมาใช้ศึกษาในเรื่องของการวิเคราะห์นโยบาย และการจัดการ 4. สานักที่สนใจศึกษาในเชิงการเมือง โดยสนใจในเรื่องการเมืองและกฎหมายโดยศึกษาในการนานโยบายไปปฏิบัติ การบริหารงานบุคคลในระบบราชการ การจัดทางบประมาณ และการบริหารงานในท้องถิ่น จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า รัฐประศาสนศาสตร์มีการนาความรู้ที่หลากหลายมาประยุกต์ใช้ในวิชาของตนเอง หรือนาวิชาเหล่านั้นมาประกอบเข้ากันเป็นลักษณะของสหวิทยาการ และถือว่าเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ การนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ทาให้จาเป็นต้องนาศาสตร์อื่น ๆ และนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาในขอบข่ายของการศึกษาวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ยังจาเป็นต้องมีการศึกษาในศาสตร์อื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์และสถิติ เศรษฐศาสตร์หรือแม้กระทั่งการตลาด และการประชาสัมพันธ์รวมถึงในปัจจุบันมีความสนใจอย่างยิ่งในเรื่องของจริยธรรมและคุณธรรมภายในวิชารัฐประศาสนศาสต
ส.อ.วสุพล ผ่องใส
การพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์ พัฒนาการของแนวความคิดรัฐประศาสนศาสตร์หรือการบริหารสาธารณะและการเปลี่ยนแปลงของยุค สมัยในการบริหารสาธารณะ นาไปสู่การพัฒนาของศาสตร์ทางการบริหารและนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการ บริหารในหลายประเทศการพัฒนาแนวความคิดและการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะชี้ให้เห็นถึงรูปแบบและลักษณะ ของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 1. แนวความคิดรัฐประศาสนศาสตร์หรือการบริหารสาธารณะในอดีต (Historical Paradigms) แนวความคิดหลัก5 รูปแบบจากพัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์หรือการบริหารสาธารณะในฐานะ สาขาวิชาหนึ่ง จะมีลักษณะที่คาบเกี่ยวกันอยู่ 1.1 การเมืองและการบริหารแยกจากกัน (1900-1926) เป็นยุคที่ได้รับอิทธิพลของแนวความคิดที่ว่า รัฐประศาสนศาสตร์และรัฐศาสตร์ไม่ใช่สิ่งเดียวกัน Goodnow, White (1900) เสนอว่าการเมืองเกี่ยวข่องกับการกระทาของกลุ่มผู้บริหารและการกระทาของรัฐเช่น นโยบายกฎหมายแผนพัฒนา เมกกะโปรเจคหรือโครงการใหญ่ๆขณะที่การบริหารเกี่ยวข่องกับการดาเนินงานให้ เป็นไปตามนโนบายกฎหมายและแผนพัฒนา การเมืองเป็นเรื่องของอานาจค่านิยม ส่วนการบริหารนั้นจะมีความเป็นกลางดังนั้นศาสตร์ทางการ บริหารจึงเกี่ยวข่องกับการบริหารงานของฝ่ายบริหารคาถามที่ตามมาก็คือจริงหรือไม่ที่ศาสตร์ทางการบริหาร ปลอดจากค่านิยมโดยเฉพาะค่านิยมทางการเมือง 1.2 หลักการของรัฐประศาสนศาสตร์หรือการบริหารสาธารณะ (1927-1937) ช่วงเวลาที่ได้รับอิทธิพลของหลักการทางการบริหาร เฮนรี่ฟาโยและกุลลิค(Henry Fayol, Gulic Urwick, 1937) เสนอแนวคิดเกี่ยวกับหลักการของการบริหารต้องคนควราให้เกิดความเชี่ยวชาญ และผู้เชี่ยวชาญ ต้องเรียนรู้ให้เกิดความสามารถนาไปปฏิบัติใช่ได้อย่างเหมาะสม แต่หลักการดังกล่าว ยังไม่ให้ความสาคัญต่อ แนวความคิดด้านวัฒนธรรม หน้าที่และกรอบของความเป็นสถาบัน มีเพียงหลักการของการบริหารเช่น หลัก PODSCORB อย่างไรก็ตาม มีการท่าทายหลักการของPODSCORB โดย เอฟเอ็ม มาร์ก( F.M. Marx, 1946) และ ไซมอน (H. Simon, 1947) มาร์กเห็นว่า การงบประมาณ (Budgetary) เป็นเรื่องการตัดสินใจทางการเมืองไซมอน เสนอว่า การบริหารสาธารณะเป็นเรื่องของ ประการแรกการตัดสินใจอย่างมีเหตุผล(Rational Decision) ภายใต้ ข่าวสารข้อมูลที่สามารถหามาได้และมีอยู่ ประการที่สองคือการตัดสินใจจากทางเลือกทั้งหมดที่สามารถจะนามา ประเมินได้นอกจากนั้น แนวความคิดใหม่ของเขาเสนอว่าการบริหารสาธารณะเป็นศาสตร์ทางสังคมจิตวิทยาและ นาไปใช่ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายสาธารณะ
ส.ท.อภิสิทธิ์. ฟองงาม
รหัส นักศึกษา.64423471249Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
ความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะเฉพาะที่สำคัญ คือ การเป็นสหวิทยาการ ซึ่งประกอบไปด้วยศาสตร์ต่าง ๆ ใช้ร่วมในการศึกษา ตลอดจนอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในทางรัฐประศาสนศาสตร์ โดยในทัศนะของ Chandler (1989, pp. 639-641) เห็นว่า ควรประกอบไปด้วย วิชารัฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาวิทยาการจัดการ วิชาการบริหารธุรกิจวิชาสังคมวิทยา วิชาจิตวิทยา วิชามนุษยศาสตร์ และวิชานิติศาสตร์ ซึ่งจะมีความสมบูรณ์ครอบคลุมในการศึกษา
ในขณะที่ McCurdy (1986, pp. 17-21) เห็นว่า จากพัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์สามารถอธิบายได้ว่าพื้นฐานแนวคิดหลักในการศึกษาประกอบไปด้วย 4 สำนักด้วยกัน คือ
1. สำนักที่สนใจศึกษาแบบดั้งเดิม กล่าวคือ สนใจศึกษาสังคมวิทยา จิตวิทยา โดยเน้นและปรับใช้ในเรื่องของความสัมพันธ์ของมนุษย์ และสนใจในรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์โดยนำมาใช้ในการปฏิรูประบบ
2. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงพฤติกรรม โดยนำมาใช้ศึกษาถึงระบบราชการทฤษฎีองค์การ การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ และการพัฒนาองค์การ
3. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงเหตุผลนิยม โดยนำวิชาเศรษฐศาสตร์และการบริหารธุรกิจมาใช้ศึกษาในเรื่องของการวิเคราะห์นโยบาย และการจัดการ
4. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงการเมือง โดยสนใจในเรื่องการเมืองและกฎหมายโดยศึกษาในการนำนโยบายไปปฏิบัติ การบริหารงานบุคคลในระบบราชการ การจัดทำงบประมาณ และการบริหารงานในท้องถิ่น
จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า รัฐประศาสนศาสตร์มีการนำความรู้ที่หลากหลายมาประยุกต์ใช้ในวิชาของตนเอง หรือนำวิชาเหล่านั้นมาประกอบเข้ากันเป็นลักษณะของสหวิทยาการ และถือว่าเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ทำให้จำเป็นต้องนำศาสตร์อื่น ๆ และนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาในขอบข่ายของการศึกษาวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ยังจำเป็นต้องมีการศึกษาในศาสตร์อื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์และสถิติ เศรษฐศาสตร์หรือแม้กระทั่งการตลาด และการประชาสัมพันธ์รวมถึงในปัจจุบันมีความสนใจอย่างยิ่งในเรื่องของจริยธรรมและคุณธรรมภายในวิชารัฐประศาสนศาสตร์
ส.อ.ภานุรุจ แก้วเล็ก รหัส น.ศ.64423471197 รัฐประศาสนศาสตร์เป็นสาขาสหวิทยาการที่ดึงสาขาวิชาต่างๆ เช่น รัฐศาสตร์ สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ กฎหมาย จิตวิทยา และการจัดการ มาพัฒนาและดำเนินการตามนโยบายและโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ ลักษณะสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ช่วยให้สามารถแก้ไขปัญหาสังคมที่ซับซ้อนได้โดยใช้ความรู้และวิธีการจากสาขาต่างๆ เพื่อสร้างแนวทางแก้ไขที่มีประสิทธิภาพการพัฒนาแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์สามารถย้อนกลับไปได้ถึงต้นศตวรรษที่ 20 เมื่อนักวิชาการเริ่มศึกษา หลักการและแนวปฏิบัติในการบริหารจัดการภาครัฐ แนวคิดของรัฐประศาสนศาสตร์มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา โดยมีนักวิชาการและนักปฏิบัติที่แตกต่างกันที่มีส่วนสนับสนุนการพัฒนา ผู้สนับสนุนหลักในการพัฒนารัฐประศาสนศาสตร์ ได้แก่ วูดโรว์ วิลสัน เฮอร์เบิร์ต ไซมอน และเฟรเดอริก เทย์เลอร์ วูดโรว์ วิลสันถือเป็นบิดาแห่งรัฐประศาสนศาสตร์ เขาแย้งว่ารัฐประศาสนศาสตร์ควรเป็นสาขาวิชาที่แยกจากกันและชัดเจนซึ่งมุ่งเน้นไปที่การดำเนินการตามนโยบายและโครงการของรัฐบาล วิลสันเน้นย้ำถึงความสำคัญของงานราชการที่เป็นมืออาชีพและมีคุณธรรมที่ต้องรับผิดชอบต่อสาธารณะ เฮอร์เบิร์ต ไซมอนแนะนำแนวคิดของการตัดสินใจในการบริหารรัฐกิจ เขาแย้งว่าผู้บริหารภาครัฐควรใช้กระบวนการตัดสินใจอย่างมีเหตุผลเพื่อพัฒนาและนำนโยบายและโปรแกรมไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
เฟรดเดอริก เทย์เลอร์แนะนำแนวคิดของการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ในการบริหารรัฐกิจ เขาแย้งว่าหน่วยงานของรัฐควรใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลในสถานที่ทำงาน โดยรวมแล้ว ลักษณะสหวิทยาการของการบริหารรัฐกิจและการพัฒนาแนวคิดของการบริหารราชการทำให้สามารถสร้างนโยบายและโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ให้บริการได้ สาธารณประโยชน์ รัฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาวิทยาการจัดการ วิชาการบริหารธุรกิจวิชาสังคมวิทยา วิชาจิตวิทยา วิชามนุษยศาสตร์ และวิชานิติศาสตร์ ซึ่งจะมีความสมบูรณ์ครอบคลุมในการศึกษา
ในขณะที่ McCurdy (1986, pp. 17-21) เห็นว่า จากพัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์สามารถอธิบายได้ว่าพื้นฐานแนวคิดหลักในการศึกษาประกอบไปด้วย 4 สำนักด้วยกัน คือ
1. สำนักที่สนใจศึกษาแบบดั้งเดิม กล่าวคือ สนใจศึกษาสังคมวิทยา จิตวิทยา โดยเน้นและปรับใช้ในเรื่องของความสัมพันธ์ของมนุษย์ และสนใจในรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์โดยนำมาใช้ในการปฏิรูประบบ
2. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงพฤติกรรม โดยนำมาใช้ศึกษาถึงระบบราชการทฤษฎีองค์การ การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ และการพัฒนาองค์การ
3. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงเหตุผลนิยม โดยนำวิชาเศรษฐศาสตร์และการบริหารธุรกิจมาใช้ศึกษาในเรื่องของการวิเคราะห์นโยบาย และการจัดการ
4. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงการเมือง โดยสนใจในเรื่องการเมืองและกฎหมายโดยศึกษาในการนำนโยบายไปปฏิบัติ การบริหารงานบุคคลในระบบราชการ การจัดทำงบประมาณ และการบริหารงานในท้องถิ่น
จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า รัฐประศาสนศาสตร์มีการนำความรู้ที่หลากหลายมาประยุกต์ใช้ในวิชาของตนเอง หรือนำวิชาเหล่านั้นมาประกอบเข้ากันเป็นลักษณะของสหวิทยาการ และถือว่าเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ทำให้จำเป็นต้องนำศาสตร์อื่น ๆ และนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาในขอบข่ายของการศึกษาวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ยังจำเป็นต้องมีการศึกษาในศาสตร์อื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์และสถิติ เศรษฐศาสตร์หรือแม้กระทั่งการตลาด และการประชาสัมพันธ์รวมถึงในปัจจุบันมีความสนใจอย่างยิ่งในเรื่องของจริยธรรมและคุณธรรมภายในวิชารัฐประศาสนศาสตร์
ส.อ.ภานุรุจ แก้วเล็ก รหัส น.ศ.64423471197 รัฐประศาสนศาสตร์เป็นสาขาสหวิทยาการที่ดึงสาขาวิชาต่างๆ เช่น รัฐศาสตร์ สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ กฎหมาย จิตวิทยา และการจัดการ มาพัฒนาและดำเนินการตามนโยบายและโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ ลักษณะสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ช่วยให้สามารถแก้ไขปัญหาสังคมที่ซับซ้อนได้โดยใช้ความรู้และวิธีการจากสาขาต่างๆ เพื่อสร้างแนวทางแก้ไขที่มีประสิทธิภาพ การพัฒนาแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์สามารถย้อนกลับไปได้ถึงต้นศตวรรษที่ 20 เมื่อนักวิชาการเริ่มศึกษา หลักการและแนวปฏิบัติในการบริหารจัดการภาครัฐ แนวคิดของรัฐประศาสนศาสตร์มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา โดยมีนักวิชาการและนักปฏิบัติที่แตกต่างกันที่มีส่วนสนับสนุนการพัฒนา ผู้สนับสนุนหลักในการพัฒนารัฐประศาสนศาสตร์ ได้แก่ วูดโรว์ วิลสัน เฮอร์เบิร์ต ไซมอน และเฟรเดอริก เทย์เลอร์ วูดโรว์ วิลสันถือเป็นบิดาแห่งรัฐประศาสนศาสตร์ เขาแย้งว่ารัฐประศาสนศาสตร์ควรเป็นสาขาวิชาที่แยกจากกันและชัดเจนซึ่งมุ่งเน้นไปที่การดำเนินการตามนโยบายและโครงการของรัฐบาล วิลสันเน้นย้ำถึงความสำคัญของงานราชการที่เป็นมืออาชีพและมีคุณธรรมที่ต้องรับผิดชอบต่อสาธารณะ เฮอร์เบิร์ต ไซมอนแนะนำแนวคิดของการตัดสินใจในการบริหารรัฐกิจ เขาแย้งว่าผู้บริหารภาครัฐควรใช้กระบวนการตัดสินใจอย่างมีเหตุผลเพื่อพัฒนาและนำนโยบายและโปรแกรมไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เฟรดเดอริก เทย์เลอร์แนะนำแนวคิดของการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ในการบริหารรัฐกิจ เขาแย้งว่าหน่วยงานของรัฐควรใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลในสถานที่ทำงาน โดยรวมแล้ว ลักษณะสหวิทยาการของการบริหารรัฐกิจและการพัฒนาแนวคิดของการบริหารราชการทำให้สามารถสร้างนโยบายและโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ให้บริการได้ สาธารณประโยชน์
ส.อ.ภานุรุจ แก้วเล็ก รหัส น.ศ.64423471197 ข้อที่ 2 นโยบายสาธารณะและการบริหารมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด นโยบายสาธารณะหมายถึงการตัดสินใจและการดำเนินการของรัฐบาลเพื่อแก้ไขปัญหาสาธารณะ ในขณะที่การบริหารเกี่ยวข้องกับการนำนโยบายเหล่านั้นไปปฏิบัติ กล่าวอีกนัยหนึ่ง นโยบายสาธารณะกำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่รัฐบาลต้องการบรรลุ ในขณะที่ฝ่ายบริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินการตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์เหล่านั้นอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ
การบริหารราชการที่มีประสิทธิภาพเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการดำเนินการสาธารณะให้ประสบความสำเร็จ นโยบาย ต้องการผู้ดูแลระบบที่มีทักษะที่สามารถแปลเป้าหมายนโยบายเป็นแผนปฏิบัติการที่เป็นรูปธรรม จัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และติดตามความคืบหน้าเพื่อบรรลุผลลัพธ์ที่ต้องการ ในทางกลับกัน นโยบายสาธารณะต้องออกแบบในลักษณะที่คำนึงถึงความเป็นจริงของการนำไปปฏิบัติและความสามารถของกลไกการบริหาร
ดังนั้น นโยบายสาธารณะและการบริหารจึงพึ่งพากันและต้องทำงานร่วมกันเพื่อให้แน่ใจว่าเป้าหมายของรัฐบาล เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และตอบสนองความต้องการของประชาชน
ข้อที่ 3 ธรรมชาติของการบริหารและการเมืองนั้นซับซ้อนและมีหลายแง่มุม หลักการบริหารเกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรและการดำเนินนโยบายเพื่อให้บรรลุเป้าหมายเฉพาะ ในทางกลับกัน การเมืองเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจและการต่อรองผลประโยชน์ที่ขัดแย้งกันเพื่อกำหนดนโยบายและผลลัพธ์ ในทางปฏิบัติ การบริหารและการเมืองมักจะเกี่ยวพันกัน โดยการพิจารณาทางการเมืองมักจะมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจและการดำเนินการทางการบริหาร ท้ายที่สุดแล้ว ความสำเร็จของการบริหารหรือระบบการเมืองขึ้นอยู่กับความสามารถในการสร้างสมดุลระหว่างผลประโยชน์ที่แข่งขันกันและจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
ส.ท.อภิสิทธิ์ ฟองงาม
64423471249
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์ มีลักษะ 7 ประการดังนี้
ประการแรก จัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ รัฐควรมีบทบาทหน้าที่ในการจัดให้มีกฎระเบียบที่จำเป็นสำหรับการดำเนินการตามระบบทุนนิยมสมัยใหม่ปกป้องสิทธิในทรัพย์สินการบังคับใช้ สัญญาต่างๆ รวมทั้งการจัดให้มีมาตรการต่างๆ อาทิ เรื่องลิขสิทธิ์การรักษากฎหมาย ระบบภาษีกฎหมาย ล้มละลาย รวมถึง กฎกติกาทางการเมืองที่สามารถรองรับชีวิตทางเศรษฐกิจได้เป็นต้น
ประการที่สอง การจัดหาสินค้าและบริการส่วนรวมที่มีลักษณะหลากหลายในแง่ของหลักการมีสินค้าสาธารณะบางประเภทที่มีคุณค่าต่อสังคมโดยรวมเป็นสินค้าที่ใช้ร่วมกัน บางคนใช้น้อยหรือมาก บางคนไม่ได้ ใช้เลยเพราะสินค้าดังกล่าวเมื่อรัฐได้จัดให้มีจะเป็นประโยชน์สำหรับคนทั่วไป ได้แก่ การป้องกัน ประเทศ ถนน สะพาน ระบบการป้องกันน้ำท่วม ระบบสัญญาณควบคุมจราจร เป็นต้น
ประการที่สาม การหาข้อยุติและปรองดองความขัดแย้งระหว่างกลุ่มต่างๆ บทบาทหน้าที่นี้คือเหตุผลเบื้องต้นว่าทำไมรัฐจึงต้องมีหรือคงอยู่เพราะถ้าปราศจากซึ่งบทบาทหน้าที่นี้ของรัฐ สังคมจะขัดแย้ง วุ่นวาย จะมีแต่ความไร้ระเบียบไม่มีความมั่นคงหาความยุติธรรมไม่ได้นอกจากนี้บทบาทหน้าที่ในเรื่องนี้ของรัฐยังช่วยปกป้องคุ้มครองพวกที่อ่อนแอโดนรังแกจากพวกที่มีความเข้มแข็งหรือแข็งแกร่งกว่า
ประการที่สี่ การรักษาการแข่งขัน การรักษาการแข่งขัน ในระบบทุนนิยมสมัยใหม่ในแง่ของหลัก การเน้นการแข่งขัน ดังนั้นหากปราศจากบทบาทหน้าที่นี้ของรัฐ แน่นอนภาคเอกชนย่อมประสบปัญหา การแข่งขันระหว่างกัน ทั้งนี้เพราะการแข่งขันไม่สามารถรักษาตัวของมันเองได้เมื่อเป็นเช่นนี้ทางภาคเอกชน จึงต้องการให้รัฐเป็นคนรักษากติกาหรือคอยติดตามการแข่งขัน ทั้งนี้เพื่อให้มีหลักประกัน ถ้าไม่เช่นนั้นหากเกิดสภาวะการแข่งขันที่ไม่มีกติกาคือภาคเอกชนสามารถแข่งขันโดยไม่มีขอบเขตจำกัดโดยทั่วไปลักษณะของการแข่งขันดังกล่าวจะทำลายตัวมันเอง
ประการที่ห้า การปกป้องทรัพยากรธรรมชาติโดยทั่วไป กิจกรรมการตลาดมักจะก่อให้เกิดความ เสียหายต่อระบบสภาพแวดล้อม ดังนั้นหากรัฐไม่มีบทบาทหน้าที่นี้ย่อมนำไปสู่ความล้มเหลวทางการตลาด บทบาทหน้าที่ของรัฐหรือรัฐบาลช่วยระงับหรือบรรเทาเบาบางความเสียหายของระบบสภาพแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติได้ 620 วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์มจร ปีที่ 6 ฉบับพิเศษ
ประการที่หก การจัดให้ปัจเจกชนสามารถเข้าถึงสินค้าและบริการที่ประหยัดได้การดำเนินการ ของตลาดบางครั้งก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่สังคมยอมรับไม่ได้ เช่น การก่อให้เกิดผลกระทบต่อประชาชน ในขณะที่ประชาชนบางกลุ่มอาจจะเจ็บไข้ได้ป่วยชราภาพไม่รู้หนังสือ เป็นต้น
ประการสุดท้าย การทำให้ระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพในแง่ของหลักการวงจรธุรกิจของ ระบบเศรษฐกิจมักจะมีภาวะที่แกว่งตัวไปมา กล่าวคือ ในบางช่วงธุรกิจอาจจะเฟื่องฟูแต่บางช่วงอาจจะอยู่ในภาวะถดถอยในกรณีดังกล่าวรัฐจะต้องเข้ามาดำเนินการแก้ไขปัญหาโดยใช้นโยบายทางงบประมาณหรือ นโยบายทางด้านการเงิน รวมทั้งมีการควบคุมราคาค่าจ้างแม้ว่าในการดำเนินการตามนโยบายดังกล่าวบางครั้งอาจจะเกิดความผิดพลาดแต่สังคมชุมชนก็ยังมีความคาดหวังให้รัฐมีความรับผิดชอบในเรื่องเหล่านี้ทั้งนี้เพื่อ ให้ระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพ
อาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า รัฐหรือรัฐบาลมีบทบาทหน้าที่พื้นฐานที่สำคัญจะให้ใครดำเนินการไม่ได้ เพราะจะเกิดความไม่ยุติธรรมเท่าเทียมและเสมอภาคได้รัฐหรือรัฐบาลจึงจำเป็นต้องเป็นตัวแทนของรัฐในการดำเนินการแทนประชาชนทุกคนโดยเฉพาะการให้ได้รับซึ่งสินค้าและบริการสาธารณะพื้นฐานเพื่อให้ ประชาชนทุกคนในรัฐเข้าถึงซึ่งสินค้าและบริการสาธารณะนั้นทั่วถึงและเท่าเทียวกันส่วนรูปแบบในรายละเอียดจะเป็นเช่นใดนั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยสภาพแวดล้อมของรัฐนั้น อาทิปัจจัยสภาพแวดล้อมทางการเมือง
ส.ท.อภิสิทธิ์. ฟองงาม
64423471249
Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
ตอบ. ธรรมชาติของการบริหารและการเมืองเป็นเรื่องที่ซับซ้อนและมีหลายแง่มุม ซึ่งอาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับระบบการเมืองและวัฒนธรรมของประเทศใดประเทศหนึ่ง อย่างไรก็ตาม โดยทั่วไปแล้ว การบริหารหมายถึงการดำเนินนโยบายและการตัดสินใจของรัฐบาล ในขณะที่การเมืองหมายถึงกระบวนการกำหนดนโยบายและการตัดสินใจ
ในประเทศประชาธิปไตย การเมืองมีลักษณะเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจ -สร้างกระบวนการผ่านการเลือกตั้งและรูปแบบอื่นๆ ของการมีส่วนร่วมของประชาชน ในทางกลับกัน ฝ่ายบริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินนโยบายและการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการเลือกตั้ง
ในระบอบเผด็จการ การเมืองมักถูกครอบงำโดยพรรคเดียวหรือปัจเจกบุคคล และประชาชนอาจมีโอกาสจำกัดในการมีส่วนร่วมหรือเป็นตัวแทน การบริหารในระบบเหล่านี้มักเป็นแบบรวมศูนย์และมีลำดับชั้น โดยมีความโปร่งใสหรือความรับผิดชอบเพียงเล็กน้อย
ทั้งในระบบประชาธิปไตยและเผด็จการ ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารและการเมืองอาจเต็มไปด้วยความตึงเครียดและความขัดแย้ง เจ้าหน้าที่ที่ได้รับการเลือกตั้งอาจขัดแย้งกับข้าราชการอาชีพในเรื่องการนำนโยบายไปใช้ ขณะที่ผู้บริหารอาจพยายามสร้างสมดุลระหว่างความต้องการที่แข่งขันกันจากผู้นำทางการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ และประชาชน โดยรวมแล้ว ลักษณะของการบริหารและการเมืองถูกกำหนดโดยปัจจัยหลายประการ รวมถึงระบบการเมือง วัฒนธรรม และค่านิยมของประเทศใดประเทศหนึ่ง
ส.อ.เดชา มั่นรอด 64423471142
Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์มีเอกลักษณ์ เพราะมีความแตกต่างจากวิชารัฐศาสตร์ในแง่ที่ว่าเป็นวิชาที่ให้ความสนใจต่อการศึกษาโครงสร้างและพฤติกรรมของระบบราชการ รวมทั้งเป็นศาสตร์ที่มีระเบียบวิธีการศึกษาเป็นของตนเอง วิชารัฐประศาสนศาสตร์ยังแตกต่างจากศาสตร์การบริหารในแง่ที่ว่าเป็นวิชาที่ศึกษาเรื่องขององค์การของรัฐ ซึ่งมิได้มุ่งแสวงหากำไรดังเช่นองค์การเอกชน และเป็นวิชาที่สนับสนุนให้องค์การของรัฐมีโครงสร้างกลไกการตัดสินใจและพฤติกรรมของข้าราชการที่เกื้อกูลการให้บริการสาธารณะ รัฐประศาสนศาสตร์หมายถึง กระบวนการ องค์การ และบุคคลซึ่งดำรงตำแหน่งทางราชการทั้งหลายและมีส่วนเกี่ยวข้องในการกำหนดและนำเอากฎหมาย ระเบียบแบบแผนต่าง ๆ ซึ่งออกโดยฝ่าย นิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ ไปปฏิบัติ รัฐประศาสนศาสตร์มีการนำความรู้ที่หลากหลายมาประยุกต์ใช้ในวิชาของตนเอง หรือนำวิชาเหล่านั้นมาประกอบเข้ากันเป็นลักษณะของสหวิทยาการ และถือว่าเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ทำให้จำเป็นต้องนำศาสตร์อื่น ๆ และนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาในขอบข่ายของการศึกษาวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ยังจำเป็นต้องมีการศึกษาในศาสตร์อื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์และสถิติ เศรษฐศาสตร์หรือแม้กระทั่งการตลาด และการประชาสัมพันธ์รวมถึงในปัจจุบันมีความสนใจอย่างยิ่งในเรื่องของจริยธรรมและคุณธรรมภายในวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
การบริหารกับการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ฝ่ายบริหารมีระดับของความเกี่ยวข้อง ในการกำหนดน โยบายในลักษณะการทำหน้าที่ในการเสนอข้อมูลข่าวสาร หรือ ความเห็นเกี่ยวกับทางเลือกนโยบายแก่ฝ่ายการเมือง หรือ ทำหน้าที่ในการตีความนโยบายในการนำไปปฏิบัติซึ่งมีลักษณะเป็นการกำหนดนโยบายเพื่อแสวงหาแนวปฏิบัติด้วยตนเอง ในกรณีที่ฝ่ายการเมืองไม่มีนโยบายที่ชัดเจน หรือ นโยบายที่กว้างต้องมีการตีความในรายละเอียดในการนำไปปฏิบัติ ขณะที่ในบริบทของสังคมไทย ฝ่ายบริหารมีระดับของความเกี่ยวข้องในการกำหนดน โขบายในหลายระดับตั้งแต่ การทำหน้าที่ในการเสนอข้อมูลข่าวสาร หรือ ความเห็นเกี่ยวกับทางเลือกน โยบายแก่ฝ่ายการเมือง การตีความ นโยบายในการนำไปปฏิบัติซึ่งมีลักษณะเป็นการกำหนดนโยบายเพื่อแสวงหาแนวปฏิบัติด้วยตนเอง ไปจนถึง การทำหน้าที่เป็นคลังสมองด้านนโยบายและวิชาการ แก่ฝ่ายการเมืองโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่ฝ่ายการเมืองมาจากการปฏิวัติโดยข้าราชการประจำสายทหาร และ การเข้าไปดำรงตำแหน่งทางการเมืองในคณะรัฐมนตรี และในรัฐสภา โดยฝ่ายบริหารจะมีบทบาทอย่างมากในการกำหนดนโยบายในสองสถานะคือ สถานะตัวแสดงฝ่ายการเมืองและในสถานะตัวแสดงฝ่ายบริหาร ในเวลาเดียวกัน
Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
ธรรมชาติของการบริหารและการเมืองเป็นเรื่องที่ซับซ้อนและมีหลายแง่มุม ซึ่งอาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับระบบการเมืองและวัฒนธรรมของประเทศใดประเทศหนึ่ง อย่างไรก็ตาม โดยทั่วไปแล้ว การบริหารหมายถึงการดำเนินนโยบายและการตัดสินใจของรัฐบาล ในขณะที่การเมืองหมายถึงกระบวนการกำหนดนโยบายและการตัดสินใจ
ในประเทศประชาธิปไตย การเมืองมีลักษณะเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจ -สร้างกระบวนการผ่านการเลือกตั้งและรูปแบบอื่นๆ ของการมีส่วนร่วมของประชาชน ในทางกลับกัน ฝ่ายบริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินนโยบายและการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการเลือกตั้ง
ในระบอบเผด็จการ การเมืองมักถูกครอบงำโดยพรรคเดียวหรือปัจเจกบุคคล และประชาชนอาจมีโอกาสจำกัดในการมีส่วนร่วมหรือเป็นตัวแทน การบริหารในระบบเหล่านี้มักเป็นแบบรวมศูนย์และมีลำดับชั้น โดยมีความโปร่งใสหรือความรับผิดชอบเพียงเล็กน้อย
ทั้งในระบบประชาธิปไตยและเผด็จการ ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารและการเมืองอาจเต็มไปด้วยความตึงเครียดและความขัดแย้ง เจ้าหน้าที่ที่ได้รับการเลือกตั้งอาจขัดแย้งกับข้าราชการอาชีพในเรื่องการนำนโยบายไปใช้ ขณะที่ผู้บริหารอาจพยายามสร้างสมดุลระหว่างความต้องการที่แข่งขันกันจากผู้นำทางการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ และประชาชน โดยรวมแล้ว ลักษณะของการบริหารและการเมืองถูกกำหนดโดยปัจจัยหลายประการ รวมถึงระบบการเมือง วัฒนธรรม และค่านิยมของประเทศใดประเทศหนึ่ง
ส.อ.ธนาวัฒน์ หนูลอย 64423471189
Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
ตอบ รัฐประศาสนศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาถึงหลักการ แนวทาง วิธีการในการบริหารงานหรือการดำเนินงานของภาครัฐ ซึ่งมีความแตกต่างจากการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชนหลายประการ เช่น กลุ่มเป้าหมายและขอบเขตในการดำเนินงาน ซึ่งการบริหารงานภาครัฐดำเนินงานเพื่อประชาชนทั้งสังคม แตกต่างจากภาคธุรกิจเอกชน ที่คำนึงถึงเฉพาะลูกค้าที่จะนำกำไรมาให้แก่องค์การเท่านั้น
รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นสาขาวิชาที่มีการบูรณาการมีลักษณะเป็นสหวิทยาการ เนื่องจากมีการนำองค์ความรู้จากสาขาวิชาอื่นๆ มาประมวลหรือประยุกต์ใช้หลายสาขาวิชา ซึ่งนับเป็นประโยชน์ต่อสาขาวิชานี้เพราะทำให้เกิดความเข้มแข็งในทางวิชาการมากขึ้น
จากพัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์สามารถอธิบายได้ว่าพื้นฐานแนวคิดหลักในการศึกษาประกอบไปด้วย 4 สำนักด้วยกัน คือ
1. สำนักที่สนใจศึกษาแบบดั้งเดิม กล่าวคือ สนใจศึกษาสังคมวิทยา จิตวิทยา โดยเน้นและปรับใช้ในเรื่องของความสัมพันธ์ของมนุษย์ และสนใจในรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์โดยนำมาใช้ในการปฏิรูประบบ
2. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงพฤติกรรม โดยนำมาใช้ศึกษาถึงระบบราชการทฤษฎีองค์การ การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ และการพัฒนาองค์การ
3. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงเหตุผลนิยม โดยนำวิชาเศรษฐศาสตร์และการบริหารธุรกิจมาใช้ศึกษาในเรื่องของการวิเคราะห์นโยบาย และการจัดการ
4. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงการเมือง โดยสนใจในเรื่องการเมืองและกฎหมายโดยศึกษาในการนำนโยบายไปปฏิบัติ การบริหารงานบุคคลในระบบราชการ การจัดทำงบประมาณ และการบริหารงานในท้องถิ่น
จะเห็นได้ว่า รัฐประศาสนศาสตร์มีการนำความรู้ที่หลากหลายมาประยุกต์ใช้ในวิชาของตนเอง หรือนำวิชาเหล่านั้นมาประกอบเข้ากันเป็นลักษณะของสหวิทยาการ และถือว่าเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ทำให้จำเป็นต้องนำศาสตร์อื่น ๆ และนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาในขอบข่ายของการศึกษาวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ยังจำเป็นต้องมีการศึกษาในศาสตร์อื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์และสถิติ เศรษฐศาสตร์หรือแม้กระทั่งการตลาด และการประชาสัมพันธ์รวมถึงในปัจจุบันมีความสนใจอย่างยิ่งในเรื่องของจริยธรรมและคุณธรรมภายในวิชารัฐประศาสนศาสตร์
ส.อ.ธนาวัฒน์ หนูลอย 64423471189
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
ตอบ นโยบายสาธารณะ คือ แนวทางการดำเนินงาน การกระทำ วิธีการปฏิบัติ ที่ถูกกำหนดขึ้นโดยรัฐ (รัฐบาล) ซึ่งอาจจะเป็นองค์กรหรือตัวบุคคลที่มีอำนาจหน้าที่โดยตรงตามกฎหมายภายใต้ระบบการเมืองนั้นๆ ทั้งนี้นโยบายสาธารณะจะครอบคลุมตั้งแต่สิ่งที่รัฐบาลตั้งใจจะกระทำหรือไม่กระทำ เป็นการตัดสินใจของรัฐ (รัฐบาล) ที่กำหนดแนวทางเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ การดำเนินงาน เมื่อเป็นแนวทางของรัฐต้องเป็นกิจกรรมในการแบ่งสรรทรัพยากร หรือคุณค่าต่างๆในสังคม กิจกรรมหรือการกระทำต่างๆของรัฐบาล รวมจนถึง ผลผลิต ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงและต้องมีการติดตาม มาจากการดำเนินงานของรัฐบาล โดยมุ่งเน้นที่จะกระทำให้บรรลุเป้าหมาย วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้โดยรัฐบาล
ฝ่ายบริหารมีหน้าที่หลักในการนำนโยบายที่ฝ่ายการเมืองกำหนดไปปฏิบัติให้สำเร็จหรืออีกนัยหนึ่งฝ่ายบริหารทำหน้าที่ในการกำหนดวิธีการในการนำไปสู่การปฏิบัติจะต้องเข้ามาเกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบายทางใดทางหนึ่งกล่าวคือ
1.การทำหน้าที่ในการเสนอข้อมูลข่าวสารหรือความเห็นเกี่ยวกับทางเลือกนโยบายแก่ฝ่ายการเมือง เพราะการตัดสินใจในเรื่องนโยบายสาธารณะควรจะต้องอยู่บนพื้นฐานของเหตุผลข้อเท็จจริงสภาพความเป็นจริงให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยเหตุดังกล่าวฝ่ายบริหารซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานมีความรู้และประสบการณ์จริง ทำหน้าที่ในการ ให้การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสารและการแสดงทัศนะข้อคิดเห็นเกี่ยวกับทางเลือกนโยบายแก่ฝ่ายการเมือง โดยฝ่ายการเมืองจะเป็นผู้ทำหน้าที่ในการเลือกกำหนดนโยบาย
2. ในกรณีที่ฝ่ายการเมืองไม่มีนโยบายที่ชัดเจน หรือนโยบายที่กว้างต้องมีการตีความในรายละเอียดในการนำไปปฏิบัติ ฝ่ายบริหารจะต้องเข้ามามีบทบาทในการกำหนดนโยบายเพื่อแสวงหาแนวปฏิบัติด้วยตัวเอง หรือเป็นการกำหนดนโยบายในระดับการปฎิบัติ
ส.อ.ธนาวัฒน์ หนูลอย 64423471189
Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
ตอบ การบริหารประเทศภายใต้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยนั้น มีองค์กรสําคัญที่ทํางาน เกี่ยวเนื่องกัน คือ ฝ่ายการเมืองที่มีรัฐบาลมาจากการเลือกตั้งซึ่งทําหน้าที่กําหนดนโยบาย และฝ่ายบริหาร ราชการที่มีระบบราชการและข้าราชการเป็นฟันเฟืองสําคัญในการนํานโยบายไปปฏิบัติ และอาจมีบทบาท ในการกําหนดนโยบายระดับหนึ่ง บทบาทและความสัมพันธ์ของฝ่ายการเมืองกับฝ่ายข้าราชการประจําถือว่า เป็นส่วนสําคัญในการขับเคลื่อนประเทศ โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับนโยบายของรัฐซึ่งมีองค์ประกอบคือ การกําหนดนโยบาย และการนํานโยบายไปปฏิบัติ หากฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการประจํามีความสัมพันธ์ ท่ีดีต่อกัน ก็จะนําไปสู่การบรรลุเป้าหมายของนโยบายที่ได้กําหนดไว้ ความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายการเมืองและ ฝ่ายข้าราชการประจําจึงเป็นส่ิงสําคัญสําหรับการบริหารประเทศให้ดําเนินต่อไปอย่างเรียบร้อยและเกิด ประโยชน์ต่อประชาชน และการจะเข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการประจํา จําเป็นที่จะต้องทําความเข้าใจเก่ียวกับความหมายของการเมือง บทบาทหน้าท่ีหลักของฝ่ายการเมือง ความหมายของการบริหารราชการ และบทบาทหน้าท่ีหลักของข้าราชการประจํา เพื่อจะได้เชื่อมโยงให้เห็นถึง ความสัมพันธ์ของแต่ละฝ่ายได้อย่างชัดเจน
วสุพล ผ่องใส
ข้อที่ 1.
รัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะเฉพาะที่สำคัญ คือ การเป็นสหวิทยาการ ซึ่งประกอบไปด้วยศาสตร์ต่าง ๆ ใช้ร่วมในการศึกษา ตลอดจนอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในทางรัฐประศาสนศาสตร์ โดยในทัศนะของ Chandler (1989, pp. 639-641) เห็นว่า ควรประกอบไปด้วย วิชารัฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาวิทยาการจัดการ วิชาการบริหารธุรกิจวิชาสังคมวิทยา วิชาจิตวิทยา วิชามนุษยศาสตร์ และวิชานิติศาสตร์ ซึ่งจะมีความสมบูรณ์ครอบคลุมในการศึกษา
ในขณะที่ McCurdy (1986, pp. 17-21) เห็นว่า จากพัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์สามารถอธิบายได้ว่าพื้นฐานแนวคิดหลักในการศึกษาประกอบไปด้วย 4 สำนักด้วยกัน คือ
1. สำนักที่สนใจศึกษาแบบดั้งเดิม กล่าวคือ สนใจศึกษาสังคมวิทยา จิตวิทยา โดยเน้นและปรับใช้ในเรื่องของความสัมพันธ์ของมนุษย์ และสนใจในรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์โดยนำมาใช้ในการปฏิรูประบบ
2. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงพฤติกรรม โดยนำมาใช้ศึกษาถึงระบบราชการทฤษฎีองค์การ การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ และการพัฒนาองค์การ
3. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงเหตุผลนิยม โดยนำวิชาเศรษฐศาสตร์และการบริหารธุรกิจมาใช้ศึกษาในเรื่องของการวิเคราะห์นโยบาย และการจัดการ
4. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงการเมือง โดยสนใจในเรื่องการเมืองและกฎหมายโดยศึกษาในการนำนโยบายไปปฏิบัติ การบริหารงานบุคคลในระบบราชการ การจัดทำงบประมาณ และการบริหารงานในท้องถิ่น
จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า รัฐประศาสนศาสตร์มีการนำความรู้ที่หลากหลายมาประยุกต์ใช้ในวิชาของตนเอง หรือนำวิชาเหล่านั้นมาประกอบเข้ากันเป็นลักษณะของสหวิทยาการ และถือว่าเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ทำให้จำเป็นต้องนำศาสตร์อื่น ๆ และนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาในขอบข่ายของการศึกษาวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ยังจำเป็นต้องมีการศึกษาในศาสตร์อื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์และสถิติ เศรษฐศาสตร์หรือแม้กระทั่งการตลาด และการประชาสัมพันธ์รวมถึงในปัจจุบันมีความสนใจอย่างยิ่งในเรื่องของจริยธรรมและคุณธรรมภายในวิชารัฐประศาสนศาสตร์
วสุพล ผ่องใส
ข้อที่ 2นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
นโยบายสาธารณะถือเป็นส่วนสำคัญที่สุดของการบริหารงานของรัฐบาลเพราะเกี่ยวข้องกับเจตนารมณ์ของรัฐบาลตั้งแต่เมื่อครั้งหาเสียงเลือกตั้งจนถึงการประกาศแถลงนโยบายและโดย ตัวของมันเอง นโยบายสาธารณะก็มีความสำคัญในแง่ต่างๆ ดังนี้
1) เป็นกรอบแนวทางการบริหารจัดการของภาครัฐในอันที่จะแก้ปัญหาให้แก่สาธารณชนเพราะนโยบายสาธารณะจะกระทบต่อวิถีชีวิตด้านต่างๆ ของประชาชน เช่นนโยบายสาธารณะด้านสาธารณสุข สวัสดิการ การศึกษา การเก็บภาษี การค้าต่างประเทศการอพยพ สิทธิของพลเมือง การปกป้องสิ่งแวดล้อม รายจ่ายของรัฐบาลท้องถิ่นและการป้องกันประเทศ
2) เป็นเสมือนเข็มทิศการทำงานของเจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐที่จะยึดถือเป็นแนวปฏิบัติเนื่องจากในนโยบายสาธารณะจะก าหนดว่าเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้องส่วนใดจะต้องปฏิบัติอะไร อย่างไรและเมื่อไร จึงจะสอดคล้องกับแนวนโยบาย
3) ช่วยให้ประชาชนได้รับรู้ถึงบทบาทการมีส่วนร่วมตามนโยบายที่รัฐบาลกำหนด เช่น โครงการรณรงค์ลดภาวะโลกร้อน
4) เป็นเครื่องมือสำหรับทำให้เกิดการจัดสรรทรัพยากรใหม่ที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมของปัญหาและเพื่อประโยชน์ของประชาชนส่วนใหญ
ในบริบทของสังคมไทย การอธิบายและวิเคราะห์การแสดงบทบาทของฝ่ ายการเมืองและฝ่ าย
บริหารในการกา หนดนโยบาย ในบริบทสังคมไทยอาจกล่าวได้ว่า นับต้งัแต่พ.ศ.2475 เป็นต้นมา
การเมืองกบัการบริหารไม่อาจแยกออกจากกนั ไดม้ีความคลา้ยคลึง และความแตกต่างจากบริบทของ
สังคมตะวันตก โดยลักษณะการเมืองกบัการบริหารไม่อาจแยกออกจากกนัไดในสังคมไทย
1.การบริหารกับการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกันได้อย่างเด็ดขาดเพราะฝ่ายข้าราชการประจำ เข้าไปเกี่ยวข้องกับกิจกรรมการกำหนดนโยบายของฝ่ายการเมืองที่มาจากการเลือกตั้งลักษณะดังกล่าว คล้ายกับ แนวคิดการบริหารกบัการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกันในสังคมตะวันตก เนื่องจากแม้หน้าที่หลักในการกำหนดนโยบายสาธารณะจะเป็นของฝ่ายการเมือง และฝ่ายขา้ราชการประจำ มีหนา้ที่ในการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติใหบรรลุผลสำเร็จ แต่ในความเป็นจริงทั้งสองฝ่ายต่างก็ต้องทำงานร่วมกันและพึ่งพากัน เพื่อให้การกำหนดนโยบายและการนำนโยบายไปปฏิบัติบรรลุผลสำเร็จ
2.ในบริบทของการเมืองและสังคมไทย ฝ่ายข้าราชการประจำโดยเฉพาะทหารและตำรวจมีอำนาจมาก (power/force) โดยเฉพาะอำนาจอาวุธยุทโธปกรณ์และกาลังพล และใชอำนาจดังกล่าวในการเข้สู่สถานะเป็นตวัแสดง (actor) ในฝ่ายการเมืองโดยการปฏิวัติรัฐประหาร และมีการพึ่งฝ่ายข้าราชการประจำ ในสายพลเรือนในกิจกรรมการกำหนดนโยบายของฝ่ายการเมืองที่มาจากการปฏิวัติรัฐประหารในฐานะที่เป็นคลังสมอง (think-tank) ของรัฐบาลทหาร
1163 said…
จ.ส.อ.เอกสิทธิ์ กตะศิลา รหัส 64423471163
2.นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
นโยบายสาธารณะมีความสำคัญต่อสังคมและประเทศชาติเป็นอย่างมาก เพราะส่งผลต่อชีวิตความ เป็นอยู่ของประชาชนทั้งประเทศ โดยรัฐบาลต้องออกนโยบายและนำไปปฏิบัติเพื่อช่วยแก้ไขปัญหา หรือ ทำให้ประชาชนที่ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดียิ่งขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน ส่วนประชาชนเมื่อ เห็นว่านโยบายของรัฐบาลมีประโยชน์และตอบสนองต่อความต้องการในการดำเนินชีวิต ก็จะให้การ สนับสนุนรัฐบาลมากขึ้น หรืออาจะกล่าวได้ว่า นโยบายสาธารณะเป็นสิ่งที่เอื้ออำนวยผลประโยชน์และแสดง ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ต่อทั้งประชาชนและรัฐบาล โดยนโยบายสาธารณะแบ่งออกเป็นหลายประเภทด้วยกัน ซึ่งแต่ละประเภทนั้นก็จะแตกต่างกันออกไป ตามความเหมาะสม ส่วนการนำไปใช้บริหารประเทศนั้นก็ขึ้นอยู่ ว่าจะกำหนดและปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะแบบไหน เพื่อตอบสนองความต้องการของ ประชาชนมากที่สุด ดังนั้นนโยบายสาธารณะจึงเป็นแนวทางปฏิบัติของรัฐบาลที่มุ่งเน้นสร้างผลประโยชน์ให้ กับประชาชนเป็นหลัก เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน และพัฒนาชีวิตประชาชนให้ดียิ่งขึ้นพัฒนาบุคลากรตามแนวทางของกระบวนการนำนโยบายไปปฏิบัติตามบริบท ที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นภารกิจงานใหม่ที่ท้าทายศักยภาพของบุคลากรภาครัฐเป็นอย่างมาก นโยบายกับระบบราชการหรือการบริหาร นโยบายสาธารณะที่มีผลผูกพันและผลกระทบไปสู่สาธารณะหรือประชาชนที่เกี่ยวข้องกับ นโยบาย จึงจำเป็นที่จะต้องให้ความสำคัญ ซึ่งปัจจุบันกระบวนการนโยบายมีการดำเนินการที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเป็นอันมาก เพราะปัจจุบันเป็นยุคของข้อมูลข่าวสาร ประชาชนมีการรับรู้และมีความรู้มากขึ้น จึงสนใจและต้องการมีส่วนร่วมในกระบวนการทางนโยบายเมื่อบริบทเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสปฏิรูป หรือการปกครอง หรือระบบอภิบาลที่เป็นประชาธิปไตย ทำให้หน่วยงานภาครัฐอันเป็นหน่วยปฏิบัติตามโยบาย จะต้อง ปรับตัวโดยเฉพาะการพัฒนาให้สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งมีแนวทางการพัฒนาให้ตอบสนองต่อสาธารณกิจและประชาชนได้มากขึ้น การนำนโยบายไปปฏิบัติมีส่วนสำคัญ เป็นอย่างมาก จะต้พัฒนาบุคลากรให้เข้าใจและเห็นถึงความสำคัญของการขับเคลื่อนนโยบายเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมและบรรลุเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้ คุณลักษณะร่วมของแนวคิดทฤษฎีที่มีฐานคติที่ว่าการเมืองและการบริหารไม่แยกออกจากกันได้ แม้ว่าการเมืองจะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับคุณค่า ค่านิยม สิ่งที่ดีงาม เป็นประโยชน์ต่อสังคม การแบ่งสรรทรัพยากรอันมีคุณค่าอันมีลักษณะที่เป็นนามธรรมอัตวิสัย จะเป็นหน้าที่หลักของฝ่ายการเมืองเนื่องจากเป็นฝ่ายที่มีความชอบธรรมเพราะมาจากการเลือกของประชาชนในการทำหน้าที่ในการกำหนดเป้าหมายทิศทางของการบริหาร แต่ในทางปฏิบัติ ฝ่ายบริหารมาจากการสอบคัดเลือกและมีหน้าที่หลักในการนำนโยบายที่ฝ่ายบริหารทำหน้าที่ในการกำหนดวิธีการในการนำไปปฏิบัติ จะต้องเข้ามาเกี่ยวข้องกับการดำหนดนโยบายในทางใดทางหนึ่ง การทำหน้าที่ในการเสนอข้อมูลข่าวสาร หรือ ความเห็นเกี่ยวกับทางเลือกนโยบาย เพราะการตัดสินใจในเรื่องนโยบายควรจะต้องอยู่บนพื้นฐานของเหตุผลข้อเท็จจริงสภาพความเป็นจริงให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ด้วยเหตุดังกล่าว ผู้ปฏิบัติงานควรมีความรู้และประสบการณ์ จึงทำหน้าที่ในการสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร และการแสงทัศนะข้อคิดเห็นเกี่ยวกับทางเลือกนโยบาย ในกรณีที่ฝ่ายการเมืองไม่มีนโยบายที่ชัดเจนหรือนโยบายกว้างๆ ต้องมีความตีความในรายละเอียดในการนำไปปฏิบัติ ฝ่ายบริหารจะต้องเข้าไปมีบทบาทในการกำหนดนโยบายเพื่อแสวงหาแนวปฏิบัติตนเอง หรือ เป็นการกำหนดนโยบายระดับการปฏิบัติ การอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายการเมืองและฝ่ายบริหารในการกำหนดนโยบายในบริษัทสังคมไทย อาจกล่าวได้ว่า การเมืองกับการบริหารไม่อาจแยกออกจากกันได้ มีความคล้ายคลึง และความแตกต่างจากบริบท โดยลักษณะการเมืองกับการบริหารไม่อาจแยกออกจากกันได้อย่างเด็ดขาด เพราะกิจกรรมดำหนดนโยบายของฝ่ายการเมือง คล้ายแนวคิดการบริหารกับการเมือง เนื่องจากหน้าที่หลักในการกำหนดนโยบายจะเป็นฝ่ายการเมืองและการนำนโยบายไปปฏิบัติให้บรรลุสำเร็จ
1163 said…
จ.ส.อ.เอกสิทธิ์ กตะศิลา รหัส 64423471163
3.อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
การปฏิบัติตามนโยบายเพื่อทำให้บรรลุถึงเป้าหมาย แบ่งทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำากัด กำหนดเป้าหมายของรัฐ และใช้เป้าหมายนี้เป็น หลักเกณฑ์ในการดำเนินนโยบายด้านต่างๆ เพื่อการแบ่งสรรปันส่วนคุณค่าดังกล่าว การบริหาร จึงเป็นวิธีการในทางปฏิบัติที่ช่วยเอื้ออำนวยให้มีการกระทำตามเป้าหมายที่กำหนดขึ้นไว้ ส่งเสริมให้ประชาชนให้ความสนใจต่อการส่วนร่วมทางการเมืองอย่างกว้างขวางการใช้สิทธิในเรื่องต่างๆ การวิพากษ์วิจารณ์การทำงานทั้งในทางสนับสนุนและคัดค้าน ทำงานตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ประชาชนสามารถตีแผ่เรื่องที่ไม่ชอบมาพากลรวมถึงการใช้อำนาจในทางที่ผิด ถ้ามีกรณีที่ประชาชนไม่เห็นด้วยกับการตัดสินใจหรือการทำงาน ประชาชนสามารถแสดงความคิดเห็นให้สอดคล้องกับความต้องการของตนได้ พัฒนาและสร้างความเจริญ เพื่อส่งมอบบริการสาธารณะที่มีประสิทธิภาพและคุณภาพให้กับประชาชน และตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง การพัฒนาปรับเปลี่ยน โดยเน้นตามความถนัด และจุดเด่นของแต่ละองค์กร รวมทั้งความร่วมมือจากประชาชนเป็นผู้สนับสนุน ให้การขับเคลื่อนเกิดผลที่เป็นรูปธรรมให้ความสำคัญกับประชาชนในการเข้ามีส่วนร่วมโดยตรงทั้งทางการเมืองและการบริหาร ซึ่งส่งผลให้เกิดกระแส การตื่นตัวของประชาชนในเรื่องสิทธิมนุษยชนมีการเรียกร้องสิทธิในการรับรู้และสิทธิในการเข้ามามีส่วนร่วมโดยประชาชนเรียกร้องความเป็นธรรมในสังคมมากขึ้นมีการรวมตัวเป็นกลุ่มประชาสังคมและเริ่มเรียกร้องเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจและบริหารงานที่โปร่งใสเป็นธรรมรวมทั้งการเปิดพื้นที่ให้ประชาชนเข้ามีส่วนร่วมในการบริหารโดยตรงส่งผลให้ต้องปรับตัวให้ทันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลง โดยต้องเปิดระบบการเข้าสู่กระบวนการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม ที่ยอมรับและให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการมากขึ้น คุณลักษณะร่วมของแนวคิดทฤษฎีที่มีฐานคติ ที่ว่าการเมืองและการบริหารที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ว่าภายใต้ระบอบประชาธิปไตยแม้ว่าการเมืองซึ่งเป็นเรื่องของการกำหนดนโยบายและเป้าหมายของรัฐ ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับคุณค่าค่านิยม สิ่งที่ดีงาม เป็นประโยชน์ต่อสังคม การแบ่งสรรทรัพยากรอันมีคุณค่าอันมีลักษณะที่เป็นนามธรรม เป็นอัตวิสัยจะเป็นหน้าที่หลักของฝ่ายการเมืองเนื่องจากเป็นฝ่ายที่มีความชอบธรรมเพราะมาจากการเลือกตั้งของประชาชนในการทำ หน้าที่เป็นตัวแทนที่สะท้อนความต้องการของประชาชนในการบริหาร ประเทศ หรืออีกนัยหนึ่ง ฝ่ายการเมืองทา หนา้ที่ในการกำหนดเป้าหมายทิศทางของการบริหารประเทศ แต่ในทางปฏิบัติฝ่ายบริหารหรือฝ่ายขา้ราชการประจำ ซึ่งมาจากการสอบคดัเลือกเขา้สู่ตำ แหน่งและมี หน้าที่หลักในการนำนโยบายที่ฝ่ายการเมืองกำหนดไปปฏิบัติให้สำเร็จหรืออีกนัยหนึ่งฝ่ายบริหารทำหนา้ที่ในการกำหนดวิธิการในการนำไปปฏิบัติจะต้องเข้ามาเกี่ยวข้องกบัการกำหนดนโยบายในทางใดทางหนึ่งกล่าวคือ
1. การทำหน้าที่ในการเสนอขอ้มูลข่าวสาร หรือ ความเห็นเกี่ยวกับทางเลือกนโยบายแก่ฝ่าย การเมือง เพราะการตัดสินใจในเรื่องนโยบายสาธารณะควรจะต้องอยู่บนพื้นฐานของเหตุผลข้อเท็จจริง สภาพความเป็นจริงให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ด้วยเหตุดังกล่าว ฝ่ายบริหารซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานมี ความรู้และประสบการณ์ จึงทำหน้าที่ในการให้การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร และการแสดงทัศนะ ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับทางเลือกนโยบายแก่ฝ่ายการเมือง โดยฝ่ายการเมืองจะเป็นผู้ทำหน้าที่ในการเลือกกำหนดนโยบาย
2. ในกรณีที่ฝ่ายการเมืองไม่มีนโยบายที่ชัดเจน หรือ นโยบายที่กว้างต้องมีการตีความใน รายละเอียดในการนา ไปปฏิบัติ ฝ่ายบริหารจะต้องเข้ามีมีบทบาทในการกา หนดนโยบายเพื่อแสวงหา แนวปฏิบัติด้วยตนเอง หรือเป็นการกา หนดนโยบายในระดับการปฏิบัติ
1163 said…
จ.ส.อ.เอกสิทธิ์ กตะศิลา รหัส 64423471163
1.อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์ มี เอกลักษณ์เพราะมีความแตกต่างจากวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในแง่ที่ว่าให้ความสนใจในการศึกษาถึง โครงสร้างและพฤติกรรมของระบบราชการ รวมทั้งเป็นศาสตร์ที่มีระเบียบวิธีการศึกษาเป็นของตนเอง รัฐประศาสนศาสตร์มีความแตกต่างจากศาสตร์การบริหารในแง่ที่ว่าเป็นวิชาที่ศึกษาเรื่องขององค์การของรัฐที่ไม่ได้มุ่งแสวงหากำไร สนับสนุนให้องค์การของรัฐมีโครงสร้าง กลไกการตัดสินใจ และพฤติกรรมของข้าราชการที่เอื้อหนุนต่อการให้บริการสาธารณะ กระบวนการ องค์การ และบุคคลที่ดำรงตําแหน่ง ทางราชการทั้งหลายและมีส่วนเกี่ยวข้องกับการกำหนดและนําเอากฎหมาย ระเบียบ แบบแผนต่าง ๆ ออกไปปฏิบัติ การดำาเนินงานของภาครัฐหรือระบบราชการ เพื่อให้เป็นไปตาม นโยบายของรัฐหรือรัฐบาลที่วางไว้เป็นกิจกรรหรือการดำเนินงานของทั้งฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายตุลาการที่จะทำให้นโยบายแห่งรัฐบรรลุผลสำเร็จ หรือการบริหารราชการ เป็นส่วนหนึ่งที่ เกี่ยวกับการดำเนินงานกิจกรรมต่าง ๆที่รัฐปฏิบัติเพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อประชาชน อย่างไรก็ตาม การศึกษาหัวเรื่องพัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์ที่ดูเหมือนจะ หยุดนิ่งมาหลายทศวรรษจากการศึกษาตามแนวทางเรื่องพาราไดม์ของรัฐประศาสนศาสตร์ ปัจจุบัน ทำ ให้ดูเหมือนว่าจะเป็นจุดสูงสุดของพัฒนาการแนวความคิดมีการแสวงหาองค์ความรู้ใหม่ๆ เพื่อมาปรับใช้ในการบริหารงานภาครัฐให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นความสอดคล้องกับความต้องการของสังคม ค่านิยม และความเท่าเทียมในสังคม ความสอดคล้องกับความต้องการของสังคมตอบสนองการเปลี่ยนแปลงให้ความสำคัญกับค่านิยมในการบริหาร นอกจากนี้การศึกษาหัวเรื่องพัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์ถือว่าเป็นหัวเรื่องที่ทำความเข้าใจได้ไม่ง่ายนักหากพิจารณาจากความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์ว่าหมายถึงการบริหารงานสาธารณะหรือการบริหารงานที่เป็นกิจการของส่วนรวมเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนการบริหารกิจกรรมต่างๆ ของรัฐ ซึ่งรวมเรียกว่าสาธารณกิจอันเป็นกิจกรรมที่ถูกกำหนดขึ้นและนำไปปฏิบัติเพื่อประโยชน์ส่วนรวม ดังนั้น หากพิจารณาจากความหมายดังกล่าวจะเห็นได้ว่ารัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะของ กิจกรรมการบริหารสาธารณะไม่สามารถระบุได้ว่าเกิดขึ้นครั้งแรกตั้งแต่เมื่อใด อาจกล่าว ได้เพียงว่าแนวคิดด้านรัฐประศาสนศาสตร์หรือวิชาการบริหารรัฐกิจนั้นแท้ที่จริงมีมานาน ตั้งแต่สมัยโบราณเมื่อมีการจัดองค์การทางการเมืองเป็นรัฐ ไม่ว่าจะเป็นจีนโบราณ อินเดีย กรีก เป็นต้นและแม้จะมีความเห็นพ้องต้องกันว่า พัฒนาการของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์อย่างเป็นระบบหรือในฐานะของวิชา มีจุดเริ่มต้นใน ค.ศ. 1887 แต่ในความเป็นจริง รัฐประศาสนศาสตร์ ในฐานะของวิชา และ การบริหารรัฐกิจ (ในฐานะกิจกรรมหรือกระบวนการทำให้การบริหารและการบริการ สาธารณะมีประสิทธิภาพและก่อประสิทธิผล) เป็นเรื่องที่ไม่สามารถแยกกันได้ ดังนั้น การศึกษาพัฒนาการของวิชาจะยุติลงด้วยแนวคิดหรือทฤษฏีใดทฤษฏีหนึ่งจึงเป็นเรื่องที่ ไม่ต้องตรงกับความเป็นจริง ขณะที่แนวทางการศึกษากระบวนการการบริการสาธารณะ จำต้องดำเนินต่อไปด้วยเป้าหมายสูงสุดของการบริการสาธารณะ คือ ความผาสุก ของประชาชนอันเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงภายใต้สังคมที่มีพลวัตรอยู่เสมอ ดังนั้น วิชา รัฐประศาสนศาสตร์จึงจ าเป็นต้องเคลื่อนตัวตามไปด้วยเพื่อรองรับและสร้างกรอบแนวคิด ผ่านความคิดเห็นจนเป็นความคิด แนวคิด และทฤษฏีทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเป็น แรงขับเคลื่อนการบริหารและการบริการสาธารณะที่ดียิ่งขึ้นต่อไป ดังนั้น ในเบื้องต้นจึงกล่าวถึงประเด็นดังกล่าวด้วยการตรวจสอบองค์ความรู้ เรื่องพัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์ ผ่านการนำเสนอในสามประเด็นหลักที่ยังคง ความสงสัยแก่ผู้เริ่มต้นศึกษา คือ
1. เหตุใดจำต้องศึกษาพัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์ โดยใช้คำว่าพาราไดม์ ผ่านหัวเรื่องการศึกษาพัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์โดยใช้ แนวคิดหรือ กระบวนทัศน์
2. หากไม่ใช้แนวคิดเรื่องพาราไดม์สามารถ ใช้แนวคิดอื่นใดในการอธิบายพัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์ ผ่านหัวเรื่องแนวทาง การศึกษาพัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์
3. แนวทางการศึกษาพัฒนาการของ รัฐประศาสนศาสตร์ในปัจจุบันเป็นเช่นไรผ่านหัวเรื่องแนวทางการศึกษาพัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์ในปัจจุบัน
ส.ท.อภิสิทธิ์. ฟองงาม
64423471249
Assignment ที่ 3.อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
ตอบ การเมือง (Politics) หมายถึงการใช้อำนาจและการจัดสรรผลประโยชน์
การบริหาร คือการทำงานของคณะบุคคล ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปที่ร่วมกันปฏิบัติการเพื่อบรรลุเป้าหมายร่วมกัน และการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้การบริหารและการเมืองเป็นเรื่องที่ซับซ้อนและมีหลายแง่มุม ซึ่งอาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับระบบการเมืองและวัฒนธรรมของประเทศใดประเทศหนึ่ง อย่างไรก็ตาม โดยทั่วไปแล้ว การบริหารหมายถึงการดำเนินนโยบายและการตัดสินใจของรัฐบาล ในขณะที่การเมืองกำหนดนโยบายและการตัดสินใจ
ในประเทศประชาธิปไตย การเมืองมีลักษณะเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจ -สร้างกระบวนการผ่านการเลือกตั้งและรูปแบบอื่นๆ ของการมีส่วนร่วมของประชาชน ในทางกลับกัน ฝ่ายบริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินนโยบายและการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการเลือกตั้งการเมือง การบริหาร และ การกำหนดนโยบายสาธารณะ : แนวคิดที่ว่าด้วยการเมืองและการบริหารที่
ไม่สามารถแยกออกจากกันในสังคมไทย ในบริบทของสังคมไทย การอธิบายและวิเคราะห์การแสดงบทบาทของฝ่ายการเมืองและฝ่าย
บริหารในการกำหนดนโยบาย ในบริบทสังคมไทยอาจกล่าวได้ว่า นับต้้งแต่ พ.ศ.2475 เป็นต้นมา
การเมืองกับการบริหารไม่อาจแยกออกจากกันได้มีความคล้ายคลึง และความแตกต่างจากบริบทของ
สังคมตะวันตก โดยลักษณะการเมืองกับการบริหารไม่อาจแยกออกจากกันได้ในสังคมไทยมี 2 ลักษณะ
กล่าวคือลักษณะที่ 1 การบริหารกับการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกันได้อย่างเด็ดขาด เพราะฝ่ายข้าราชการประจำเข้าไปเกี่ยวข้องกับกิจกรรมการกำหนดนโยบายของฝ่ายการเมืองที่มาจากการเลือกตั้ง
ลักษณะดังกล่าว คล้ายกับแนวคิดการบริหารกับการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกันในสังคมตะวันตก
เนื่องจาก แม้หน้าที่หลักในการกำหนดนโยบายสาธารณะจะเป็นของฝ่ายการเมือง และฝ่ายข้าราชการ
ประจำมีหน้าที่ในการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติให้บรรลุผลสำ เร็จ แต่ในความเป็นจริงทั้งสองฝ่าย
ต่างก็ต้องทำงานร่วมกันและพึ่งพากัน เพื่อใหก้ารกา หนดนโยบายและการนำนโยบายไปปฏิบัติให้บรรลุผล
สำเร็จ ข้าราชการประจำ บางคร้ังก็มักเข้าไปก้าวก่ายงานของฝ่ายการเมือง โดยการเสนอข้อมูล
ข้อเสนอแนะ หรือ ริเริ่มนโยบายใหม่แก่ฝ่ายการเมือง โดยเฉพาะนโยบายด้านเทคนิค ซึ่งข้าราชการ
ประจำ มีความรู้ความเชี่ยวชาญมากกว่า ฝ่ายการเมือง ดังจะเห็นได้จากการนำเสนอข้อมูลประกอบการ
กำ หนดนโยบายของฝ่ายการเมือง การนำ เสนอแนวทางการนำไปปฏิบัติ หรือ ร่างกฎหมายและ
กฎระเบียบของแต่ละกระทรวง ทบวง กรม เป็นต้น หรือการมีส่วนเกี่ยวข้องในการกำหนดนโยบายสาธารณะโดยการตีความเพื่อสร้างความชัดเจนหรือกำหนดรายละเอียดในการนำ นโยบายไปปฏิบัติโดย
ทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการประจำจะอยู่บนพื้นฐานของอำนาจหน้าที่ (authority) และฝ่าย
ข้าราชการประจำจะต้องอยู่ภายใต้การควบคุมบังคับบัญชาของฝ่ายการเมือง
ลักษณะที่ 2 ในบริบทของการเมืองและสังคมไทย ฝ่ายข้าราชการประจำโดยเฉพาะทหารและตำรวจมีอำนาจมาก (power/force) โดยเฉพาะอำนาจอาวุธยุทโธปกรณ์และกำลังพล และใช้อำนาจดังกล่าวในการเข้าสู่สถานะเป็นตัวแสดง (actor) ในฝ่ายการเมืองโดยการปฏิวัติรัฐประหาร และมีการพึ่งฝ่ายข้าราชการประจำ ในสายพลเรือนในกิจกรรมการกำหนดนโยบายของฝ่ายการเมืองที่มาจากการปฏิวัติรัฐประหารในฐานะที่เป็นคลังสมอง (think-tank) ของรัฐบาลทหาร ดังจะเห็นได้จากการศึกษาของรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์(2546) ที่พบว่าการกำหนดนโยบายสาธารณะทางเศรษฐกิจในช่วง พ.ศ.2475-2530 อยู่ภายใต้ฝ่ายข้าราชการประจำ ซึ่งเป็นเทคโนแครท อาทิข้าราชการประจำในกระทรวงการคลัง ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็นต้น หรือการศึกษาของทักษ์เฉลิมเตียรณ (2548) ที่พบว่าในสมัยรัฐบาลจอมพล สฤษดิ์ธนะรัชต์ฝ่ายข้าราชการประจำได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากในการกำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจ สังคม และการต่างประเทศ
จ.ส.ต.ธีรวัฒน์ หอมดี 64423471045
Assignment ที่ 1.
สหวิทยาการก็คือ รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นการสอนที่มีความรู้จากหลายสาขาวิชา เช่น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา จิตวิทยา เป็นต้น รวมวิชาความรู้ หรือวิทยาการเหล่านั้นประกอบเข้ากันเป็นสหวิทยาการ จัดเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ เพื่อนาความรู้ไปใช้ปรับปรุง โดยที่รัฐประศาสนศาสตร์ไม่มีฐานะเป็นศาสตร์ หรือเป็น จุดเล็กๆ ที่น่าสนใจในการศึกษา ถ้าต่อกันจะเป็นศาสตร์ที่สมบูรณ์ เนื้อหากว้างขวางซับซ้อน จึงไม่ สามารถใช้ศาสตร์เดียวศึกษาได้
Assignment ที่ 2.
นโยบายสาธารณะมีความสำคัญต่อสังคมและประเทศชาติเป็นอย่างมาก เพราะส่งผลต่อชีวิตความ เป็นอยู่ของคนทั้งประเทศ โดยรัฐบาลต้องออกนโยบายและนำไปปฏิบัติเพื่อช่วยแก้ไขปัญหา หรือ ทำให้ประชาชนที่ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดียิ่งขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน ส่วนประชาชนเมื่อ เห็นว่านโยบายของรัฐบาลมีประโยชน์และตอบสนองต่อความต้องการในการใช้ชีวิต ก็จะให้การ สนับสนุนรัฐบาลมากขึ้น หรืออาจะสรุปได้ว่า นโยบายสาธารณะเป็นสิ่งที่เอื้ออำนวยผลประโยชน์และแสดง ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ต่อทั้งประชาชนและรัฐบาล โดยนโยบายสาธารณะแบ่งออกเป็นหลายประเภทด้วยกัน ซึ่งแต่ละประเภท ก็จะแตกต่างกันออกไป ตามความเหมาะสม ส่วนการนำไปใช้บริหารประเทศนั้นก็ขึ้นอยู่ กับรัฐบาลแต่ละชุดว่าจะกำหนดและปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะแบบไหน เพื่อตอบสนองความต้องการของ ประชาชนมากที่สุด ดังนั้นนโยบายสาธารณะจึงเป็นแนวทางปฏิบัติของรัฐบาลที่มุ่งเน้นสร้างผลประโยชน์ให้ กับประชาชนเป็นหลัก เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในประเทศของเรา
Assignment ที่ 3.
มี 2 ลักษณะ ดังนี้
ลักษณะที่ 1 การบริหารกับการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกันได้อย่างเด็ดขาด เพราะ ฝ่ายข้าราชการประจำเข้าไปเกี่ยวข้องกับกิจกรรมการกำหนด นโยบายของฝ่ายการเมืองที่มาจากการเลือกตั้งลักษณะดังกล่าว คล้ายกับ แนวคิดการบริหารกับการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกันในสังคมตะวันตกเนื่องจาก แม้หน้าที่หลักในการกำหนดน โยบายสาธารณะจะเป็นของฝ่ายการเมือง และฝ่ายข้าราชการประจำมีหน้าที่ในการนำน โยบาสาธารณะไปปฏิบัติให้บรรลุผลสำเร็จ แต่ในความเป็นจริงทั้งสองฝ่ายต่างก็ต้องทำงานร่วมกันและพึ่งพากันเพื่อให้การกำหนด นโยบายและการนำ นโยบายไปปฏิบัติให้สำเร็จ
ลักษณะที่ 2 ถ้าจะให้อธิบายสั้นๆ ง่ายๆก็คือ รัฐประหาร การเมืองและสังคมไทย ฝ่ายข้าราชการประจำโดยเฉพาะทหารและ ตำรวจมีอำนาจมาก โดยเฉพาะอำนาจอาวุธยุทโธปกรณ์และกำลังพล และใช้อำนาจ ดังกล่าวในการเข้าสู่สถานะเป็นตัวแสดง ในฝ่ายการเมืองโดยการปฏิวัติรัฐประหาร และมีการพึ่ง ฝ่ายข้าราชการประจำในสายพลเรือนในกิจกรรมการกำหนดน โยบายของฝ่ายการเมืองที่มาจากการปฏิวัติรัฐประหารในฐานะที่เป็นคลังสมอง ของรัฐบาลทหาร อย่างเช่นลุงตู่
ส.อ.ปัณณฑัต วงษ์เวช 64423471040
Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการในภาครัฐโดยบูรณา การความรู้จากหลายๆ ศาสตร์มาใช้ในการบริหารจัดการทั้งรัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ศิลปะศาสตร์ และสังคม ศาสตร์อื่นๆ จึงอาจเรียกได้ว่าเป็นสหศาสตร์วิทยาการสังคมศาสตร์หรือสังคมศาสตร์ประยุกต์แต่อย่างไรก็ตามรัฐประศาสนศาสตร์ก็เป็นเพียงสาขาหนึ่งในคณะรัฐศาสตร์ ซึ่งจะมีความสมบูรณ์ครอบคลุมในการศึกษา
ในขณะที่ McCurdy เห็นว่า จากพัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์สามารถอธิบายได้ว่าพื้นฐานแนวคิดหลักในการศึกษาประกอบไปด้วย 4 สำนักด้วยกัน คือ
1. สำนักที่สนใจศึกษาแบบดั้งเดิม กล่าวคือ สนใจศึกษาสังคมวิทยา จิตวิทยา โดยเน้นและปรับใช้ในเรื่องของความสัมพันธ์ของมนุษย์ และสนใจในรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์โดยนำมาใช้ในการปฏิรูประบบ
2. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงพฤติกรรม โดยนำมาใช้ศึกษาถึงระบบราชการทฤษฎีองค์การ การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ และการพัฒนาองค์การ
3. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงเหตุผลนิยม โดยนำวิชาเศรษฐศาสตร์และการบริหารธุรกิจมาใช้ศึกษาในเรื่องของการวิเคราะห์นโยบาย และการจัดการ
4. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงการเมือง โดยสนใจในเรื่องการเมืองและกฎหมายโดยศึกษาในการนำนโยบายไปปฏิบัติ การบริหารงานบุคคลในระบบราชการ การจัดทำงบประมาณ และการบริหารงานในท้องถิ่น
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
นโยบายสาธารณะ หมายถึง แนวทางกิจกรรม การกระทำหรือ การเลือก ตัดสินใจ หรือกฎหมาย ของรัฐซึ่งได้ตัดสินใจและกำหนดไว้เพื่อชี้นำให้กระทำตามอันนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายด้วยการวางแผน การจัดทำโครงการ วิธีการบริหาร กระบวนการ ดำเนินงานการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงและความต้องการของประชาชนการบริหารภาครัฐคือ การกำหนด และการดำเนินยุทธศาสตร์ และนโยบายสาธารณะ เพื่อประโยชน์สาธารณะ
สรุป นโยบายสาธารณะ คือ นโยบายที่รัฐเป็นผู้ดำเนินการเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน ช่วยแก้ไขปัญหาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น เป็นสิ่งที่เอื้ออำนวยผลประโยชน์และแสดงให้เห็นถึง ความสัมพันธ์ต่อทั้งประชาชนและรัฐบาล ส่วนการนำไปใช้บริหารประเทศนั้นก็ขึ้นอยู่กับ รัฐบาลแต่ละชุดว่าจะกำหนดและปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะแบบไหน เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนมากที่สุด ดังนั้นนโยบายสาธารณะจึงเป็นแนวทางปฏิบัติของรัฐบาลที่มุ่งเน้นสร้างผลประโยชน์ให้กับประชาชนเป็นหลัก เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน และพัฒนาชีวิตประชาชนให้ดียิ่งขึ้น
Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
การเมือง เป็นเรื่องของการกาหนดนโยบาย และเป้าหมายของรัฐซึ่งเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเชิงคุณค่า (Value Judgement) โดยตรงตัดสินใจว่าควรดำเนินนโยบายเช่นนี้เท่ากับเป็นการยอมรับว่านโยบายนั้นดีกว่าทางเลือกด้านอื่นๆ นักการเมืองสามารถอ้างความชอบธรรมใน การเลือกและกาหนดคุณค่าได้ ก็เพราะการที่ได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน และเป็นผู้กลั่นกรองและสะท้อนเจตนารมณ์และความต้องการของประชาชน
การบริหาร เป็นเรื่องของการปฏิบัติตามนโยบายเพื่อทำให้บรรลุถึงเป้าหมาย หรือคุณ ค่าที่นักการเมืองได้กาหนดไว้ ดังนั้น การเมืองกบการบริหารจึงเกี่ยวพันกันอย่างมาก
ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับการบริหาร จึงเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมาย (Ends)กับวิธีการ (Means) กล่าวคือ การเมืองเกี่ยวข้องกบการใช้อำนาจรัฐเพื่อการแบ่งสรรที่มี คุณค่าอยู่ในสังคม ในการแบ่งทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดแต่ ความต้องการของประชาชนในสังคมมีอยู่อย่างไม่จำกด ผู้ใช้อำนาจรัฐจะต้องกำหนดเป้าหมายของรัฐ และใช้เป้าหมายนี้เเป็น หลักเกณฑ์ในการดำเนินนโยบายด้านต่างๆ เพื่อการแบ่งสรรปันส่วนคุณค่าดังกล่าว การบริหาร จึงเป็นวิธีการในทางปฏิบัติที่ช่วยเอื้ออำนวยให้มีการกระทำตามเป้าหมายที่ฝ่ายการเมืองกาหนดขึ้นไว้
1110 ส.อ.พันกธกานต์ มณีกุล
ข้อ1. ความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์

รัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะเฉพาะที่สำคัญ คือ การเป็นสหวิทยาการ ซึ่งประกอบไปด้วยศาสตร์ต่าง ๆ ใช้ร่วมในการศึกษา ตลอดจนอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในทางรัฐประศาสนศาสตร์ โดยในทัศนะของ Chandler (1989, pp. 639-641) เห็นว่า ควรประกอบไปด้วย วิชารัฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาวิทยาการจัดการ วิชาการบริหารธุรกิจวิชาสังคมวิทยา วิชาจิตวิทยา วิชามนุษยศาสตร์ และวิชานิติศาสตร์ ซึ่งจะมีความสมบูรณ์ครอบคลุมในการศึกษา

ข้อ2. ความสัมพันธ์ของระบบการเมือง ระบบการบริหาร และนโยบายสาธารณะ
การเมือง การบริหาร และนโยบายสาธารณะ มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะการบริหารและการเมือง ระบบการเมืองจะเป็นระบบใหญ่ที่ครอบคลุมระบบบริหารแต่ในทางปฏิบัติอาจไม่ชัดเจน บางช่วงเวลาการเมืองต้องอาศัยนักบริหารซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านระบบการเมือง (political system)ในปัจจุบัน นักวิชาการ ส่วนใหญ่มักนิยมใช้ทฤษฎีระบบมาอธิบายการเมือง David Easton ได้นำเสนอการวิเคราะห์ของระบบการเมือง
ข้อ3. การบริหารกับการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกันได้อย่างเด็ดขาดเพราะฝ่าย ข้าราชการประจำเข้า ไปเกี่ยวข้องกับ กิจกรรมการกำหนดนโยบายของฝ่ายการเมืองที่มาจากการเลือกตั้ง ลักษณะดังกล่าวคล้ายกับแนวคิดการบริหารกับการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกันในสังคมตะวันตก เนื่องจากแม้หน้าที่หลักในการกำหนดนโยบายสาธารณะจะเป็นของฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการ ประจำมีหน้า ที่ในการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติให้บรรลุผลสำเร็จ แต่ในความเป็นจริงทั้งสองฝ่าย ต่างก็ต้องทำงานร่วมกัน และพึ่งพากัน เพื่อให้การกำหนดนโยบายและการนำนโยบายไปปฏิบัติบรรลุผล สำเร็จ
ส.อ.หญิงนัชชา ชูวงศวุฒิ 64423471209
Assignment ที่ 1.อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
ตอบ รัฐประศาสนศาสตร์ มีเอกลักษณ์เพราะมีความแตกต่างจากวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในแง่ที่ว่าให้ความสนใจในการศึกษาถึงโครงสร้างและพฤติกรรมของระบบราชการ รวมทั้งเป็นศาสตร์ที่มีระเบียบวิธีการศึกษาเป็นของตนเองวิชารัฐประศาสนศาสตร์มีความแตกต่างจากศาสตร์การบริหารในแง่ที่ว่าเป็นวิชาที่ศึกษาเรื่องขององค์การของรัฐที่ไม่ได้มุ่งแสวงหากาไรเหมือนองค์การธุรกิจเอกชนและเป็นวิชาที่สนับสนุนให้องค์การของรัฐมีโครงสร้างกลไกการตัดสินใจและพฤติกรรมของข้าราชการที่เกื้อหนุนต่อการให้บริการสาธารณะ รัฐประศาสนศาสตร์ หมายถึง กระบวนการองค์การและบุคคลที่ดํารงตําแหน่งทางชการทั้งหลายและมีส่วนเกี่ยวข้องกับการกำหนดและนําเอากฎหมาย ระเบียบ แบบแผนต่างๆ ที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการออกไปปฏิบัติ
พัฒนาการของแนวความคิดรัฐประศาสนศาสตรหรือการบริหารสาธารณะและการเปลี่ยนแปลงของยุค
สมัยในการบริหารสาธารณะ นำไปสูการพัฒนาของศาสตร์ทางการบริหารและนำไปสูการเปลี่ยนแปลงทางการบริหารในหลายประเทศการพัฒนาแนวความคิดและการเปลี่ยนแปลง
1.แนวความคิดรัฐประศาสนศาสตร์หรือการบริหารสาธารณะในอดีต (Historical Paradigms)
2. การเปลี่ยนแปลงของรัฐประศาสนศาสตร(Era of Change
3. การลดขนาดของระบบราชการ (Reducing the Bureaucracy)
ส.อ.หญิงนัชชา ชูวงศ์วุฒิ 64423471209
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
ตอบ การเมือง การบริหาร และการกำหนดนโยบายสาธารณะ : แนวคิดที่ว่าด้วยการเมืองและการ
บริหารที่ไม่สามารถแยกออกจากกันในสังคมตะวันตกในการนำเสนอแนวคิดที่ว่าด้วยการบริหารกบัการเมืองและฝ่ายการเมืองกบัฝ่ายราชการประจำต่างมีความสัมพนัธ์กนัอยา่ งใกลช้ิดและไม่สามารถแยกออกจากกนัได้ (no politics - administration dichotomy) แนวคิดนี้อยู่บนฐานคติที่ว่าการบริหารมิใช่เรื่องของกิจกรรมทางเทคนิคและปลอดจากค่านิยมซ่ึงแยกต่างหากจากการเมืองแต่ฝ่ายบริหารได้เข้าไปเกี่ยวข้องกับการเมืองโดย เฉพาะอย่างยิ่งการกำหนดนโยบายสาธารณะตลอดเวลา หรืออีกนัยหนึ่งการบริหารก็คือการเมืองนั่นเอง ทฤษฎีที่พัฒนาข้ึนจากฐานคติการเมืองการบริหารไม่อาจแยกกันได้มีหลายแนวคิด
1. การทำหน้าที่ในการเสนอข้อมูลข่าวสาร หรือ ความเห็นเกี่ยวกบั ทางเลือกนโยบายแก่ฝ่าย
การเมือง เพราะการตดัสินใจในเรื่องนโยบายสาธารณะควรจะต้องอยู่บนพ้ืนฐานของเหตุผลข้อเท็จจริง
สภาพความเป็นจริงให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ด้วยยเหตุดังกล่าว ฝ่ายบริหารซ่ึงเป็นผู้ปฏิบัติงานมี
ความรู้และประสบการณ์ จึงทำหน้าที่ในการใหก้ารสนับสนุนดา้นข้อมูลข่าวสาร และการแสดงทศันะ
ขอ้คิดเห็นเกี่ยวกับทางเลือกนโยบายแก่ฝ่ายการเมือง โดยฝ่ายการเมืองจะเป็นผู้ทำหน้าที่ในการเลือกกำหนดนโยบาย
2. ในกรณีที่ฝ่ายการเมืองไม่มีนโยบายที่ชดัเจน หรือ นโยบายที่กวา้งตอ้งมีการตีความใน
รายละเอียดในการนา ไปปฏิบตัิ ฝ่ายบริหารจะตอ้งเขา้มีมีบทบาทในการกา หนดนโยบายเพื่อแสวงหา
แนวปฏิบตัิดว้ยตนเอง หรือเป็นการกา หนดนโยบายในระดบัการปฏิบัติ (street-level bureaucrat)
การเมือง การบริหาร และ การกำหนดนโยบายสาธารณะ : แนวคิดที่ว่าด้วยการเมืองและการบริหารที่
ไม่สามารถแยกออกจากกันในสังคมไทยในบริบทของสังคมไทย การอธิบายและวิเคราะห์การแสดงบทบาทของฝ่ายการเมืองและฝ่ายบริหารในการกำหนดนโยบาย ในบริบทสังคมไทยอาจกล่าวได้ว่า นับตั้งแต่พ.ศ.2475 เป็นต้นมาการเมืองกบัการบริหารไม่อาจแยกออกจากกนั ไดม้ีความคลา้ยคลึง และความแตกต่างจากบริบทของสังคมตะวันตก โดยลักษณะการเมืองกบัการบริหารไม่อาจแยกออกจากกนัไดในสังคมไทยมี 2 ลักษณะ
ลักษณะที่ 1 การบริหารกบัการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกนัไดอ้ยา่งเด็ดขาด เพราะฝ่ายข้าราชการประจำเขา้ไปเกี่ยวข้องกับกิจกรรมการกำหนดนโยบายของฝ่ายการเมืองที่มาจากการเลือกตั้ง ลักษณะดังกล่าว คล้ายกับแนวคิดการบริหารกบัการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกันในสังคมตะวันตก เนื่องจากแม้หน้าที่หลักในการกำหนดนโยบายสาธารณะจะเป็นของฝ่ายการเมืองและฝ่ายขา้ราชการประจำมีหนา้ที่ในการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติให้บรลุผลสำเร็จ
ลักษณะที่ 2 ในบริบทของการเมืองและสังคมไทย ฝ่ายข้าราชการประจำโดยเฉพาะทหารและตำรวจมีอำนาจมาก (power/force) โดยเฉพาะอำนาจอาวุธยุทโธปกรณ์และกำลังพล และใช้อำนาจดังกล่าวในการเข้าสู่สถานะเป็นตวัแสดง (actor) ในฝ่ ายการเมืองโดยการปฏิวัติรัฐประหาร และมีการพึ่ง
ฝ่ายขา้ราชการประจำในสายพลเรือนในกิจกรรมการกำหนดนโยบายของฝ่ายการเมืองที่มาจากการ
ส.อ.หญิงนัชชา ชูวงศ์วุฒิ 64423471209
Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
ตอบ การเมือง เป็ นเรื่องของการกาหนดนโยบาย และเป้ าหมายของรัฐ ซึ่ งเก ี่ยวข้องกบการ ั
ตัดสินใจเชิงคุณค่า (Value Judgement) โดยตรง ตัดสินใจว่าควรด าเนินนโยบายเช่นนี้เท่ากบเป็ น ั
การยอมรับว่านโยบายนั้นดีกว่าทางเลือกด้านอื่นๆ นักการเมืองสามารถอ้างความชอบธรรมใน
การเลือกและกาหนดคุณค ่าได้ ก็เพราะการที่ได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน และเป็ นผู้
กลันกรองและสะท้อนเจตนารมณ์และความต้องการของประชาชน การบริหารเป็นเรื่องของการปฏิบัติตามนโยบายเพื่อทำให้บรรลุถึงเป้าหมายหรือคุณค่าที่นักการเมืองได้กาหนดไว้ ดังนั ้น การเมืองกบการบริหารจึงเกี่ยวพันกนอย่างมาก ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกบการบริหาร จึงเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมาย (Ends)กับวิธีการ (Means) กล่าวคือ การเมืองเกี่ยวข้องกบการใช้อำนาจรัฐเพื่อการแบ่งสรรที่มี
คุณค่าอยู่ในสังคม ในการแบ่งทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดแต่ความต้องการของประชาชนในสังคมมีอยู่อย่างไม่จากด ผู้ใช้อ านาจรัฐจะต้องกำหนดเป้ าหมายของรัฐ และใช้เป้าหมายนี้เป็นหลักเกณฑ์ในการดำเนินนโยบายด้านต่างๆ เพื่อการแบ่งสรรปันส่วนคุณค่าดังกล่าว การบริหารจึงเป็นวิธีการในทางปฏิบัติที่ช่วยเอื้ออำนวยให้มีการกระทำตามเป้าหมายที่ฝ่ายการเมืองกำหนดขึ้นไว้
ส.อ.ฐนภัทร แข่งขัน
รหัส64423471022

Assignment ที่  1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
ตอบ ขอกล่าวจากความหมาย
การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ สามารถพิจารณาได้เป็น 2 นัย คือ นัยแรกคือ Public Administration หมายถึง กิจกรรมและกระบวนการบริหารรัฐกิจ เป็นการบริหารงาน สาธารณะ ซึ่งอาจครอบคลุมทั้งการบริหารราชการและรัฐวิสาหกิจ นัยที่สองคือ Public Administration หมายถึง สาขาวิชาการบริหาร หรือที่รู้จักกันทั่วไปคือ รัฐประศาสนศาสตร์ คำว่า การบริหารรัฐกิจ ซึ่งภาษาอังกฤษเขียนว่า public administration โดยการใช้อักษรตัวเล็ก ธรรมดาให้มีความหมายถึงกิจกรรม หรือ กระบวนการบริหารราชการและรัฐวิสาหกิจ คำว่ารัฐ ประศาสนศาสตร์ ซึ่งภาษาอังกฤษเขียนว่า Public Administration โดยการใช้อักษรตัวใหญ่ นํา ทําให้มีความหมายถึง ศาสตร์หรือสาขาความรู้การบริหาร

การพัฒนา หมายถึง กระบวนการของการเปลี่ยนแปลง
ที่มีการวางแผนไว้แล้ว คือการทำให้ลักษณะเดิมเปลี่ยนไป
โดยมุ่งหมายว่า ลักษณะใหม่ที่เข้ามาแทนที่นั้นจะดีกว่าลักษณะเก่า

ดังนั้นจัดได้ว่า รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่มีการพัฒนาแนวคิดเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการในภาครัฐโดยบูรณาการความรู้ จากหลายๆ ศาสตร์มาใช้ในการบริหารจัดการทั้งรัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์ และ สังคมศาสตร์อื่นๆ จึงอาจเรียกได้ว่าเป็นสหวิทยาการสังคมศาสตร์ หรือสังคมศาสตร์ประยุกต์

Assignment ที่  2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
ตอบ นโยบายสาธารณะ หมายถึง แนวทางกิจกรรม การกระทำ หรือการเลือกตัดสินใจของรัฐบาล ซึ่งรัฐบาลได้ทำการตัดสินใจและกำหนดไว้ล่วงหน้า เพื่อชี้นำให้มีกิจกรรมหรือการกระทำต่าง ๆ เกิดขึ้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ โดยมีการวางแผน การจัดทำโครงการ วิธีการบริหารหรือกระบวนการดำเนินงาน ให้บรรลุวัตถุประสงค์ แต่ในการนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์จะต้องมีการบริหารตามแนวความคิดการเมืองไม่สามารถแยกออกจากการบริหาร
การก้าวก่าย  แทรกแซง  หรือช่วยเหลือ ระหว่างฝ่ายการเมือง และ    ฝ่ายบริหารในการกำหนด และ
นำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ
ดังนี้
การเมือง—กำหนดนโยบายและก้าวก่ายฝ่ายบริหาร
ในการนำนโยบายไปปฏิบัตินโยบายสาธารณะ
การบริหาร—ไม่เพียงแต่รับนโยบายไปปฏิบัติ แต่ยัง
(Administration) แทรกแซงฝ่ายการเมืองในการกำหนดนโยบายนโยบายสาธารณะ

Assignment ที่ 3.  อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
ตอบ จากที่กล่าวมาจากข้อ2 การเมืองไม่สามารถแยกออกจากการบริหารการก้าวก่าย  แทรกแซง  หรือช่วยเหลือ ระหว่างฝ่ายการเมือง และ    ฝ่ายบริหารในการกำหนด และ
นำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ

จากการจัดระเบียบการปกครองจะมีนายกรัฐมนตรี
รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกระทรวงต่างๆรวมไปถึงข้าราชการต่างๆดังนั้นจึงต้องมีการบริหาร ควบคู่ไปกับการเมือง
ดังนั้นลักษณะของการบริหารสัมพันธ์กับการเมืองมีทั้งหมด2 รูปแบบในประเทศไทย

การเมืองและการบริหารระดับประเทศ
กฎหมายกำหนดความสัมพันธ์ ได้แก่ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545 ได้กำหนดกระทรวงและ ส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกระทรวงทั้งสิ้น 20 กระทรวง

การเมืองและการบริหาร ระดับท้องถิ่น
ความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายการเมืองและฝ่ายบริหาร เป็นไปตามกฎหมายที่กำหนดรูปแบบ การปกครองท้องถิ่นแต่ละฉบับได้แก่ •พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัดพ.ศ.2540 •พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลพ.ศ. 2537 •พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 •พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ.2542
ส.อ.ศุภกาญจ์ ใบเกตุ 64423471175
Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
ตอบ รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) หมายความถึงการ ศึกษาหาความรู้ในทุกเรื่องที่จำเป็นต้องใช้ในการบริหารงานภาครัฐ และ รัฐประศาสนศาสตร์ยังมีความเป็น “ สหสาขาวิชา (Interdisciplinary) ” กล่าวคือ รัฐประศาสนศาสตร์ต้องอาศัยความรู้จากหลายสาขาวิชา เช่น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา กฎหมาย และในบางกรณีอาจรวม ถึงความรู้ด้านที่เป็นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดังนั้นรัฐประศาสนศาสตร์ จึงเป็นเรื่องเกี่ยวกับ “ กิจการสาธารณะ (Public Affairs) ” ที่มุ่งศึกษาว่าจะมีวิธีดำเนินกิจกรรมที่ทำร่วมกันในสังคมอย่างไรให้เกิดประโยชน์สูงสุดตามวัตถุประสงค์ที่ปัจเจกบุคคลแต่ละคนต้องการ การศึกษาที่มีความหลากหลายและเกิดเป็นพัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์จนเป็นศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับและเป็นที่นิยมทั่วไป ทำให้มีนักวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ทำการศึกษาพัฒนาการของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ โดยมีการจำแนกลำดับการพัฒนาของสาขาวิชานี้อย่างกว้างขวางและมีความหลากหลายขึ้นอยู่กับว่านักวิชาการใดจะให้ความสำคัญในมิติใด และยังมีมีแนวทางการศึกษาพัฒนาการของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ที่มีการเรียกอีกชื่อหนึ่ง คือ พัฒนาการของวิชารัฐประศาสนศาสตร์เชิงกระบวนทัศน์ โดยถือเป็นเนื้อหาที่นิยมกันในการเรียนการสอนทางรัฐประศาสนศาสตร์
ส.อ.ศุภกาญจ์ ใบเกตุ 64423471175
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
ตอบ
คุณลักษณะร่วมของแนวคิดทฤษฎีที่มีฐานคติที่ว่าการเมืองและการบริหารที่ไม่สามารถยกออกจากกันได้ว่าภายใต้ระบอบประชาธิปไตย แม้ว่าการเมืองซึ่งเป็นเรื่องของการกำหนดนโยบายและเป้าหมายของรัฐ ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับคุณค่า ค่านิยม สิ่งที่ดีงาม เป็นประโยชน์ต่อสังคม การแบ่งสรรทรัพยากรอันมีคุณค่า อันมีลักษณะที่เป็นนามธรรมเป็นอัตวิสัย จะเป็นหน้าที่หลักของฝ่ายการเมืองเนื่องจากเป็นฝ่ายที่มีความชอบ
ธรรมเพราะมาจากการเลือกตั้งของประชาชนในการทำหน้าที่เป็นตัวแทนที่สะท้อนความต้องการของ
ประชาชนในการบริหารประเทศ หรืออีกนัยหนึ่ง ฝ่ายการเมืองทำหน้าที่ในการกำหนดเป้าหมายทิศทางของการบริหารประเทศ แต่ในทางปฏิบัติ ฝ้ายบริหารหรือฝ่ายข้าราชการประจำซึ่งมาจากการสอบคัดเลือกเข้าสู่
ตำแหน่งและมีหน้าที่หลักในการนำนโยบายที่ฝ่ายการเมืองกำหนดไปปฏิบัติให้สำเร็จ หรืออีกนัยหนึ่งฝ่าย
บริหารทำหน้าที่ในการกำหนดวิธีการในการนำไปปฏิบัติ จะต้องเข้ามาเกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบาย
ในทางใดทางหนึ่ง กล่าวคือ
1. การทำหน้าที่ในการเสนอข้อมูลข่าวสาร หรือความเห็นเกี่ยวกับทางเลือกนโยบายแก่ฝ่ายการเมือง
เพราะการตัดสินใจในเรื่องนโยบายสาธารณะควรจะต้องอยู่บนพื้นฐานของเหตุผลข้อเท็จจริง สภาพความ
เป็นจริงให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ด้วยเหตุดังกล่าว ฝ่ายบริหารซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานมีความรู้และประสบการณ์ จึงทำหน้าที่ในการให้การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร และการแสดงทัศนะข้อคิดเห็นเกี่ยวกับทางเลือกนโยบายแก่ฝ่ายการเมือง โดยฝ่ายการเมืองจะเป็นผู้ทำหน้าที่ในการเลือกและกำหนดนโยบาย
2. ในกรณีที่ฝ่ายการเมืองไม่มีนโยบายที่ชัดเจนหรือนโยบายกว้างๆ ต้องมีการตีความในรายละเอียดใน
การนำไปปฏิบัติ ฝ่ายบริหารจะต้องเข้าไปมีบทบาทในการกำหนดนโยบายเพื่อแสวงหาแนวปฏิบัติด้วยตนเองหรือ เป็นการกำหนดนโยบายในระดับการปฏิบัติ(street-level bureaucrat)
ส.อ.ศุภกาญจ์ ใบเกตุ 64423471175
Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
ตอบ ในการปกครองบริหารประเทศ ต้องอาศัยบุคลากร 2ฝ่าย คือ
1. ฝ่ายการเมือง ข้าราชการการเมือง นักการเมืองที่ได้รับการเลือกตั้งจากประชาชน หรือได้รับการแต่งตั้งจากผู้มีอำนาจทางการเมืองให้ทำหน้าที่รับผิดชอบกิจการทางด้านการเมือง บทบาทหลักของฝ่ายการเมืองคือ การออกกฎหมายและ กำหนดนโยบายที่จะนำมาใช้เป็นกรอบทิศทางของการบริหารประเทศ
2. ฝ่ายบริหารงานประจำข้าราชการประจำ บุคคลที่ได้รับการบรรจุแต่งตั้งตามกฎหมาย และระบบคุณธรรมพ.ร.บ. ระเบียบราชการพลเมือง ทหารตำรวจ ตุลาการฯลฯและได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนในกระทรวง ทบวง กรม ต่างๆ ได้แก่ ข้าราชการประจำ ตั้งแต่ระดับปลัดกระทรวง อธิบดี ลงมา และผู้ที่เป็นพนักงานในองค์การของรัฐประเภทอื่นๆ บทบาทอำนาจหน้าที่หลักคือ เป็นผู้รับนโยบายที่ฝ่ายการเมืองกำหนดไว้และมอบหมายให้ออกไปปฏิบัติจัดทำให้บรรลุผลตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์
อย่างสูงสุด ฝ่ายบริหารงานประจำ(ข้าราชการประจำ)ต้องเป็นผู้นำนโยบายไปปฏิบัติโดยอาศัย อำนาจที่มีอยู่ตามกฎหมาย ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับต่างๆ และกำหนดแนวทางการทำงานให้เกิดความสำเร็จสูงสุด
ดังนั้นการบริหารกับการเมืองต้องควบคู่กันไปเพื่อให้ทั้ง 2ฝ่าย สามารถร่วมมือกันในการปกครองบริหารประเทศ เพื่อผลประโยชน์สาธารณะ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุด
Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
การเมือง เป็นเรื่องของการกำหนดนโยบาย และเป้าหมายของรัฐ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเชิงคุณค่า (Value Judgement) โดยตรง ตัดสินใจว่าควรดำเนินนโยบายเช่นนี้เท่ากับเป็นการยอมรับว่านโยบายนั้นดีกว่าทางเลือกด้านอื่นๆ นักการเมืองสามารถอ้างความชอบธรรมในการเลือกและกำหนดคุณค่าได้ก็เพราะการที่ได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนและเป็นผู้กลั่นกรองและสะท้อนเจตนารมณ์และความต้องการของประชาชน
การบริหาร เป็นเรื่องของการปฏิบัติตามนโยบายเพื่อทำให้บรรลุถึงเป้าหมายหรือคุณค่าที่นักการเมืองได้กาหนดไว้ ดังนั้น การเมืองกับการบริหารจึงเกี่ยวพันกันอย่างมาก ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับการบริหาร จึงเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมาย(Ends)กับวิธีการ(Means) กล่าวคือ การเมืองเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจรัฐเพื่อการแบ่งสรรที่มีคุณค่าอยู่ในสังคม ในการแบ่งทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดแต่ความต้องการของประชาชนในสังคมมีอยู่อย่างไม่จำกัด ผู้ใช้อำนาจรัฐจะต้องกำหนดเป้าหมายของรัฐ และใช้เป้าหมายนี้เป็นหลักเกณฑ์ในการดำเนินนโยบายด้านต่างๆ เพื่อการแบ่งสรรปันส่วนคุณค่าดังกล่าว การบริหารจึงเป็นวิธีการในทางปฏิบัติที่ช่วยเอื้อ อำนวยให้มีการกระทำตามเป้าหมายที่ฝ่ายการเมืองกำหนดขึ้นไว้
Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์ ตอบ รัฐประศาสนศาสตร์ มี
เอกลักษณ์เพราะมีความแตกต่างจากวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในแง่ที่ว่าให้ความสนใจในการศึกษาถึงโครงสร้างและพฤติกรรมของระบบราชการ รวมทั้งเป็ นศาสตร์ที่มีระเบียบวิธีการศึกษาเป็ นของตนเอง วิชารัฐประศาสนศาสตร์มีความแตกต่างจากศาสตร์การบริหารในแง่ที่ว่าเป็นวิชาที่ศึกษาเรื่องขององค์การของรัฐที่ม่ได้มุ่งแสวงหากาไรเหมือนองค์การธุรกิจเอกชนและเป็นวิชาที่สนับสนุนให้องค์การของรัฐมีโครงสร้างกลไกการตัดสินใจและพฤติกรรมของข้าราชการที่เกื้อหนุนต่อการให้บริการสาธารณะ สถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์ในปัจจุบัน มี 4 ประการดังนี้
1. เป็นจุดสนใจที่ใช้สําหรับการศึกษา (Focus of Study) เป็นศาสตร์ที่มีเอกลักษณ์ของตนเองมีองค์ความรู้แนวคิดทฤษฎีเป็นของตนเอง
2. เป็นสหวิทยาการ (Interdiscipline) ใช้ความรู้จากศาสตร์หลากหลายแขนง เพื่อมาอธิบายจุดที่ศึกษา
3. เป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ (Applied Social Science)เน้นการนําเอาสังคมศาสตร์อื่นมาแก้ปัญหาในการบริหาร
4. เป็นกึ่งวิชาชีพ (Quasi-Profession) มีลักษณะวิชาชีพที่แตกต่างจากวิชาชีพแขนงอื่นแม้จะไม่มีการจัดตัง
สถาบันและจรรยาบรรณที่กาหนดขึ้นมาใช้บังคับโดยตรง แต่ความสําเร็จของการบริหารขึ้นกับฝีมือความรู้ความสามารถ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์เพื่อให้งานสําเร็จโดยอาศัยความร่วมมือจากบุคคลอื่น
สิบเอก ปริญญากร สุวรรณรักษา 64423471171
Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์ ตอบ รัฐประศาสนศาสตร์ มี
เอกลักษณ์เพราะมีความแตกต่างจากวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในแง่ที่ว่าให้ความสนใจในการศึกษาถึงโครงสร้างและพฤติกรรมของระบบราชการ รวมทั้งเป็ นศาสตร์ที่มีระเบียบวิธีการศึกษาเป็ นของตนเอง วิชารัฐประศาสนศาสตร์มีความแตกต่างจากศาสตร์การบริหารในแง่ที่ว่าเป็นวิชาที่ศึกษาเรื่องขององค์การของรัฐที่ม่ได้มุ่งแสวงหากาไรเหมือนองค์การธุรกิจเอกชนและเป็นวิชาที่สนับสนุนให้องค์การของรัฐมีโครงสร้างกลไกการตัดสินใจและพฤติกรรมของข้าราชการที่เกื้อหนุนต่อการให้บริการสาธารณะ สถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์ในปัจจุบัน มี 4 ประการดังนี้
1. เป็นจุดสนใจที่ใช้สําหรับการศึกษา (Focus of Study) เป็นศาสตร์ที่มีเอกลักษณ์ของตนเองมีองค์ความรู้แนวคิดทฤษฎีเป็นของตนเอง
2. เป็นสหวิทยาการ (Interdiscipline) ใช้ความรู้จากศาสตร์หลากหลายแขนง เพื่อมาอธิบายจุดที่ศึกษา
3. เป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ (Applied Social Science)เน้นการนําเอาสังคมศาสตร์อื่นมาแก้ปัญหาในการบริหาร
4. เป็นกึ่งวิชาชีพ (Quasi-Profession) มีลักษณะวิชาชีพที่แตกต่างจากวิชาชีพแขนงอื่นแม้จะไม่มีการจัดตัง
สถาบันและจรรยาบรรณที่กาหนดขึ้นมาใช้บังคับโดยตรง แต่ความสําเร็จของการบริหารขึ้นกับฝีมือความรู้ความสามารถ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์เพื่อให้งานสําเร็จโดยอาศัยความร่วมมือจากบุคคลอื่น
สิบเอก ปริญญากร สุวรรณรักษา 64423471171
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
ตอบ การเมือง การบริหาร และการกำหนดนโยบายสาธารณะ : แนวคิดที่ว่าด้วยการเมืองและการ
บริหารที่ไม่สามารถแยกออกจากกันในสังคมตะวันตกในการนำเสนอแนวคิดที่ว่าด้วยการบริหารกบัการเมืองและฝ่ายการเมืองกบัฝ่ายราชการประจำต่างมีความสัมพนัธ์กนัอยา่ งใกลช้ิดและไม่สามารถแยกออกจากกนัได้ (no politics - administration dichotomy) แนวคิดนี้อยู่บนฐานคติที่ว่าการบริหารมิใช่เรื่องของกิจกรรมทางเทคนิคและปลอดจากค่านิยมซ่ึงแยกต่างหากจากการเมืองแต่ฝ่ายบริหารได้เข้าไปเกี่ยวข้องกับการเมืองโดย เฉพาะอย่างยิ่งการกำหนดนโยบายสาธารณะตลอดเวลา หรืออีกนัยหนึ่งการบริหารก็คือการเมืองนั่นเอง ทฤษฎีที่พัฒนาข้ึนจากฐานคติการเมืองการบริหารไม่อาจแยกกันได้มีหลายแนวคิด
1. การทำหน้าที่ในการเสนอข้อมูลข่าวสาร หรือ ความเห็นเกี่ยวกบั ทางเลือกนโยบายแก่ฝ่าย
การเมือง เพราะการตดัสินใจในเรื่องนโยบายสาธารณะควรจะต้องอยู่บนพ้ืนฐานของเหตุผลข้อเท็จจริง
สภาพความเป็นจริงให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ด้วยยเหตุดังกล่าว ฝ่ายบริหารซ่ึงเป็นผู้ปฏิบัติงานมี
ความรู้และประสบการณ์ จึงทำหน้าที่ในการใหก้ารสนับสนุนดา้นข้อมูลข่าวสาร และการแสดงทศันะ
ขอ้คิดเห็นเกี่ยวกับทางเลือกนโยบายแก่ฝ่ายการเมือง โดยฝ่ายการเมืองจะเป็นผู้ทำหน้าที่ในการเลือกกำหนดนโยบาย
2. ในกรณีที่ฝ่ายการเมืองไม่มีนโยบายที่ชดัเจน หรือ นโยบายที่กวา้งตอ้งมีการตีความใน
รายละเอียดในการนา ไปปฏิบตัิ ฝ่ายบริหารจะตอ้งเขา้มีมีบทบาทในการกา หนดนโยบายเพื่อแสวงหา
แนวปฏิบตัิดว้ยตนเอง หรือเป็นการกา หนดนโยบายในระดบัการปฏิบัติ (street-level bureaucrat)
การเมือง การบริหาร และ การกำหนดนโยบายสาธารณะ : แนวคิดที่ว่าด้วยการเมืองและการบริหารที่
ไม่สามารถแยกออกจากกันในสังคมไทยในบริบทของสังคมไทย การอธิบายและวิเคราะห์การแสดงบทบาทของฝ่ายการเมืองและฝ่ายบริหารในการกำหนดนโยบาย ในบริบทสังคมไทยอาจกล่าวได้ว่า นับตั้งแต่พ.ศ.2475 เป็นต้นมาการเมืองกบัการบริหารไม่อาจแยกออกจากกนั ไดม้ีความคลา้ยคลึง และความแตกต่างจากบริบทของสังคมตะวันตก โดยลักษณะการเมืองกบัการบริหารไม่อาจแยกออกจากกนัไดในสังคมไทยมี 2 ลักษณะ
ลักษณะที่ 1 การบริหารกบัการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกนัไดอ้ยา่งเด็ดขาด เพราะฝ่ายข้าราชการประจำเขา้ไปเกี่ยวข้องกับกิจกรรมการกำหนดนโยบายของฝ่ายการเมืองที่มาจากการเลือกตั้ง ลักษณะดังกล่าว คล้ายกับแนวคิดการบริหารกบัการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกันในสังคมตะวันตก เนื่องจากแม้หน้าที่หลักในการกำหนดนโยบายสาธารณะจะเป็นของฝ่ายการเมืองและฝ่ายขา้ราชการประจำมีหนา้ที่ในการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติให้บรลุผลสำเร็จ
ลักษณะที่ 2 ในบริบทของการเมืองและสังคมไทย ฝ่ายข้าราชการประจำโดยเฉพาะทหารและตำรวจมีอำนาจมาก (power/force) โดยเฉพาะอำนาจอาวุธยุทโธปกรณ์และกำลังพล และใช้อำนาจดังกล่าวในการเข้าสู่สถานะเป็นตวัแสดง (actor) ในฝ่ ายการเมืองโดยการปฏิวัติรัฐประหาร และมีการพึ่ง
ฝ่ายขา้ราชการประจำในสายพลเรือนในกิจกรรมการกำหนดนโยบายของฝ่ายการเมืองที่มาจากการ
สิบเอก ปริญญากร สุวรรณรักษา 64423471171
Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
ตอบ การเมือง เป็ นเรื่องของการกาหนดนโยบาย และเป้ าหมายของรัฐ ซึ่ งเก ี่ยวข้องกบการ ั
ตัดสินใจเชิงคุณค่า (Value Judgement) โดยตรง ตัดสินใจว่าควรด าเนินนโยบายเช่นนี้เท่ากบเป็ น ั
การยอมรับว่านโยบายนั้นดีกว่าทางเลือกด้านอื่นๆ นักการเมืองสามารถอ้างความชอบธรรมใน
การเลือกและกาหนดคุณค ่าได้ ก็เพราะการที่ได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน และเป็ นผู้
กลันกรองและสะท้อนเจตนารมณ์และความต้องการของประชาชน การบริหารเป็นเรื่องของการปฏิบัติตามนโยบายเพื่อทำให้บรรลุถึงเป้าหมายหรือคุณค่าที่นักการเมืองได้กาหนดไว้ ดังนั ้น การเมืองกบการบริหารจึงเกี่ยวพันกนอย่างมาก ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกบการบริหาร จึงเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมาย (Ends)กับวิธีการ (Means) กล่าวคือ การเมืองเกี่ยวข้องกบการใช้อำนาจรัฐเพื่อการแบ่งสรรที่มี
คุณค่าอยู่ในสังคม ในการแบ่งทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดแต่ความต้องการของประชาชนในสังคมมีอยู่อย่างไม่จากด ผู้ใช้อ านาจรัฐจะต้องกำหนดเป้ าหมายของรัฐ และใช้เป้าหมายนี้เป็นหลักเกณฑ์ในการดำเนินนโยบายด้านต่างๆ เพื่อการแบ่งสรรปันส่วนคุณค่าดังกล่าว การบริหารจึงเป็นวิธีการในทางปฏิบัติที่ช่วยเอื้ออำนวยให้มีการกระทำตามเป้าหมายที่ฝ่ายการเมืองกำหนดขึ้นไว้
ส.ท.เกรียงไกร สัทธรรม 64423471096
Assignment ที่1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์

รัฐประศาสนศาสตร์เป็น "สหวิทยาการ" (Interdisplinary) หมายถึง รัฐประศาสนศาสตร์คือ
การสอนที่มีความรู้จากหลายสาขาวิชา เช่น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา จิตวิทยา เป็นต้น
รวมวิชาความรู้ หรือวิทยาการเหล่านั้นประกอบเข้ากันเป็นสหวิทยาการ จัดเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์
เพื่อนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ปรับปรุงองค์กร โดยที่รัฐประศาสนศาสตร์ไม่มีฐานะเป็นศาสตร์ หรือเป็น
จุดเล็กๆ ที่น่าสนใจในการศึกษา ถ้าต่อกันจะเป็นศาสตร์ที่สมบูรณ์ เนื้อหากว้างขวางซับซ้อน จึงไม่
สามารถใช้ศาสตร์เดียวศึกษาได้
การบริหารภาครัฐ เรียกตามรูปศัพท์ว่า การบริหารรัฐกิจ (public administration) คือการ
ดำเนินการทั้งปวงของฝ่ายบริหาร (ยกเว้นอำนาจของฝ่ายนิติบัญญัติและตุลาการ) โดยมีจุดมุ่งหมายให้
นโยบายของรัฐที่วางไว้บรรลุผล อาจมองได้ทั้งเป็นการปฏิบัติการ และการเป็นสาขาวิชาแขนงหนึ่ง
การบริหารและจัดการภาครัฐจะไม่เหมือนการบริหารธุรกิจที่เน้นกำไรสูงสุด แต่เป็นการเน้นการ
ให้บริการที่ให้ลูกค้าพึงพอใจ โดยลูกค้าก็คือประชาชนที่มาใช้บริการ และต้องเป็นการให้บริการต่อ
(ลูกค้า) ทุกคนอย่างเป็นธรรม
การบริหารธุรกิจ (business administration) คือกระบวนวางแผน การจัดองค์การ การ
อำนวยการ และการควบคุมการใช้ทรัพยากรของกิจการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของธุรกิจ
หลักการเบื้องต้นของการบริหารรัฐกิจคือ "วิธีการบริหารเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน" ส่วนหลักการเบื้องต้นของการ
บริหารธุรกิจคือ "วิธีการบริหารเพื่อแสวงหากำไรสูงสุด"
ความแตกต่างของการบริหารรัฐกิจ และการบริหารธุรกิจแยกเป็นข้อๆ ดังนี้
1. การบริหารรัฐ
กิจมีกฎหมายรองรับในการทำกิจกรรมต่างๆ ส่วนการบริหารธุรกิจไม่มีกฎหมายรองรับ
2. การบริหาร
รัฐกิจมีการควบคุมทางงบประมาณการใช้จ่ายต่างๆ ตามที่รัฐสภาก าหนด เพราะรายได้ส่วนใหญ่ของ
รัฐมาจากภาษีของราษฎร
การบริหารงานสาธารณะมีขอบเขตกว้างขวางมากกว่า โดยเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของ
การบริหารของรัฐมีมากมายและมักคลุมเครือ ซึ่งยากต่อการวัดผลโดยวิธีการดำเนินการทาง
เศรษฐศาสตร์ ความพร้อมที่จะได้มีการตรวจสอบและสอดส่องดูแลทางสาธารณะ การบริหารราชการ
มีข้อเสียคือมีความล่าช้า ข้าราชการยึดระเบียบจึงไม่มีการยืดหยุ่น และมีลักษณะเข้มงวด ซึ่งแตกต่าง
จากการบริหารธุรกิจที่มีการตรวจสอบเฉพาะในกลุ่มของผู้บริโภคหรือผู้ใช้บริการเท่านั้น
การบริหารราชการมีความเกี่ยวข้องทางการเมืองโดยตรง การดำเนินการต่างๆ ของรัฐจึง
ส่งผลกระทบต่อส่วนได้ส่วนเสียของประชาชนโดยส่วนรวม ทัศนคติของการเป็นข้าราชการที่จะมีเพียง
ตัวบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการทำงานราชการไม่เป็นการเพียงพอระบบราชการที่รวม
หลายอย่างเข้าด้วยกัน
การบริหารสาธารณกิจเป็นกิจกรรมที่มีลักษณะมั่นคง และต้องดำเนินในลักษณะต่อเนื่องกันไป
ส่วนข้อคล้ายระหว่างการบริหารรัฐกิจและการบริหารธุรกิจ คือการร่วมมือดำเนินการหรือ
ปฏิบัติของกลุ่มบุคคลที่มุ่งเป้าหมายร่วมกันอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนั้นหัวใจที่สำคัญจึงเป็นเรื่องการ
กระทำ และความสามารถที่จะรวบรวมทรัพยากรการบริหารโดยดำเนินการให้บรรลุผล
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
นโยบายสาธารณะ (Public Policy)
การสร้างนโยบายสาธารณะเป็นหนึ่งในองค์ประกอบสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพทั้งด้านบวกและลบ นโยบายสาธารณะไม่จำเป็นต้องเป็นนโยบายของรัฐเท่านั้น แต่นโยบายสาธารณะสามารถเกิดจากภาคประชาชน ภาคเอกชน ชุมชนและสังคมด้วย
นโยบายสาธารณะจึงหมายถึง “ทิศทางหรือแนวทางที่สังคมโดยรวมเห็นว่า หรือเชื่อว่าควรจะดำเนินการไปในทิศทางนั้น” หัวใจสำคัญของนโยบายสาธารณะไม่ได้อยู่ที่คำประกาศ หรือข้อเขียนที่เป็นลายลักษณ์อักษร หรือเป็นทางการ แต่อยู่ที่ “กระบวนการ” ที่ต้องเกิดจากการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง นั่นคือ นโยบายสาธารณะที่ดีต้องเป็น “นโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม”

กระบวนการนโยบายสาธารณะ (Public Policy Process)
กระบวนการนโยบายสาธารณะในอุดมคติควรประกอบด้วยกุศล 3 ประการ คือ (1) เป็นกระบวนการทางปัญญา ใช้หลักฐานข้อเท็จจริงที่ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์มาอย่างดีจนเป็น “ความรู้” ที่เรียกว่าเป็นการสร้างนโยบายที่อยู่บนฐานของความรู้ (2) เป็นกระบวนการทางสังคม นโยบายกระทบสังคมทั้งหมดอย่างรุนแรง ผู้มีส่วนได้เสีย สังคมควรเข้ามามีบทบาทร่วมเรียนรู้ ร่วมกำหนดนโยบาย เป็นกระบวนการเปิดเผยโปร่งใส (3) กระบวนการทางศีลธรรม กระบวนการนโยบายสาธารณะควรมีอุดมคติเพื่อความถูกต้องดีงามและประโยชน์สุขของคนทั้งหมด ไม่แฝงเร้นเพื่อประโยชน์เฉพาะตนเฉพาะกลุ่ม

กระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมบนพื้นฐานทางปัญญา ( Participatory Public Policy Process based on Wisdom : 4PW )
เป็นกระบวนการใช้ข้อมูล ข้อเท็จจริง ประสบการณ์และองค์ความรู้ของฝ่ายต่างๆที่เกี่ยวข้อง มาพูดคุยแลกเปลี่ยนกันอย่างสันติวิธี มีกติกาและมีเทคนิควิธีการ ทั้งนี้จุดมุ่งหมายใหญ่คือการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม และเป็นกระบวนการที่ให้ความสำคัญต่อสุขภาพมาประกอบการกำหนดและตัดสินใจทางนโยบายทุกด้าน ตามแนวทาง “ทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ” (Health in all Policies)
Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
“การบริหารราชการ”ถือเป็นกลไกหลักที่สำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยรวมของคนในชาติ เนื่องจากการบริหารราชการนั้นเกี่ยวข้องบทบาทและภารกิจของหน่วยงานของภาครัฐทุกประเภทผ่านองค์การขนาดใหญ่ที่เราเรียกกันว่า“ระบบราชการ”เพื่อนำนโยบายของรัฐไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลลัพธ์ที่ประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น การบริหารราชการจึงรวมเอาองค์ความรู้
หรือแง่มุมของศาสตร์ด้านต่างๆ ไว้อย่างหลากหลาย
“ความหมายและขอบเขตของรัฐประศาสนศาสตร์” ไว้เป็น 2 ลักษณะ
ลักษณะแรก การให้ความหมายการบริหารราชการหรือการบริหารงานภาครัฐโดยใช้“กระบวนการบริหาร” มากำหนดในการให้ความหมาย กล่าวคือ การบริหาร หมายถึงการดำเนินงาน หรือการจัดการใดๆ ของหน่วยงานของรัฐและ/หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวของกับ คน สิ่งของ และ หน่วยงาน โดยครอบคลุมเรื่องตาง ๆ เช่น
(1) การบริหารนโยบาย (Policy)
(2) การบริหารอำนาจหนาที่ (Authority)
(3) การบริหารจริยธรรม (Morality)
(4) การบริหารที่เกี่ยวของกับสังคม (Society)
(5) การวางแผน (Planning)
(6) การจัดองค์การ (Organizing)
(7) การบริหารทรัพยากรมนุษย (Staffing)
(8) การอำนวยการ (Directing)
(9) การประสานงาน (Coordinating)
(10) การรายงาน (Reporting) และ
(11) การงบประมาณ (Budgeting)
ลักษณะที่สอง การให้ความหมายการบริหารราชการหรือการบริหารงานภาครัฐโดยใช้“ปัจจัยที่มีส่วนสำคัญต่อการบริหาร”
มากำหนดในการให้ความหมาย กล่าวคือ การบริหารราชการ หมายถึงการดำเนินงาน หรือการจัดการใดๆ ของหนวยงานของรัฐ และ/หรือ เจาหนาที่ของรัฐที่เกี่ยวของกับคน สิ่งของ และหนวยงาน โดยครอบคลุมในเรื่องตางๆ เชน (1) การบริหารคน (Man) (2) การบริหารเงิน (Money) (3) การบริหารวัสดุอุปกรณ (Material) (4) การบริหารงานทั่วไป (Management)
และ (5) การบริหารจริยธรรม (Morality)
สรุปลักษณะที่สำคัญของการบริหารราชการได้ 4 ประการ คือ
1. การบริหาราชการมีลักษณะการทำงานโดยใช้เหตุผลตามหลักการบริหารและ
ระเบียบแบบแผนของทางราชการ
2. การบริหารราชการมีลักษณะเป็นการตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน
3. ผู้ปฏิบัติงานหรือข้าราชการเป็นผู้ที่ได้รับการพิจารณาเลือกสรรมาแล้วว่าเป็นผู้ที่
มีความรู้ความสามารถในงานนั้นๆ
4. การบริหารราชการมีลักษณะเป็นการดำเนินการที่ต่อเนื่องกันไป ไม่ว่ากลุ่มใด
หรือพรรคการเมืองใดจะเข้ามาบริหารประเทศ
ส.อ.ณัฐพงศ์ บุญเรือง
รหัสนักศึกษา 6442347104

Assignment ที่ 3. อะไรคือลักษณะของการบริหารกับการเมือง
การเมือง เป็นเรื่องของการกำหนดนโยบาย และเป้าหมายของรัฐ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเชิงคุณค่า (Value Judgement) โดยตรง ตัดสินใจว่าควรดำเนินนโยบายเช่นนี้เท่ากับเป็นการยอมรับว่านโยบายนั้นดีกว่าทางเลือกด้านอื่นๆ นักการเมืองสามารถอ้างความชอบธรรมในการเลือกและกำหนดคุณค่าได้ก็เพราะการที่ได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนและเป็นผู้กลั่นกรองและสะท้อนเจตนารมณ์และความต้องการของประชาชน
การบริหาร เป็นเรื่องของการปฏิบัติตามนโยบายเพื่อทำให้บรรลุถึงเป้าหมายหรือคุณค่าที่นักการเมืองได้กาหนดไว้ ดังนั้น การเมืองกับการบริหารจึงเกี่ยวพันกันอย่างมาก ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับการบริหาร จึงเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมาย(Ends)กับวิธีการ(Means) กล่าวคือ การเมืองเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจรัฐเพื่อการแบ่งสรรที่มีคุณค่าอยู่ในสังคม ในการแบ่งทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดแต่ความต้องการของประชาชนในสังคมมีอยู่อย่างไม่จำกัด ผู้ใช้อำนาจรัฐจะต้องกำหนดเป้าหมายของรัฐ และใช้เป้าหมายนี้เป็นหลักเกณฑ์ในการดำเนินนโยบายด้านต่างๆ เพื่อการแบ่งสรรปันส่วนคุณค่าดังกล่าว การบริหารจึงเป็นวิธีการในทางปฏิบัติที่ช่วยเอื้อ อำนวยให้มีการกระทำตามเป้าหมายที่ฝ่ายการเมืองกำหนดขึ้นไว้
วรรณิภา นิลเกษม 64423471130รัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะเฉพาะที่สำคัญ คือ การเป็นสหวิทยาการ ซึ่งประกอบไปด้วยศาสตร์ต่าง ๆ ใช้ร่วมในการศึกษา ตลอดจนอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในทางรัฐประศาสนศาสตร์ โดยในทัศนะของ Chandler (1989, pp. 639-641) เห็นว่า ควรประกอบไปด้วย วิชารัฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาวิทยาการจัดการ วิชาการบริหารธุรกิจวิชาสังคมวิทยา วิชาจิตวิทยา วิชามนุษยศาสตร์ และวิชานิติศาสตร์ ซึ่งจะมีความสมบูรณ์ครอบคลุมในการศึกษา
ในขณะที่ McCurdy (1986, pp. 17-21) เห็นว่า จากพัฒนาการทางรัฐประศาสนศาสตร์สามารถอธิบายได้ว่าพื้นฐานแนวคิดหลักในการศึกษาประกอบไปด้วย 4 สำนักด้วยกัน คือ
1. สำนักที่สนใจศึกษาแบบดั้งเดิม กล่าวคือ สนใจศึกษาสังคมวิทยา จิตวิทยา โดยเน้นและปรับใช้ในเรื่องของความสัมพันธ์ของมนุษย์ และสนใจในรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์โดยนำมาใช้ในการปฏิรูประบบ
2. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงพฤติกรรม โดยนำมาใช้ศึกษาถึงระบบราชการทฤษฎีองค์การ การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ และการพัฒนาองค์การ
3. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงเหตุผลนิยม โดยนำวิชาเศรษฐศาสตร์และการบริหารธุรกิจมาใช้ศึกษาในเรื่องของการวิเคราะห์นโยบาย และการจัดการ
4. สำนักที่สนใจศึกษาในเชิงการเมือง โดยสนใจในเรื่องการเมืองและกฎหมายโดยศึกษาในการนำนโยบายไปปฏิบัติ การบริหารงานบุคคลในระบบราชการ การจัดทำงบประมาณ และการบริหารงานในท้องถิ่น
จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า รัฐประศาสนศาสตร์มีการนำความรู้ที่หลากหลายมาประยุกต์ใช้ในวิชาของตนเอง หรือนำวิชาเหล่านั้นมาประกอบเข้ากันเป็นลักษณะของสหวิทยาการ และถือว่าเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพิ่มขึ้น
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
แนวความคิดรัฐประศาสนศาสตร์หรือการบริหารสาธารณะในอดีต (Historical Paradigms) แนวความคิดหลัก5 รูปแบบจากพัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์หรือการบริหารสาธารณะในฐานะ สาขาวิชาหนึ่ง จะมีลักษณะที่คาบเกี่ยวกันอยู
1.1 การเมืองและการบริหารแยกจากกัน (1900-1926) เป็นยุคที่ได้รับอิทธิพลของแนวความคิดที่ว่า รัฐประศาสนศาสตร์และรัฐศาสตร์ไม่ใช่สิ่งเดียวกัน Goodnow, White (1900) เสนอว่าการเมืองเกี่ยวข้องกับการกระทำของกลุ่มผู้บริหารและการกระทำของรัฐเช่น นโยบายกฎหมายแผนพัฒนา เมกกะโปรเจคหรือโครงการใหญ่ๆขณะที่การบริหารเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานให้ เป็นไปตามนโนบายกฎหมายและแผนพัฒนา การเมืองเป็นเรื่องของอำนาจค่านิยม ส่วนการบริหารนั้นจะมีความเป็นกลางดังนั้นศาสตร์ทางการ บริหารจึงเกี่ยวข้องกับการบริหารงานของฝ่ายบริหารคำถามที่ตามมาก็คือจริงหรือไม่ที่ศาสตร์ทางการบริหาร ปลอดจากค่านิยมโดยเฉพาะค่านิยมทางการเมือง
1.2 หลักการของรัฐประศาสนศาสตร์หรือการบริหารสาธารณะ (1927-1937) ช่วงเวลาที่ได้รับอิทธิพลของหลักการทางการ 1.3 รัฐประศาสนศาสตร์หรือการบริหารสาธารณะในฐานะรัฐศาสตร์(1950-1970) ในช่วงที่รัฐประศาสนศาสตร์ถือเป็นส่วนหนึ่งของรัฐศาสตร์ เนื่องจากถูกมองว่าการบริหารไม่ได้ปลอดจากการเมืองเอสตัน (Eston,1953) เสนอแนวความคิดระบบการเมือง(Political System) แนวความคิดนำเสนอถึง ความตึงเครียดระหว่างการเมืองกับการบริหารสาธารณะซึ่งใช้กับการศึกษาเฉพาะกรณีและมีอิทธิพลต่อ แนวทางการศึกษามาจนปัจจุบัน นอกจากนั้น แนวทางการศึกษายังแบ่งเป็นการบริหารเปรียบเทียบและการ บริหารการพัฒนาอย่างไรก็ตาม การศึกษาทั้งสองแนวทาง ยังไม่มีผลงานมากพอที่จะหยิบยกขึ้นมาเป็น
1.4 รัฐประศาสนศาสตร์หรือการบริหารสาธารณะในฐานะการจัดการ (1956-1970) ขณะที่รัฐประศาสนศาสตร์หรือการบริหารสาธารณะศึกษาภายใต้อิทธิพลของรัฐศาสตร์ อีกด้านหนึ่งให้ ความสนใจต่อทฤษฎีองค์การ(Organizational Theory) อันเป็นพื้นฐานของการบริหารศาสตร์และมีการบรรจุ เป็นหลักสูตรเข้าไว้ในมหาวิทยาลัยต่างๆ
1.5 รัฐประศาสนศาสตร์หรือการบริหารสาธารณะในฐานะรัฐประศาสนศาสตร์ (1970-ปัจจุบัน) นับแต่ปี1970 เป็นต้นไป รัฐประศาสนศาสตร์หรือการบริหารสาธารณะแพร่หลายและเป็นที่นิยม อย่างมากเห็นได้จาก มีการบรรจุหลักสูตรวิชารัฐ

การเปลี่ยนแปลงของรัฐประศาสนศาสตร์(Era of Change) การเปลี่ยนแปลงแนวความคิดรัฐประศาสนศาสตร์หรือการบริหารสาธารณะเริ่มจากกลางทศวรรษ 1980s ในประเทศที่มีความก้าวหน้า ทั้งนี้เนื่องจาก ความเข้มงวดของระบบสายงานบังคับบัญชา (Hierarchy) และระบบราชการ (Bureaucratic) ที่มีอิทธิพลมาก่อนหน้านั้น ตลอดศตวรรษที่ 20 โลกต้องเผชิญกับความซับซ้อนของสังคมที่มีระบบตลาดเป็นพื้นฐาน ทำให้ต้องมี การเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารต่างๆ ไปสู่รูปแบบการจัดการสาธารณะ
ส.ท.กฤตย แซ่ลี้ 64423471188
Assignment ที่ 1. อธิบายความเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาแนวความคิดของรัฐประศาสนศาสตร์
ตอบ. ความเป็นสหวิทยาการ คือการใช้ความรู้จากศาสตร์หลากหลายแขนง เพื่อมาอธิบายจุดที่ศึกษา การเรียนรัฐประศาสนศาสตร์จึงเป็นการหาความรู้จากหลายสาขาวิชามาประกอบกัน เช่น วิชารัฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาวิทยาการจัดการ วิชาการบริหารธุรกิจวิชาสังคมวิทยา วิชาจิตวิทยา วิชามนุษยศาสตร์ และวิชานิติศาสตร์ ซึ่งจะมีความสมบูรณ์ครอบคลุมในการศึกษา และถือว่าเป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาทางการบริหารในองค์การให้มีความสามารถที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การเป็นสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์ทำให้จำเป็นต้องนำศาสตร์อื่น ๆ และนอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาในขอบข่ายของการศึกษาวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ยังจำเป็นต้องมีการศึกษาในศาสตร์อื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์คณิตศาสตร์และสถิติ เศรษฐศาสตร์หรือแม้กระทั่งการตลาด และการประชาสัมพันธ์รวมถึงในปัจจุบันมีความสนใจอย่างยิ่งในเรื่องของจริยธรรมและคุณธรรมภายในวิชารัฐประศาสนศาสตร์
การดำเนินกิจการต่าง ๆ ของรัฐนั้นมีขอบเขตครอบคลุมหลายมิติ เพื่อการบริหารที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการนั้น รัฐประศาสนศาสตร์จึงต้องนำเอาสาขาวิชาอื่น ๆ มาประยุกต์ใช้ และมีขอบเขตที่กว้างขวางตามความเหมาะสม และกลับจะเป็นการเปล่าประโยชน์ถ้าหากจะมุ่งพิจารณาความสัมพันธ์ของรัฐประศาสนศาสตร์กับสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งเท่านั้น ทั้งนี้ ในความจริงแล้วสาขาวิชาต่าง ๆ ก็ได้มีการเสริมสร้างความเข้าใจระหว่างกัน มีการร่วมมือศึกษาและทำการวิจัยร่วมกัน ดังนั้น วิชารัฐประศาสนศาสตร์จึงต้องใช้ความรู้ระหว่างศาสตร์วิชาต่าง ๆ เหล่านั้น หรือที่เรียกว่า สหวิทยาการ (inter-disciplinary) มาประยุกต์ใช้กับโลกแห่งความเป็นจริง นอกจากนี้ในทางปฏิบัติแล้วรัฐประศาสนศาสตร์ยังมีความสัมพันธ์กับวิชาชีพอื่น ๆ อีก เช่น วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารธุรกิจ นิติศาสตร์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้รัฐประศาสนศาสตร์จึงมีความสัมพันธ์กับสาขาวิชาต่าง ๆ ที่กล่าวมา และนอกจากนี้การศึกษาในวิชารัฐประศาสนศาสตร์จะต้องเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่าง ๆ อย่างกว้างขวางแล้ว สิ่งที่ขาดเสียมิได้ในการผลิตนักรัฐประศาสนศาสตร์ก็คือ การสร้างจริยธรรม อุดมการณ์ และพฤติกรรม ที่รับผิดชอบต่อสังคมต่อ ๆ ไป
การศึกษาที่มีความหลากหลายและเกิดเป็นพัฒนาแนวความคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์จนเป็นศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับและเป็นที่นิยมทั่วไป ทำให้มีนักวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ทำการศึกษาพัฒนาการของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ โดยมีการจำแนกลำดับการพัฒนาของสาขาวิชานี้อย่างกว้างขวางและมีความหลากหลายขึ้นอยู่กับว่านักวิชาการใดจะให้ความสำคัญในมิติใด แม้การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์อย่างเป็นระบบหรือในฐานะของวิชาจะมีจุดเริ่มต้นที่เห็นพ้องต้องกันคือ ปี ค.ศ. 1887 จากบทความของ วูดโรว์ วิลสัน (Woodrow Wilson) (โดยทั่วไปนักวิชาการยอมรับกันว่าวิชารัฐประศาสนศาสตร์ถือกำเนิดมา ประมาณเกือบร้อยปีแล้วกล่าวคือนับตั้งแต่ปี 1887 ที่ Woodrow Wilson เขียนบทความเรื่อง “The Study of Administration” ขึ้น (พิทยา บวรวัฒนา, 2538, น. 11) แต่ในแง่การอธิบายพัฒนาการ
ส.ท.กฤตย แซ่ลี้ 64423471188
Assignment ที่ 2. นโยบายสาธารณะกับการบริหารมีลักษณะอะไรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันบ้าง
ตอบ การบริหารกับการเมืองไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ฝ่ายบริหารมีระดับของความเกี่ยวข้อง ในการกำหนดน โยบายในลักษณะการทำหน้าที่ในการเสนอข้อมูลข่าวสาร หรือ ความเห็นเกี่ยวกับทางเลือกน โยบายแก่ฝ่ายการเมือง หรือ ทำหน้าที่ในการตีความนโขบายในการนำไปปฏิบัติซึ่งมีลักษณะเป็นการกำหนดน โขบายเพื่อแสวงหาแนวปฏิบัติด้วยตนเอง ในกรณีที่ฝ่ายการเมืองไม่มีน โยบายที่ชัดเจน หรือ นโยบายที่กว้างต้องมีการตีความในรายละเอียดในการนำไปปฏิบัติ ขณะที่ในบริบทของสังคมไทย ฝ่ายบริหารมีระดับของความเกี่ยวข้องในการกำหนดน โขบายในหลายระดับตั้งแต่ การทำหน้าที่ในการเสนอข้อมูลข่าวสาร หรือ ความเห็นเกี่ยวกับทางเลือกน โยบายแก่ฝ่ายการเมือง การตีความ นโยบายในการนำไปปฏิบัติซึ่งมีลักษณะเป็นการกำหนดนโยบายเพื่อแสวงหาแนวปฏิบัติด้วยตนเอง ไปจนถึง การทำหน้าที่เป็นคลังสมองด้านนโยบายและวิชาการ(hink-tank) แก่ฝ่ายการเมืองโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่ฝ่ายการเมืองมาจากการปฏิวัติโดยข้าราชการประจำสายทหาร และ การเข้าไปดำรงตำแหน่งทางการเมืองในคณะรัฐมนตรี และในรัฐสภา โดยฝ่ายบริหารจะมีบทบาทอย่างมากในการกำหนดนโยบายในสองสถานะคือ สถานะตัวแสดงฝ่ายการเมืองและในสถานะตัวแสดงฝ่ายบริหาร ในเวลาเดียวกัน
Assignment 3. แนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ในอนาคตจะขยายไปสูขอบเขตอะไรบ้าง และอิทธิพลของแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ต่อพฤติกรรมการ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง
ตอบ ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ใหม่" มุ่งสู่การศึกษาการบริหารงานที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงตามบริบทการพัฒนาแนวคิดมีทิศทางของการสร้างการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนต่อการบริหารงานภาครัฐมากขึ้นสามารถอธิบายปรากฏการณ์ของการบริหารงานภาครัฐครอบคุลมในทุกมิติสามารถศึกษาและค้นหาหลักการทางการบริหารงานภาครัฐได้อย่างมีอัตลักษณ์มากขึ้นแนวคิดที่มีอิทธิพลต่อการปฏิรูปการบริหารภาครัฐทั่วโลก แนวคิดใหม่ไม่ใช่การปฏิรูประบบ
ราชการอย่างเดียวแต่ยังแปลงโฉมภาครัฐใหม่ด้วยการจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐกับสังคม
ใหม่ เหตุผลหลักที่ได้รับการยอมรับคือ ตัวแบบระบบราชการเดิมใช้ไม่ได้อีกต่อไป รัฐบาลหลายประเทศ
เริ่มไม่เห็นด้วยกับการท างานแบบราชการ จึงจ้างนักเศรษฐศาสตร์ที่อบรมการจัดการเข้ามาท างานแทน
นักบริหารพร้อมกับหยิบยืมเทคนิคการจัดการจากภาคเอกชนมาใช้ย้อนกลับไปใช้วิธีการแบ่งกิจกรรม
ภาครัฐกับภาคเอกชนออกจากกันเพื่อหาทางตัดค่าใช้จ่าย และเริ่มเปลี่ยนระบบการท างานใหม่ สาเหตุ
พื้นฐานมาจากรัฐบาลหลายประเทศเผชิญกับปัญหารายได้ที่แท้จริงตกต่ า แต่นักการเมืองยังคงอยาก
ให้บริการอยู่ในระดับเดิม จึงไม่มีทางอื่นนอกจากปรับปรุงประสิทธิภาพประกอบกับนักทฤษฎีท้วงติงว่า
ระบบราชการเดิมไม่มีประสิทธิภาพ และเมื่อนักเศรษฐศาสตร์ศึกษาก็ได้ค าตอบแบบเดียวกัน จึงเริ่มมี
ค าถามว่าท าไมต้องจ้างข้าราชการถาวร ท าไมไม่จ้างตามสัญญา หากจ้างตามสัญญาจะเกิดปัญหา
อะไรบ้าง ส่วนแรงต่อต้านจากระบบราชก็มีน้อย เพราะประชาชนไม่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงจึงเกิดขึ้น
และเป็นเหตุให้การท างานแบบระบบราชการบางอย่างหายไป ดังนั้นแนวโน้มของ“การจัดการภาครัฐ”
ในอนาคตจึงมุ่งไปสู่ “การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ” (Privatization) และการใช้ “บุคคลที่สาม” (Third
Party) ในการด าเนินการต่าง ๆ แทนภาครัฐเพิ่มมากขึ้นซึ่งท าให้ภาครัฐจ าเป็นต้องอาศัย “แนวความคิด
และวิธีการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชน” มาใช้มากขึ้นทุกทีการบริหารจัดการแบบภาคเอกชน
เช่นว่านี้ท าให้เจ้าหน้าที่ของภาครัฐต้องมีความเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพมากขึ้น (Qualityfied
Personnel) พร้อม ๆ กับการต้องเป็น “มืออาชีพ” มากขึ้นด้วย (Higher-Quality Professional)
แต่โดยที่การบริหารในภาครัฐราชการจะต้องอยู่ภายใต้กฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ มากมาย ซึ่งต่าง
จากการบริหารของภาคเอกชน และอยู่ภายใต้หลักการปกครองแบบ “นิติรัฐ” (Rule of Law)
ด้วยจึงทำให้ภาครัฐจ าเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบของการปกครองแบบเข้มงวดเคร่งครัดมายึดหลักการ
ผ่อนปรนภายใต้ “ธรรมาภิบาล”

Popular posts from this blog

แนวคิดหลังความทันสมัยกับสังคมวิทยา

POS 2211การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ กลุ่ม 394 2/2565 Module 1

หลักรัฐประศาสนศาสตร์ Module 2 ; ภาค/ปีการศึกษา 3/2565