หลักรัฐประศาสนศาสตร์ Module 2 ; ภาค/ปีการศึกษา 3/2565
การศึกษาประกอบร่วมกับการศึกษาในชั้นเรียน
ขอบเขตการศึกษา นักศึกษาศึกษาประเด็นต่าง ๆ ต่อไปนี้
1.การบริหารกับสภาพแวดล้อม
2. กระบวนการบริหาร
- การวางแผน
- การจัดองค์การ
- การบริหารงานบุคคล
- การอำนวยการ
- การประสานงาน
- การรายงาน
3. การบริหารการคลังและงบประมาณ
ก่อนตอบคำถามให้ศึกษาเอกสารให้เข้าใจ พร้อมทั้งกดติดตามและให้ใส่ชื่อ รูปภาพลงที่มุมกล่องข้อความเพื่อจะได้ทราบว่านักศึกษาคนใดเป็นผู้ตอบคำถาม และสามารถประเมินผลได้อย่างถูกต้อง (ดูตัวอย่างของภาคการศึกษาที่ผ่านมา)
นักศึกษาศึกษาเอกสาร Video ที่นี่
นักศึกษาทำ Assignment โดยเขียนลงในกล่องโต้ตอบ ซึ่งจะเขียนว่า Post a Comment โดยคลิกที่รูป 💬 จะปรากฎ กล่องโต้ตอบ นักศึกษาเขียนในกล่องโต้ตอบและสามารถส่งได้โดย คลิกที่ Publish your comment
Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
Assignment ที่ 3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง 4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง และ4 .2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
Comments
ข้อที่ 1 สภาพแวดล้อมการบริหารหมายถึงปัจจัยภายในและภายนอกที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการขององค์กร ปัจจัยเหล่านี้รวมถึงโครงสร้างขององค์กร วัฒนธรรม เป้าหมาย ทรัพยากร เทคโนโลยี กรอบกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ สภาพเศรษฐกิจ และการแข่งขัน
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเหล่านี้มีความซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ตัวอย่างเช่น โครงสร้างขององค์กรส่งผลต่อวัฒนธรรม ซึ่งจะส่งผลต่อเป้าหมายและวิธีการใช้ทรัพยากรขององค์กร ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสามารถเปลี่ยนวิธีที่องค์กรดำเนินการและโต้ตอบกับสภาพแวดล้อม ในขณะที่การเปลี่ยนแปลงทางกฎหมายและข้อบังคับอาจทำให้เกิดข้อจำกัดหรือโอกาสใหม่ๆ
โดยสรุป สภาพแวดล้อมการบริหารและปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และจำเป็นต้องมีการพิจารณาและการจัดการอย่างรอบคอบเพื่อให้มั่นใจว่าองค์กรจะประสบความสำเร็จ
ข้อที่ 2 ภายใต้ยุคใหม่ของระบบเครือข่ายสื่อสารออนไลน์ การจัดการระบบราชการจำเป็นต้องพัฒนาเพื่อปรับให้เข้ากับภูมิทัศน์ที่เปลี่ยนไป องค์ประกอบที่สำคัญบางประการทได้แก่
1. การสื่อสาร เนื่องจากการสื่อสารมีการกระจายอำนาจและไม่เป็นทางการมากขึ้น จึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้จัดการที่จะต้องแน่ใจว่าช่องทางการสื่อสารยังคงเปิดกว้างและโปร่งใส
2. ความยืดหยุ่น ธรรมชาติของการสื่อสารออนไลน์ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทำให้ผู้จัดการต้องมีความคล่องตัวและปรับตัวได้
3. การทำงานร่วมกัน เมื่อทีมเสมือนกลายเป็นเรื่องธรรมดามากขึ้น ผู้จัดการต้องจัดลำดับความสำคัญของการทำงานร่วมกันระหว่างแผนก สถานที่ และแม้แต่อุตสาหกรรม
4. การจัดการข้อมูล ด้วยการเพิ่มจำนวนของข้อมูลในการสื่อสารออนไลน์ ผู้จัดการจำเป็นต้องพัฒนาระบบและกระบวนการใหม่สำหรับการจัดการ วิเคราะห์ และใช้ประโยชน์จากข้อมูล
ข้อที่ 3 การจัดการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมที่สอดคล้องกับการจัดการสาธารณะแบบใหม่มักเกี่ยวข้องกับการทำงานร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐและประชาชนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายนโยบาย แนวทางนี้เน้นความสำคัญของการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียในกระบวนการกำหนดนโยบาย การให้อำนาจแก่ประชาชนในการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และส่งเสริมความรับผิดชอบและความโปร่งใสในการดำเนินงานของรัฐบาล
ข้อที่ 4
4.1) การจัดการคลังเป็นหน้าที่ที่สำคัญในองค์กรใดๆ และเกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรทางการเงินขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่ามีการใช้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในการจัดระเบียบงานคลัง สามารถพัฒนากรอบการทำงานตามขอบเขตของการจัดการคลัง
1. การจัดการเงินสด: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการจัดการกระแสเงินสดขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่ามีเงินสดเพียงพอที่จะปฏิบัติตามภาระผูกพันทางการเงินเสมอ
2. การจัดการความเสี่ยง: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการระบุ ประเมิน และจัดการความเสี่ยงทางการเงินที่องค์กรเผชิญ เช่นการระบุและประเมินความเสี่ยง และการใช้กลยุทธ์การลดความเสี่ยง
3. การจัดการการลงทุน: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการจัดการพอร์ตการลงทุนขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่าสร้างผลตอบแทนที่ยอมรับได้ในขณะที่ลดความเสี่ยงให้น้อยที่สุด
4. การจัดการหนี้: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการจัดการพอร์ตสินเชื่อขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่ามีโครงสร้างที่เหมาะสมที่สุดและปฏิบัติตามภาระผูกพันในการชำระหนี้
4.2) ธรรมาภิบาลในการบริหารเงินคงคลังเกี่ยวข้องกับปัจจัยแห่งความสำเร็จหลายประการ ซึ่งจำเป็นต่อการสร้างความมั่นคงทางการเงินและความรับผิดชอบ
1. นโยบายและขั้นตอนที่ชัดเจน: ควรมีนโยบายและขั้นตอนที่ชัดเจนสำหรับการบริหารเงิน ซึ่งสรุปบทบาทและความรับผิดชอบของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ
2. การจัดการเงินสดอย่างมีประสิทธิภาพ: การจัดการเงินสดอย่างมีประสิทธิภาพมีความสำคัญต่อการทำให้แน่ใจว่าเงินจะพร้อมใช้เมื่อจำเป็น ในขณะที่ลดต้นทุนการกู้ยืม
3 การบริหารความเสี่ยงที่แข็งแกร่ง: การบริหารเงินคลังควรรวมถึงแนวทางปฏิบัติในการบริหารความเสี่ยงที่แข็งแกร่ง ซึ่งระบุ ประเมิน และติดตามความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพทางการเงินขององค์กร
4. ความโปร่งใสและความรับผิดชอบ: ธรรมาภิบาลต้องการความโปร่งใสและความรับผิดชอบในการทำธุรกรรมทางการเงินทั้งหมด รวมถึงการบริหารเงินคงคลัง
5. การปฏิบัติตามกฎระเบียบ: การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเงินคงคลังเป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้มั่นใจถึงความมั่นคงทางการเงินและชื่อเสียงขององค์กร
6. การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ: การสื่อสารเป็นกุญแจสำคัญในการทำให้มั่นใจว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดได้รับข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ทางการเงิน ความเสี่ยง และโอกาสขององค์กร
ส.อ.วุฒิชัย ถาวรรัตน์ รหัส 64423471114
Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
ตอบ ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับขบวนการบริหาร กล่าวได้ว่า ทรัพยากรในการบริหารจัดเป็นสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องโดยตรง และเป็นสภาพแวดล้อมที่จำเป็นในการบริหารงานขององค์การ สินค้าและบริการเป็นสิ่งที่องค์การได้มอบให้กับสภาพแวดล้อม และจะกลายเป็นปัจจัยหนึ่งของระบบสภาพแวดล้อม ซึ่งสภาพแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็นสภาพแวดล้อมภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอก
***แผนผัง ดังนี้ ทรัพยากรณ์การบริหาร M 4 (INPUT) ต่อมา ระบบการบริหาร (Process) ต่อมา บริการของรัฐ (OUTPUT)
ต่อมา Feed Back แล้วก็กลับเข้าสู่ระบบเดิมอย่างนี้เป็นวงกลม (สิ่งแวดล้อม Environment)
***อีก 1 แผนผัง ดังนี้ รูปแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมแต่ละประเภทขององค์การ
1.สภาพแวดล้อมเฉพาะสำหรับองค์การต่างๆของรัฐภายใน
( 1.1วัตถุดิบ 1.2 ระบบบริหารจัดการ 1.3อุปกรณ์สำนักงานและเครื่องจักร 1.4 กฎระเบียบ ฯลฯ )
2.สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของการบริหารงานของรัฐ
( 2.1 วัฒนธรรมประเพณี ค่านิยม 2.2 ทรัพยากรธรรมชาติ 2.3 สภาพภูมิศาสตร์ 2.4 เทคโนลียี,กฎหมาย 2.5 การเมืองเศรษฐกิจ 2.6 ชนชั้นและสถาบันสังคม ฯลฯ )
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
ตอบ การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่( New Public Management) จึงเป็นแนวคิดพื้นฐานของการบริหารจัดการภาครัฐซึ่งจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงระบบต่าง ๆ ของภาครัฐและยุทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ ที่เป็นรูปธรรม มีแนวทางในการบริหารจัดการ ๕ รูปธรรม ดังนี้
1.การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน
2.ลดการควบคุมจากส่วนกลางและเพิ่มอิสระในการบริหารให้แก่หน่วยงาน
3.การกำหนด การวัด และการให้รางวัลแก่ผลการดำเนินงานทั้งในระดับองค์กร และระดับบุคคล
4.การสร้างระบบสนับสนุนทั้งในด้านบุคลากร (เช่น การฝึกอบรม ระบบค่าตอบแทนและระบบคุณธรรม) เทคโนโลยี เพื่อช่วยให้หน่วยงานสามารถทำงานได้อย่างบรรลุวัตถุประสงค์
5.การเปิดกว้างต่อแนวคิดในเรื่องของการแข่งขัน ทั้งการแข่งขันระหว่างหน่วยงานของรัฐด้วยกัน และระหว่างหน่วยงานของรัฐกับหน่วยงานของภาคเอกชน ในขณะเดียวกันภาครัฐก็หันมาทบทวนตัวเองว่าสิ่งใดควรทำเองและสิ่งใดควรปล่อยให้เอกชนทำ
Assignment ที่ 3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
ตอบ การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ 10 ประการ ดังต่อไปนี้
1) มีความเชื่อว่าการบริหารงานมีลักษณะความเป็นสากลสภาพ หรือไม่มีความแตกต่าง อย่างเป็นนัยสำคัญระหว่างการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชน และการบริหารงานภาครัฐ
2) ปรับเปลี่ยนการให้น้ำหนักความสำคัญจากเดิมที่มุ่งเน้นการควบคุมทรัพยากร และกฎระเบียบ เป็นเรื่องของการควบคุมผลผลิตและผลลัพธ์ หรือปรับเปลี่ยนจากการให้ความสำคัญ ในภาระรับผิดชอบต่อกระบวนงาน (Process Accountability) ไปสู่ภาระรับผิดชอบต่อผลสัมฤทธิ์ (Accountability for result)
3) ให้ความสำคัญต่อเรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบาย
4) โอนถ่ายอ านาจการควบคุมของหน่วยงานส่วนกลาง (Devolution of Centralized Power) เพื่อให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงาน
5) ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่โดยแบ่งออกเป็น 3 ภารกิจ ได้แก่ 1. งานเชิงพาณิชย์ (การกำกับดูแล ควบคุม) 2. งานเชิงพาณิชย์ (การกำกับดูแล ควบคุม) และ 3. งานเชิงนโยบายและการให้บริการ เพื่อให้องค์การมีขนาดเล็กลงในรูปแบบของหน่วยงานอิสระใน ก ากับ
6) เน้นการบริหารกิจการของรัฐเป็นรูปแบบเอกชนและให้มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอก (Outsourcing) รวมทั้งบูรณาการวิธีการจัดจ้างและการประมูลงาน (Competitive Tendering) เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและลดต้นทุน
7) บุคลากรของภาครัฐในเรื่องการทำสัญญาจ้างปรับให้เป็นระยะสั้น กำหนดเงื่อนไข ข้อตกลงให้มีความชัดเจนสามารถตรวจสอบได้
8) นำรูปแบบการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชนที่ประสบความสำเร็จมาประยุกต์ใช้ เช่น การบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารคุณภาพเชิงรวม การจ่ายรางวัลค่าตอบแทนตามผลงาน การจัด จ้างบุคคลภายนอกให้เข้ามาปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวเฉพาะกิจ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการบริหารงาน
9) มีการสร้างแรงจูงใจในองค์การ เช่น การจ่ายตอบแทนในรูปของตัวเงินมากขึ้นเพื่อ เป็นรางวัล (Monetary Incentives) 10) พยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต เพื่อให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณที่คุ้มค่า
Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง 4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง และ4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง
จัดออกเป็น 4 กรอบใหญ่ๆดังนี้
1 การทบทวนเกี่ยวกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่ 2. แผนผังการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่
3. ขอบข่ายการบริหารการคลัง 4. ขอบข่ายการบริหารการคลัง
บทสรุป ทั้ง 4 รูปแบบนี้ได้ดังนี้ การบริหารภาคการคลังจะต้องมีการกำหนดมาตรการ การควบคุมและการดำเนินการครอบคลุมในทุกมิติการนำการจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้เพื่อการกำหนดมาตรการ หรือแนวทางการบริหาร จะทำให้การบริหารมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น เพราะการจัดการภาครัฐแนวใหม่มีรูปแบบตั้งแต่การ ศึกษาสภาพแวดล้อมและปัญหา การศึกษาเอกสารและผลการดำเนินการที่ผ่านมารวมไปถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดการดำเนินการเพราะการดำเนินการภายใต้โครงการต่างๆต้องลดปัญหาแม้ว่าจะถูกจำกัดด้วย สภาพแวดล้อมและทรัพยากรที่มีอยู่ปัจจุบันหลายประเทศใน อาเซียนประสบปัญหาคือการที่รัฐบาลไม่สามารถดำ เนินการ บริหารได้ตามที่แถลงจุดอ่อนปัญหาการบริหารการคลังที่ไม่มี คุณภาพ ขาดการวางแผน ขาดการศึกษาในเชิงลึกและขาด การวางรากฐานนโยบายสาธารณะเพื่อประชาชน เนื่องจาก หน่วยงานภาครัฐเป็นองค์การขนาดใหญ่ทำ ให้การจัดการ บริหารจัดการเพื่อให้เป็นไปตามแบบแผนเดียวกันเป็นเรื่องที่ ยากเช่น การดำ เนินการตามนโยบายผู้ที่ออกนโยบายกับผู้ที่ ดำ เนินการเป็นบุคคลคนละกลุ่มกัน ถือว่าเป็นอุปสรรคที่สำคัญ ดังนั้น การร่วมมือกันของทุกภาคส่วนเป็นขั้นตอนที่สำคัญ โดย ต้องมีการกำ หนดเป้าหมายที่ชัดเจน แนวทางการดำ เนินงานที่ แน่นอน เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้ดำ เนินการตามแนวทางเดียวกัน
4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ยกตัวอย่าง เช่น กรมพัฒนาธุรกิจการค้า แบ่งปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมมาภิบาลได้ดังนี้
(1) มีระบบการทำงานที่โปร่งใส ชัดเจน ตรวจสอบได้ (System)
(2) การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำ (Style)
(3) ใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมจากทั้งผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย (Style)
(4) มีการอบรมเพื่อปลูกฝังและกระตุ้นจิตสำนึกด้านธรรมาภิบาลอย่างต่อเนื่อง (Staff)
Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
ตอบ ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับขบวนการบริหาร กล่าวได้ว่า ทรัพยากรในการบริหารจัดเป็นสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องโดยตรง และเป็นสภาพแวดล้อมที่จำเป็นในการบริหารงานขององค์การ สินค้าและบริการเป็นสิ่งที่องค์การได้มอบให้กับสภาพแวดล้อม และจะกลายเป็นปัจจัยหนึ่งของระบบสภาพแวดล้อม ซึ่งสภาพแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็นสภาพแวดล้อมภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอก
1.สภาพแวดล้อมเฉพาะสำหรับองค์การต่างๆของรัฐภายใน
1.1วัตถุดิบ 1.2 ระบบบริหารจัดการ 1.3อุปกรณ์สำนักงานและเครื่องจักร 1.4 กฎระเบียบ
2.สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของการบริหารงานของรัฐ
2.1 วัฒนธรรมประเพณี ค่านิยม 2.2 ทรัพยากรธรรมชาติ 2.3 สภาพภูมิศาสตร์ 2.4 เทคโนลียี,กฎหมาย 2.5 การเมืองเศรษฐกิจ 2.6 ชนชั้นและสถาบันสังคม
Assignment ที่ 2.นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
ตอบ ภายใต้ยุคใหม่ของระบบเครือข่ายสื่อสารออนไลน์ การจัดการระบบราชการจำเป็นต้องพัฒนาเพื่อปรับให้เข้ากับภูมิทัศน์ที่เปลี่ยนไป องค์ประกอบที่สำคัญบางประการทได้แก่
1. การสื่อสาร เนื่องจากการสื่อสารมีการกระจายอำนาจและไม่เป็นทางการมากขึ้น จึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้จัดการที่จะต้องแน่ใจว่าช่องทางการสื่อสารยังคงเปิดกว้างและโปร่งใส
2. ความยืดหยุ่น ธรรมชาติของการสื่อสารออนไลน์ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทำให้ผู้จัดการต้องมีความคล่องตัวและปรับตัวได้
3. การทำงานร่วมกัน เมื่อทีมเสมือนกลายเป็นเรื่องธรรมดามากขึ้น ผู้จัดการต้องจัดลำดับความสำคัญของการทำงานร่วมกันระหว่างแผนก สถานที่ และแม้แต่อุตสาหกรรม
4. การจัดการข้อมูล ด้วยการเพิ่มจำนวนของข้อมูลในการสื่อสารออนไลน์ ผู้จัดการจำเป็นต้องพัฒนาระบบและกระบวนการใหม่สำหรับการจัดการ วิเคราะห์ และใช้ประโยชน์จากข้อมูล
Assignment ที่ 3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
ตอบ การเปลี่ยนแปลงบทบาทของภาครัฐตามแนวคิด NPG นี้ ทำให้รัฐมีสภาพที่เล็ก
ลงด้วยอ านาจและภาระหน้าที่ แต่สังคมจะใหญ่ขึ้น (Smaller Government, Bigger Society) ดังนั้น
แนวคิด NPG จึงเป็นการใช้ “กลไกเครือข่ายและหุ้นส่วนภาคี” เป็นตัวขับเคลื่อนการด าเนินนโยบาย
สาธารณะและการส่งมอบบริการสาธารณะ
แนวคิดการจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) สามารถน ามาประยุกต์ใช้กับ
การจัดการปกครองท้องถิ่น (Local Governance) ที่สามารถปรับเปลี่ยนการบริหารจากแนวคิดแบบ
ดั้งเดิมที่เน้นระบบราชการและสายการบังคับบัญชาไปสู่การจัดการแบบเครือข่ายที่เปิดโอกาสให้เกิด
ความร่วมมือกันของทุก ๆ ภาคส่วนในท้องถิ่นมามีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายและการส่งมอบ
บริการสาธารณะหรือกิจกรรมสาธารณะอื่น ๆ ได้ เพื่อเป็นการเสริมสร้างพลังอ านาจและความเข้มแข็ง
ให้กับชุมชนท้องถิ่น มีทุนทางสังคม (Social Capital) ที่จะเป็นพลังอ านาจในการต่อรองและสร้าง
ความสมานฉันท์ให้เกิดขึ้นในสังคมต่อไป
Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง 4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง และ4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ตอบ
4.1) การจัดการคลังเป็นหน้าที่ที่สำคัญในองค์กรใดๆ และเกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรทางการเงินขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่ามีการใช้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในการจัดระเบียบงานคลัง สามารถพัฒนากรอบการทำงานตามขอบเขตของการจัดการคลัง
1. การจัดการเงินสด: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการจัดการกระแสเงินสดขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่ามีเงินสดเพียงพอที่จะปฏิบัติตามภาระผูกพันทางการเงินเสมอ
2. การจัดการความเสี่ยง: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการระบุ ประเมิน และจัดการความเสี่ยงทางการเงินที่องค์กรเผชิญ เช่นการระบุและประเมินความเสี่ยง และการใช้กลยุทธ์การลดความเสี่ยง
3. การจัดการการลงทุน: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการจัดการพอร์ตการลงทุนขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่าสร้างผลตอบแทนที่ยอมรับได้ในขณะที่ลดความเสี่ยงให้น้อยที่สุด
4. การจัดการหนี้: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการจัดการพอร์ตสินเชื่อขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่ามีโครงสร้างที่เหมาะสมที่สุดและปฏิบัติตามภาระผูกพันในการชำระหนี้
4.2) ธรรมาภิบาลในการบริหารเงินคงคลังเกี่ยวข้องกับปัจจัยแห่งความสำเร็จหลายประการ ซึ่งจำเป็นต่อการสร้างความมั่นคงทางการเงินและความรับผิดชอบ
1. นโยบายและขั้นตอนที่ชัดเจน: ควรมีนโยบายและขั้นตอนที่ชัดเจนสำหรับการบริหารเงิน ซึ่งสรุปบทบาทและความรับผิดชอบของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ
2. การจัดการเงินสดอย่างมีประสิทธิภาพ: การจัดการเงินสดอย่างมีประสิทธิภาพมีความสำคัญต่อการทำให้แน่ใจว่าเงินจะพร้อมใช้เมื่อจำเป็น ในขณะที่ลดต้นทุนการกู้ยืม
3 การบริหารความเสี่ยงที่แข็งแกร่ง: การบริหารเงินคลังควรรวมถึงแนวทางปฏิบัติในการบริหารความเสี่ยงที่แข็งแกร่ง ซึ่งระบุ ประเมิน และติดตามความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพทางการเงินขององค์กร
4. ความโปร่งใสและความรับผิดชอบ: ธรรมาภิบาลต้องการความโปร่งใสและความรับผิดชอบในการทำธุรกรรมทางการเงินทั้งหมด รวมถึงการบริหารเงินคงคลัง
5. การปฏิบัติตามกฎระเบียบ: การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเงินคงคลังเป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้มั่นใจถึงความมั่นคงทางการเงินและชื่อเสียงขององค์กร
6. การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ: การสื่อสารเป็นกุญแจสำคัญในการทำให้มั่นใจว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดได้รับข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ทางการเงิน ความเสี่ยง และโอกาสขององค์กร
ตอบ สิ่งแวดล้อมทางการบริหาร หมายถึง สภาพของปัจจัยต่างๆ ที่อยู่ภายในและภายนอกองค์การของรัฐ และเอกชนซึ่งสามารถส่งอิทธิพลมายังภายในของระบบการบริหารองค์การ อันมีผลต่อประสิทธิภาพและความสำเร็จของการบริหารงานในองค์การ สิ่งแวดล้อม ถือเป็นเครื่องมือที่มีความสำคัญยิ่งในการกำหนดนโยบายการบริหารงาน นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือที่ช่วยชี้วัดความสำเร็จของการบริหาร และถือเป็นทรัพยากรหรือวัตถุดิบสำหรับป้อนให้กับระบบการบริหารเพื่อทำการแปรรูปให้เป็นสินค้าหรือบริการตามนโยบายขององค์การความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับการบริหาร ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับขบวนการบริหาร กล่าวได้ว่า ทรัพยากรในการบริหารจัดเป็นสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องโดยตรง และเป็นสภาพแวดล้อมที่จำเป็นในการบริหารงานขององค์การ สินค้าและบริการเป็นสิ่งที่องค์การได้มอบให้กับสภาพแวดล้อม และจะกลายเป็นปัจจัยหนึ่งของระบบสภาพแวดล้อม ซึ่งสภาพแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็นสภาพแวดล้อมภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอก
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
ตอบ การให้บริการภาครัฐผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Government e-Service): มิติใหม่ของการให้บริการภาครัฐเพื่อประชาชน
ในยุคดิจิทัลเช่นนี้ หลายประเทศได้ให้ความสำคัญกับการให้บริการภาครัฐผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Government e-Service) ซึ่งหมายถึง การจัดการบริการต่าง ๆ ของภาครัฐให้กับประชาชนผ่านช่องทางออนไลน์ เพื่อเป็นการเพิ่มช่องทางให้กับประชาชนในการติดต่อและขอรับบริการจากภาครัฐ ซึ่งช่องทางดังกล่าวสามารถตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวกรวดเร็วและประหยัด เนื่องจากผู้ใช้สามารถรับบริการต่าง ๆ ผ่านช่องทางออนไลน์ แทนการเดินทางมาติดต่อที่หน่วยงานหรือสำนักงาน รวมถึงช่วยลดช่องว่างและความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงข้อมูลและบริการภาครัฐต่าง ๆ ได้ นอกจากนี้ภาครัฐก็สามารถชี้แจงและเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการเข้ารับบริการแก่ประชาชนได้อย่างทั่วถึง ซึ่งเมื่อใดก็ตามที่ผู้ใช้งานทำรายการผ่าน e-Service ระบบจะบันทึกรายละเอียดทั้งหมดเก็บไว้ในรูปแบบออนไลน์ที่ช่วยลดการตรวจสอบและประหยัดเวลาในการจัดทำเอกสารของเจ้าหน้าที่รัฐได้
ปัจจุบัน ความต้องการและพฤติกรรมของผู้บริโภคมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเมื่อผู้บริโภคหันมาใช้แพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเพิ่มมากขึ้น ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ไม่ว่าจะเป็น การซื้อขายสินค้าและบริการ การศึกษา การติดต่อสื่อสาร การทำงาน และอื่น ๆ ดังนั้น ช่องทางออนไลน์จึงสามารถตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภคและมีอัตราการเติบโตสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง [1] และในขณะเดียวกัน ผู้บริโภคก็คาดหวังว่าบริการต่าง ๆ เหล่านั้น จะตอบโจทย์ทั้งความต้องการส่วนบุคคล (Personalization) และความคาดหวังในการเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ อย่างครบถ้วน เพราะเหตุนี้ การเปลี่ยนแปลงความต้องการและพฤติกรรมผู้บริโภคข้างต้น จึงไม่ได้ส่งผลกระทบเฉพาะภาคเอกชนในเชิงเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ยังส่งผลทำให้ประชาชนมีความคาดหวังต่อการบริการภาครัฐสูงขึ้นตามไปด้วย
ดังนั้น การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและการพัฒนาการจัดบริการสาธารณะผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ จึงเป็นมิติที่ภาครัฐต้องปรับตัวและให้ความสำคัญ เพื่อที่จะตอบสนองต่อความต้องการและพฤติกรรมของประชาชนและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้อย่างก้าวทันสถานการณ์
ตอบ ถ้าจะจำแนกแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารจัดการตามเนื้อหาหรือสาระสาคัญที่ เป็นจุดเน้นของแนวคิดทางด้านเนื้อหาหรือสาระสาคัญที่เป็นจุดเน้นของแนวคิดทางด้านการบริหาร จัดการแล้ว จะจาแนกได้เป็นแนวคิดและทฏษฎีคือ (1) แนวคิดและทฤษฎีที่เน้นงาน (2) แนวคิด และทฤษฎีที่เน้นคน (3) แนวคิดและทฤษฎีที่เน้นระบบ และ(4) แนวคิดการบริหารงานเชิง สถานการณ์หรือตามเหตุการณ์ ซึ่งทั้งหมดเป็นแนวคิดและทฤษฎีที่เกิดจากการบูรณาการแนวคิด และทฤษฎีที่เน้นงาน เน้นคน และเน้นระบบ ซึ่งมีสาระสาคัญโดยสังเขปดังนี้ 1. แนวคิดและทฤษฎีที่เน้นงาน
สาระสำคัญมีอยู่ว่าการดำเนินงานของอค์การจะสำเร็จได้จะต้องมุ่งเน้นหรือให้ ความสำคัญกับตัวงาน หรือภารกิจที่จะต้องทำ ส่วนองค์ประกอบอื่น ๆ ในการดำเนินงานของ องค์การ เช่น ทรัพยากรมนุษย์ เครื่องไม้เครื่องมือหรืออุปกรณ์อื่นใดจะมีความสาคัญน้อยกว่า สาหรับผู้ที่เสนอรูปแบบและวิธีการบริหารจัดการตามแนวคิดแรกนี้ที่สำคัญได้
2. แนวคิดและทฤษฎีที่เน้นคน แนวคิดและทฤษฎีในกลุ่มนี้ไม่เห็นด้วยกับวิธีการที่จะให้ความสำคัญกับงานและวิธีการ บริหารงานว่าจะเป็นเครื่องมือช่วยให้การดำเนินงานขององค์การประสบผลสำเร็จได้เสมอไป แต่เห็นว่าถ้าต้องการจะเห็นความสำเร็จในการดำเนินงานขององค์การแล้ว จะต้องมุ่งความสนใจไปที่ ตัว “คน” ที่อยู่ในองค์การ ทั้งนี้เพราะคนเป็นทรัพยากรทางการบริหารจัดการชนิดเดียวที่มี ความรู้สึกนึกคิดและความรู้สึกนึกคิดของคนนี้จะส่งผลกระทบให้การบริหารจัดการสำเร็จหรือ ล้มเหลวได้ ดังนั้นพนักงานจึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญที่สุดต่อการดาเนินงานขององค์การ 3. แนวคิดและทฤษฎีที่เน้นระบบ มีสาระสาคัญอยู่ที่ว่าจะต้องมองการบริหารงานขององค์การทั้งระบบเพราะการ บริหารงานในองค์การใด ๆ ก็ตามย่อมจะมีองค์ประกอบหลายประการและองค์ประกอบเหล่านี้จะ ผสมผสานกันกลายเป็นระบบบริหารงานระบบหนึ่งขึ้นมาซึ่งประกอบด้วย (1) ส่วนนำเข้า ซึ่งได้แก่ ทรัพยากรทางด้านการบริหารจัดการอันจะช่วยให้องค์การสามารถดาเนินงานต่อไปได้ (2) ส่วนที่ทาการแปรเปลี่ยน ซึ่งได้แก่ การบริหารหรือการจัดการ และ (3) ส่วนผลผลิตหรือส่วนผลลัพธ์ ซึ่งได้แก่ สินค้าและบริการอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงส่วน นำเข้า
ตอบ 4.1การบริหารภาคการคลังจะต้องมีการกำหนดมาตรการ การควบคุมและการดำเนินการ ครอบคลุมในทุกมิติ การนำการจัดการภาครัฐแนวใหม่ มาใช้เพื่อกำหนดมาตรการ หรือแนวทางการบริหารจะทำให้มีการบริหาร มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะการจัดการภาครัฐ แนวใหม่มีรูปแบบตั้งแต่การศึกษา สภาพแวดล้อมและปัญหาการศึกษาเอกสารและผลการดำเนินการที่ผ่านมารวมไปถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดการดำเนินการเพราะการดำเนินการภายใต้โครงการต่างๆ ต้องลดปัญหาแม้ว่าจะถูกจำกัดด้วยสภาพแวดล้อมและทรัพยากรที่มีอยู่ปัจจุบันหลายประเทศในอาเซียนประสบปัญหาคือ การที่รัฐบาลไม่สามารถดำเนินการบริหารได้ตามที่แถลง. ออนปัญหาการบริหารการคลังที่ไม่มีคุณภาพขาดการวางแผนหาการศึกษาเชิงลึกและขาดการวางรากฐานนโยบายสาธารณะเพื่อประชาชนเนื่องจากหน่วยงานภาครัฐเป็นองค์กรขนาดใหญ่ทำให้การจัดการการบริหารจัดการเพื่อให้เป็นไปตามแบบแผนเดียวกันเป็นเรื่องที่ยากเช่น การดำเนินการตามนโยบายที่ผู้ออกนโยบายกับผู้ที่ดำเนินการเป็นบุคคลคนละกลุ่มกันถือว่าเป็นอุปสรรคที่สำคัญดังนั้นการร่วมมือกันของคนทุกภาคส่วนเป็นขั้นตอนที่สำคัญโดยต้องมีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจนแนวทางการดำเนินงานที่แน่นอนเพื่อให้ทุกภาคส่วนได้ดำเนินการตามแนวทางเดียวกัน
4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง คือ การจัดการและการคัดเลือกผู้นํา เพื่อเป็นผู้กําหนด ทิศทางการคลังในทุกภาคส่วน จะต้องมีการบริหารงานด้าน การจัดซื้อจัดจ้างให้สอดคล้องกับหน่วยงาน สอดคล้องกับ ความต้องการในด้านประโยชน์ และสอดคล้องกับเป้าหมายวัตถุประสงค์ ของแผนงานหรือแผนกลยุทธ์รวมท้ังกําหนดขอบเขตความ รับผิดชอบและบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน ทั้งน้ี ผู้นําจะต้องมี ความสามารถ มีความซื่อสัตย์ และสามารถประสานงานได้ดี ทุกภาคส่วนของหน่วยงานภาครัฐ การจัดการนโยบายและการวางแผนจะต้องใช้หลักการเชิงกลยุทธ์ เข้ามาเป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อน การประเมินผลกระทบภายในองค์กร ในการจัดสรรงบประมาณต้องมีการประเมินผลกระทบภายนอกควบคู่ด้วยเช่นกัน เพื่อให้การจัดการที่มีประสิทธิภาพ การคลังจะต้องสร้างความร่วมมือ กับทุกองค์การ และทุกหน่วยงานทั้งหน่วยงานภาครัฐและ หน่วยงานภาคเอกชน มีการจัดการผู้จัดจําหน่าย (Supplier) ลดการผูกขาด (Reduce Monopoly) เน้นประสิทธิภาพใน การตรวจสอบและการกำกับดูแล สัญญาใส่ใจในการรับผิดชอบทางการเงิน การจัดการงานบุคคล การส่ังสมทุนมนุษย์ การสร้าง วัฒนธรรมในองค์การมีแต่ความซื่อสัตย์และมีกระบวนการ กําากับดูแลท่ีมีประสิทธิภาพมีการควบคุมอย่างชัดเจน สนบัสนนุการสรา้งพฤตกิรรมทมี่จีรยิธรรมในการปฏิบัติหน้าท่ีข้อมูลข่าวสาร การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้า มาจัดการข้อมูล มีการติดตามผล การวางฐานข้อมูลทาง การเงินและระบบนั้นจะต้องให้ง่ายต่อความเข้าใจในระดับ ผู้บริหารระบบป้องกันและจัดการให้ข้อมูลเป็นความลับ
1.นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
ตอบ. ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับขบวนการบริหาร กล่าวได้ว่า ทรัพยากรในการบริหารจัดเป็นสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องโดยตรง และเป็นสภาพแวดล้อมที่จำเป็นในการบริหารงานขององค์การ สินค้าและบริการเป็นสิ่งที่องค์การได้มอบให้กับสภาพแวดล้อม และจะกลายเป็นปัจจัยหนึ่งของระบบสภาพแวดล้อม ซึ่งสภาพแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็นสภาพแวดล้อมภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอก
แผนผัง ทรัพยากรณ์การบริหาร M 4 (INPUT) ต่อมา ระบบการบริหาร (Process) ต่อมา บริการของรัฐ (OUTPUT)ต่อมา Feed Back แล้วก็กลับเข้าสู่ระบบเดิมอย่างนี้เป็นวงกลม
2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
ตอบ องค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการของหน่วยงานภาครัฐต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการ ดำเนินการตามแนวทางที่กำหนดขึ้นสำหรับการปฏิบัติงานทางสื่อสังคมออนไลน์เพื่อทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ ขององค์การ ซึ่งมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งต่อบทบาทของภาครัฐต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อพัฒนา คุณภาพในการรายงานข่าวและควบคุมมาตรฐานในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการรับข้อมูล ใช้ข้อมูล และผลิต จากสื่อสังคมออนไลน์ต่อประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับท้องถิ่นจนถึงระดับชาติ เพื่อยกระดับบทบาทของ หน่วยงานภาครัฐต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในสังคมไทยให้มีคุณภาพและเป็นการพัฒนาคนจากการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยผ่านสื่อสังคมออนไลน์แบ่งเป็น 6 ด้าน ได้แก่ 1. การประชาสัมพันธ์ การสื่อสารแนวคิด ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ระหว่างหน่วยงาน ภาครัฐกับ ประชาชนเพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกัน และส่งเสริมความเข้าใจอันถูกต้องต่อกัน 2. บทบาทตามที่กำหนด การปฏิบัติงานตามบทบาทในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง 3. การส่งเสริมภาพลักษณ์ การส่งเสริมภาพรวมขององค์กร การบริหารองค์กร ผลิตภัณฑ์ การ บริการและการประชาสัมพันธ์ ตลอดจนความรู้สึกและความประทับใจของบุคคลที่มีต่อหน่วยงานภาครัฐ องค์กร 4. การมีส่วนร่วมของประชาชน การที่ประชาชนให้ความร่วมมือในการเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์ของ หน่วยงานภาครัฐ 5. การให้บริการประชาชน การปฏิบัติงานที่กระทำหรือติดต่อและเกี่ยวข้องกับผู้ใช้บริการ การให้ บุคคลได้ใช้ประโยชน์ในทางใดทางหนึ่ง ทั้งด้วยความพยายามในการทำให้คนที่เกี่ยวข้องได้รับความช่วยเหลือ 6. การสนับสนุนการประกอบอาชีพ การส่งเสริมและสนับสนุนการประกอบกิจการงานเป็นอาชีพ ของประชาชนเพื่อให้ได้มาซึ่งเงินรายได้โดยหน่วยงานภาครัฐ
3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
ตอบ การจัดการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่ (NPG) เป็นวาทกรรมทางเลือก ที่เปิดมุมมองทั้งทางทฤษฎีและวิธีการปฏิบัติงานของภาครัฐให้มีความชัดเจนและสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นของสังคมโลกในศตวรรษที่ 21 การเปลี่ยนแปลงที่ทำให้การบริหาร ภาครัฐแบบดั้งเดิมที่ใช้ “กลไกราชการ” และแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ ที่ใช้ “กลไก ตลาด” ในการบริหารงานอาจจะมีจุดอ่อน และไม่สามารถรับมือกับกระแสการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ ได้ แนวคิด NPG ได้นำเสนอมุมมองในการวิเคราะห์และการทำความเข้าใจในกิจกรรมสาธารณะที่ ไม่ได้มีภาครัฐเป็นเจ้าภาพผูกขาดอำนาจแต่เพียงฝ่ายเดียว ทั้งการกำหนดและการนำนโยบาย สาธารณะไปสู่การปฏิบัติ การส่งมอบบริการสาธารณะและ/หรือกิจกรรมสาธารณะอื่น ๆ ล้วนแล้วแต่ มีภาคส่วนและตัวแสดงอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากรัฐเข้ามามีส่วนร่วมด้วยทั้งสิ้น ทำให้กลายเป็นสังคมแบบ พหุลักษณ์และพหุนิยม การเปลี่ยนแปลงบทบาทของภาครัฐตามแนวคิด NPG นี้ ทำให้รัฐมีสภาพที่เล็ก ลงด้วยอำนาจและภาระหน้าที่ แต่สังคมจะใหญ่ขึ้น ดังนั้น แนวคิด NPG จึงเป็นการใช้ “กลไกเครือข่ายและหุ้นส่วนภาคี” เป็นตัวขับเคลื่อนการดำเนินนโยบายสาธารณะและการส่งมอบบริการสาธารณะ แนวคิดการจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับ การจัดการปกครองท้องถิ่น ที่สามารถปรับเปลี่ยนการบริหารจากแนวคิดแบบ ดั้งเดิมที่เน้นระบบราชการและสายการบังคับบัญชาไปสู่การจัดการแบบเครือข่ายที่เปิดโอกาสให้เกิด ความร่วมมือกันของทุก ๆ ภาคส่วนในท้องถิ่นมามีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายและการส่งมอบ บริการสาธารณะหรือกิจกรรมสาธารณะอื่น ๆ ได้ เพื่อเป็นการเสริมสร้างพลังอำนาจและความเข้มแข็ง ให้กับชุมชนท้องถิ่น มีทุนทางสังคม ที่จะเป็นพลังอำนาจในการต่อรองและสร้าง ความสมานฉันท์ให้เกิดขึ้นในสังคมต่อไป
4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง
4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง
ตอบ การบริหารการคลัง พื้นฐานการบริหารการคลังที่มีประสิทธิภาพ และสร้าง ประสิทธิผลต่องานทางด้านการคลัง หน่วยงานภาครัฐจะต้อง กำหนดประเด็นสำคัญในการบริหารให้แยกออกเป็นขอบข่าย ที่สำคัญ 4 ขอบข่าย ดังต่อไปนี้การจัดการและการคัดเลือก ผู้นำ การ จัดการนโยบายและการวางแผน การจัดการส่วนบุคคล และ ข้อมูลข่าวสาร การจัดการและการคัดเลือกผู้นำ เพื่อเป็นผู้กำ หนด ทิศทางการคลังในทุกภาคส่วน จะต้องมีการบริหารงานด้าน การจัดซื้อจัดจ้างให้สอดคล้องกับหน่วยงาน สอดคล้องกับ ความต้องการในด้านประโยชน์และสอดคล้องกับเป้าประสงค์ ของแผนงาน หรือแผนกลยุทธ์รวมทั้งกำหนดขอบเขตความ รับผิดชอบและบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน ทั้งนี้ผู้นำ จะต้องมี ความสามารถ มีความซื่อสัตย์และสามารถประสานงานได้ดี ทุกภาคส่วนของหน่วยงานภาครัฐ การจัดการนโยบายและการวางแผน จะต้องใช้หลักการ เชิงกลยุทธ์เข้ามาเป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อน มีการประเมิน ผลกระทบภายในองค์การในการจัดสรรงบประมาณ และต้อง มีการประเมินผลกระทบภายนอกควบคู่ด้วยเช่นกัน เพื่อการ จัดการที่มีประสิทธิภาพ การคลังจะต้องสร้างความร่วมมือ กับทุกองค์การ และทุกหน่วยงานทั้งหน่วยงานภาครัฐและ หน่วยงานภาคเอกชน มีการจัดการผู้จัดจำหน่าย ลดการผูกขาดเน้นประสิทธิภาพใน การตรวจสอบและการกำกับดูแลสัญญาใส่ใจในการรับผิดชอบ ทางการเงิน การจัดการงานบุคคล การสั่งสมทุนมนุษย์การสร้าง วัฒนธรรมในองค์การมีแต่ความซื่อสัตย์และมีกระบวนการ กำ กับดูแลที่มีประสิทธิภาพมีการควบคุมอย่างชัดเจน สนับสนุนการสร้างพฤติกรรมที่มีจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ ข้อมูลข่าวสาร การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้า มาจัดการข้อมูล มีการติดตามผล การวางฐานข้อมูลทาง การเงินและระบบนั้นจะต้องให้ง่ายต่อความเข้าใจในระดับ ผู้บริหาร มีระบบป้องกัน และการจัดการให้ข้อมูลเป็นความลับ
4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ตอบ ปัจจัยความสำเร็จในการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลัง ขององค์กร
ต้นแบบที่ดีภาครัฐ ปัจจัยความสำเร็จในการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลังขององค์กร ต้นแบบที่ดีภาครัฐทั้ง 6 องค์กร ส่วนใหญ่เป็นปัจจัย ความสำเร็จในด้านรูปแบบ และด้านการจัด บุคคลเข้าทำงาน ซึ่งประกอบด้วย (1) การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำ (2) การเปิด โอกาสให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมใน การเสนอความคิดเห็นและปัญหา และ (3) มีกิจกรรมและการอบรมการนำหลักธรรมาภิบาลมา ใช้ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง
Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ ตอบ ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับขบวนการบริหาร กล่าวได้ว่า ทรัพยากรในการบริหารจัดเป็นสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องโดยตรง และเป็นสภาพแวดล้อมที่จาเป็นในการบริหารงานขององค์การ สินค้าและบริการเป็นสิ่งที่องค์การได้มอบให้กับสภาพแวดล้อม และจะกลายเป็นปัจจัยหนึ่งของระบบสภาพแวดล้อม ซึ่งสภาพแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็นสภาพแวดล้อมภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอก 1.สภาพแวดล้อมเฉพาะสาหรับองค์การต่างๆของรัฐภายใน 1.1วัตถุดิบ 1.2 ระบบบริหารจัดการ 1.3อุปกรณ์สานักงานและเครื่องจักร 1.4 กฎระเบียบ 2.สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของการบริหารงานของรัฐ 2.1 วัฒนธรรมประเพณี ค่านิยม 2.2 ทรัพยากรธรรมชาติ 2.3 สภาพภูมิศาสตร์ 2.4 เทคโนลียี,กฎหมาย 2.5 การเมืองเศรษฐกิจ 2.6 ชนชั้นและสถาบันสังคม Assignment ที่ 2.นักศึกษานาเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค ตอบ ภายใต้ยุคใหม่ของระบบเครือข่ายสื่อสารออนไลน์ การจัดการระบบราชการจาเป็นต้องพัฒนาเพื่อปรับให้เข้ากับภูมิทัศน์ที่เปลี่ยนไป องค์ประกอบที่สาคัญบางประการทได้แก่ 1. การสื่อสาร เนื่องจากการสื่อสารมีการกระจายอานาจและไม่เป็นทางการมากขึ้น จึงเป็นสิ่งสาคัญสาหรับผู้จัดการที่จะต้องแน่ใจว่าช่องทางการสื่อสารยังคงเปิดกว้างและโปร่งใส 2. ความยืดหยุ่น ธรรมชาติของการสื่อสารออนไลน์ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทาให้ผู้จัดการต้องมีความคล่องตัวและปรับตัวได้ 3. การทางานร่วมกัน เมื่อทีมเสมือนกลายเป็นเรื่องธรรมดามากขึ้น ผู้จัดการต้องจัดลาดับความสาคัญของการทางานร่วมกันระหว่างแผนก สถานที่ และแม้แต่อุตสาหกรรม 4. การจัดการข้อมูล ด้วยการเพิ่มจานวนของข้อมูลในการสื่อสารออนไลน์ ผู้จัดการจาเป็นต้องพัฒนาระบบและกระบวนการใหม่สาหรับการจัดการ วิเคราะห์ และใช้ประโยชน์จากข้อมูล
Assignment ที่ 3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่ ตอบ การเปลี่ยนแปลงบทบาทของภาครัฐตามแนวคิด NPG นี้ ทาให้รัฐมีสภาพที่เล็ก ลงด้วยอานาจและภาระหน้าที่ แต่สังคมจะใหญ่ขึ้น (Smaller Government, Bigger Society) ดังนั้น แนวคิด NPG จึงเป็นการใช้ “กลไกเครือข่ายและหุ้นส่วนภาคี” เป็นตัวขับเคลื่อนการดาเนินนโยบาย สาธารณะและการส่งมอบบริการสาธารณะ แนวคิดการจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) สามารถนามาประยุกต์ใช้กับ การจัดการปกครองท้องถิ่น (Local Governance) ที่สามารถปรับเปลี่ยนการบริหารจากแนวคิดแบบ ดั้งเดิมที่เน้นระบบราชการและสายการบังคับบัญชาไปสู่การจัดการแบบเครือข่ายที่เปิดโอกาสให้เกิด ความร่วมมือกันของทุก ๆ ภาคส่วนในท้องถิ่นมามีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายและการส่งมอบ บริการสาธารณะหรือกิจกรรมสาธารณะอื่น ๆ ได้ เพื่อเป็นการเสริมสร้างพลังอานาจและความเข้มแข็ง ให้กับชุมชนท้องถิ่น มีทุนทางสังคม (Social Capital) ที่จะเป็นพลังอานาจในการต่อรองและสร้าง ความสมานฉันท์ให้เกิดขึ้นในสังคมต่อไป Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง 4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง และ4.2 ปัจจัยความสาเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง ตอบ 4.1) การจัดการคลังเป็นหน้าที่ที่สาคัญในองค์กรใดๆ และเกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรทางการเงินขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่ามีการใช้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในการจัดระเบียบงานคลัง สามารถพัฒนากรอบการทางานตามขอบเขตของการจัดการคลัง
1. การจัดการเงินสด: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการจัดการกระแสเงินสดขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่ามีเงินสดเพียงพอที่จะปฏิบัติตามภาระผูกพันทางการเงินเสมอ 2. การจัดการความเสี่ยง: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการระบุ ประเมิน และจัดการความเสี่ยงทางการเงินที่องค์กรเผชิญ เช่นการระบุและประเมินความเสี่ยง และการใช้กลยุทธ์การลดความเสี่ยง 3. การจัดการการลงทุน: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการจัดการพอร์ตการลงทุนขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่าสร้างผลตอบแทนที่ยอมรับได้ในขณะที่ลดความเสี่ยงให้น้อยที่สุด 4. การจัดการหนี้: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการจัดการพอร์ตสินเชื่อขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่ามีโครงสร้างที่เหมาะสมที่สุดและปฏิบัติตามภาระผูกพันในการชาระหนี้ 4.2) ธรรมาภิบาลในการบริหารเงินคงคลังเกี่ยวข้องกับปัจจัยแห่งความสาเร็จหลายประการ ซึ่งจาเป็นต่อการสร้างความมั่นคงทางการเงินและความรับผิดชอบ 1. นโยบายและขั้นตอนที่ชัดเจน: ควรมีนโยบายและขั้นตอนที่ชัดเจนสาหรับการบริหารเงิน ซึ่งสรุปบทบาทและความรับผิดชอบของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ 2. การจัดการเงินสดอย่างมีประสิทธิภาพ: การจัดการเงินสดอย่างมีประสิทธิภาพมีความสาคัญต่อการทาให้แน่ใจว่าเงินจะพร้อมใช้เมื่อจาเป็น ในขณะที่ลดต้นทุนการกู้ยืม 3 การบริหารความเสี่ยงที่แข็งแกร่ง: การบริหารเงินคลังควรรวมถึงแนวทางปฏิบัติในการบริหารความเสี่ยงที่แข็งแกร่ง ซึ่งระบุ ประเมิน และติดตามความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพทางการเงินขององค์กร 4. ความโปร่งใสและความรับผิดชอบ: ธรรมาภิบาลต้องการความโปร่งใสและความรับผิดชอบในการทาธุรกรรมทางการเงินทั้งหมด รวมถึงการบริหารเงินคงคลัง 5. การปฏิบัติตามกฎระเบียบ: การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเงินคงคลังเป็นสิ่งสาคัญเพื่อให้มั่นใจถึงความมั่นคงทางการเงินและชื่อเสียงขององค์กร 6. การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ: การสื่อสารเป็นกุญแจสาคัญในการทาให้มั่นใจว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดได้รับข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ทางการเงิน ความเสี่ยง และโอกาสขององค์กร
Assignment ที่ 1.นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับขบวนการบริหาร กล่าวได้ว่า ทรัพยากรในการบริหารจัดเป็นสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องโดยตรง และเป็นสภาพแวดล้อมที่จำเป็นในการบริหารงานขององค์การ สินค้าและบริการเป็นสิ่งที่องค์การได้มอบให้กับสภาพแวดล้อม และจะกลายเป็นปัจจัยหนึ่งของระบบสภาพแวดล้อม ซึ่งสภาพแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็นสภาพแวดล้อมภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอก
1.สภาพแวดล้อมเฉพาะสำหรับองค์การต่างๆของรัฐ (ภายใน)
วัตถุดิบ / ระบบบริหารจัดการ / อุปกรณ์สำนักงานและเครื่องจักร / กฎระเบียบ
2.สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของการบริหารงานของรัฐ (ภายนอก)
วัฒนธรรมประเพณี ค่านิยม / ทรัพยากรธรรมชาติ / สภาพภูมิศาสตร์ / เทคโนลียี,กฎหมาย / การเมืองเศรษฐกิจ / ชนชั้นและสถาบันสังคม
Assignment ที่ 2.นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่เป็นการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐ โดยนำหลักการ เพิ่มประสิทธิภาพและการแสวงหาประสิทธิภาพของระบบราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ นำเอาแนวทางหรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้กับการบริหารงานภาครัฐ ตลอดทั้งการมุ่งเน้น การให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ เหตุผลที่มีการนำแนวคิดการบริหารงานภาครัฐแนวใหม่มาใช้เนื่องจากกระแสโลกาภิวัตน์ เช่น
1. การสื่อสาร เนื่องจากการสื่อสารมีการกระจายอำนาจและไม่เป็นทางการมากขึ้น จึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้จัดการที่จะต้องแน่ใจว่าช่องทางการสื่อสารยังคงเปิดกว้างและโปร่งใส
2. ความยืดหยุ่น ธรรมชาติของการสื่อสารออนไลน์ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทำให้ผู้จัดการต้องมีความคล่องตัวและปรับตัวได้
3. การทำงานร่วมกัน เมื่อทีมเสมือนกลายเป็นเรื่องธรรมดามากขึ้น ผู้จัดการต้องจัดลำดับความสำคัญของการทำงานร่วมกันระหว่างแผนก สถานที่ และแม้แต่อุตสาหกรรม
4. การจัดการข้อมูล ด้วยการเพิ่มจำนวนของข้อมูลในการสื่อสารออนไลน์ ผู้จัดการจำเป็นต้องพัฒนาระบบและกระบวนการใหม่สำหรับการจัดการ วิเคราะห์ และใช้ประโยชน์จากข้อมูล
Assignment ที่ 3.อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
การจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) มีรากฐานมาจากการศึกษาสถาบันและ เครือข่ายที่ตั้งอยู่บนการพิจารณารัฐในลักษณะที่มี ความแตกต่างหลากหลายภายในตนเองหรือรัฐพหุลักษณ์ (Plural State) ซึ่งเป็นการมองว่ารัฐเป็น ตัวแสดงที่ประกอบด้วยองค์กรและองค์กรและหน่วยงานต่าง ๆ ที่พึ่งพาอาศัยกัน หลากหลายระดับ และหลายรูปแบบเข้ามามีบทบาทในการจัดให้มีบริการสาธารณะให้แก่ประชาชน (A Plural State: Where Multiple Interdependent Actors Contribute to The Delivery of Public Services) ส่วนรัฐพหุนิยม (Pluralist State) เป็นบริบทที่ภาครัฐต้องเผชิญกับสภาพสังคมที่มีความแตกต่าง หลากหลายในมิติต่างๆ ดังนั้น แนวคิดการจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) จึงเป็น ความพยายามที่จะทำความเข้าใจถึงการพัฒนาการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติและการส่งมอบ บริการสาธารณะในสภาพของความเป็นจริง ภายใต้สถานการณ์ของรัฐในศตวรรษที่ 21 ที่มีทั้ง ความแตกต่างหลากหลายและความสลับซับซ้อนของตัวแสดงที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับการทำงาน ของภาครัฐ อีกทั้งความซับซ้อนของสังคมแบบพหุและความหลากหลายของหน่วยงานหรือองค์กร ต่าง ๆ ที่อยู่ภายในโครงสร้างของรัฐเอง
Assignment ที่ 4.ให้นักศึกษาอภิปรายถึง
4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง
การคลังเป็นเรื่องเกี่ยวกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาลที่ศึกษาถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับรายรับและรายจ่ายของรัฐบาล รายรับในที่นี้หมายถึงรายได้จากภาษีอากร รายได้ที่มิใช่ภาษีอากร รวมทั้งส่วนของเงินกู้ และรัฐบาลในที่นี้หมายถึงรัฐบาลส่วนกลาง รัฐบาล ท้องถิ่นรวมทั้งหน่วยงานรัฐวิสาหกิจด้วย
งานคลังเปนเรื่องเกี่ยวกับการเงินและพัสดุของหนวยงานราชการ ซึ่งมีความซับซ้อนการบริหารงานคลังที่มีประสิทธิภาพสามารถทําให้ส่วนราชการต่าง ๆ บริหารงานตามพันธกิจและภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประหยัด คุ้มค่ากับงบประมาณซึ่งมาจากภาษีอากรของประชาชนตลอดจนมีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน
4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ปัจจัยความสำเร็จในการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลังขององค์กรต้นแบบที่ดีภาครัฐทั้ง 6 องค์กร ส่วนใหญ่เป็นปัจจัยด้านรูปแบบ (Style) และด้านการจัดบุคคลเข้าทำงาน (Staff)ซึ่งประกอบด้วย
(1) การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำ (Style)
(2) การเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นและปัญหา (Style)
(3) มี กิจกรรมและการอบรมการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง (Staff)
การจัดการที่มีประสิทธิภาพจำเป็นต้องเข้าใจว่าปัจจัยเหล่านี้มีปฏิสัมพันธ์กันอย่างไร และจะใช้ประโยชน์จากปัจจัยเหล่านี้อย่างไรเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร . สิ่งนี้ต้องการแนวทางเชิงรุกในการจัดการการเปลี่ยนแปลงและปรับตัวเข้ากับความท้าทายใหม่ ๆ โดยสรุป สภาพแวดล้อมการบริหารและปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และจำเป็นต้องมีการพิจารณาและการจัดการอย่างรอบคอบเพื่อให้มั่นใจว่าองค์กรจะประสบความสำเร็จ
ข้อที่ 2 ภายใต้ยุคใหม่ของระบบเครือข่ายสื่อสารออนไลน์ การจัดการระบบราชการจำเป็นต้องพัฒนาเพื่อปรับให้เข้ากับภูมิทัศน์ที่เปลี่ยนไป องค์ประกอบที่สำคัญบางประการสำหรับการจัดการระบบราชการในบริบทนี้ ได้แก่
1. การสื่อสาร: เนื่องจากการสื่อสารมีการกระจายอำนาจและไม่เป็นทางการมากขึ้น จึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้จัดการที่จะต้องแน่ใจว่าช่องทางการสื่อสารยังคงเปิดกว้างและโปร่งใส พวกเขาอาจต้องพัฒนาโปรโตคอลการสื่อสารใหม่ เช่น การใช้โซเชียลมีเดียหรือแพลตฟอร์มการส่งข้อความโต้ตอบแบบทันที เพื่ออำนวยความสะดวกในการสื่อสาร
2. ความยืดหยุ่น: ธรรมชาติของการสื่อสารออนไลน์ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทำให้ผู้จัดการต้องมีความคล่องตัวและปรับตัวได้ พวกเขาต้องสามารถปรับเปลี่ยนได้อย่างรวดเร็วเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง และเต็มใจที่จะทดลองแนวทางใหม่ๆ
3. การทำงานร่วมกัน: เมื่อทีมเสมือนกลายเป็นเรื่องธรรมดามากขึ้น ผู้จัดการต้องจัดลำดับความสำคัญของการทำงานร่วมกันระหว่างแผนก สถานที่ และแม้แต่อุตสาหกรรม พวกเขาต้องสามารถนำผู้คนมารวมกันและส่งเสริมความรู้สึกในการทำงานเป็นทีม แม้ว่าสมาชิกในทีมจะกระจัดกระจายไปตามพื้นที่ก็ตาม
4. การจัดการข้อมูล: ด้วยการเพิ่มจำนวนของข้อมูลในการสื่อสารออนไลน์ ผู้จัดการจำเป็นต้องพัฒนาระบบและกระบวนการใหม่สำหรับการจัดการ วิเคราะห์ และใช้ประโยชน์จากข้อมูล พวกเขาต้องสามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลเป็นหลักและมั่นใจได้ว่าข้อมูลนั้นปลอดภัยและได้รับการปกป้องจากภัยคุกคามทางไซเบอร์ โดยรวมแล้ว การจัดการระบบราชการในยุคใหม่ของการสื่อสารออนไลน์นั้นต้องการความเต็มใจที่จะยอมรับการเปลี่ยนแปลง ทดลองกับแนวทางใหม่ๆ และทำงานร่วมกัน ข้ามพรมแดน นอกจากนี้ยังต้องมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับเทคโนโลยีและระบบข้อมูลที่สนับสนุนการสื่อสารออนไลน์ เช่นเดียวกับความมุ่งมั่นที่จะก้าวนำหน้าเทรนด์และภัยคุกคามที่เกิดขึ้นใหม่
ข้อที่ 3 การจัดการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมที่สอดคล้องกับการจัดการสาธารณะแบบใหม่มักเกี่ยวข้องกับการทำงานร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐและประชาชนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายนโยบาย แนวทางนี้เน้นความสำคัญของการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียในกระบวนการกำหนดนโยบาย การให้อำนาจแก่ประชาชนในการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และส่งเสริมความรับผิดชอบและความโปร่งใสในการดำเนินงานของรัฐบาล ตัวอย่างหนึ่งของการจัดการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมที่สอดคล้องกับการจัดการสาธารณะแบบใหม่คือ การใช้คณะกรรมการที่ปรึกษาพลเมือง คณะกรรมการเหล่านี้ประกอบด้วยพลเมืองที่มีความสนใจในด้านนโยบายเฉพาะและสามารถให้ข้อมูลและข้อเสนอแนะแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐเมื่อนโยบายได้รับการพัฒนาและนำไปใช้ แนวทางนี้ช่วยเพิ่มความรับผิดชอบและความโปร่งใสในการตัดสินใจของรัฐบาล และรับประกันว่านโยบายจะตอบสนองต่อความต้องการของชุมชน
อีกตัวอย่างหนึ่งของการจัดการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมที่สอดคล้องกับการจัดการสาธารณะแบบใหม่คือการใช้งบประมาณตามผลงาน แนวทางนี้เชื่อมโยงการจัดสรรงบประมาณเข้ากับการบรรลุผลลัพธ์ของนโยบายที่เฉพาะเจาะจง และกระตุ้นให้เจ้าหน้าที่ของรัฐให้ความสำคัญกับผลลัพธ์มากกว่าปัจจัยนำเข้า แนวทางนี้ส่งเสริมความรับผิดชอบ ความโปร่งใส และการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการกำหนดนโยบาย การจัดการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมที่สอดคล้องกับการจัดการภาครัฐแบบใหม่เน้นที่การทำงานร่วมกัน ความรับผิดชอบ ความโปร่งใส และผลลัพธ์ และมอบอำนาจให้พลเมืองมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในกระบวนการกำหนดนโยบาย
ข้อที่ 4
4.1) การจัดการคลังเป็นหน้าที่ที่สำคัญในองค์กรใดๆ และเกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรทางการเงินขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่ามีการใช้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในการจัดระเบียบงานคลัง สามารถพัฒนากรอบการทำงานตามขอบเขตของการจัดการคลัง
1. การจัดการเงินสด: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการจัดการกระแสเงินสดขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่ามีเงินสดเพียงพอที่จะปฏิบัติตามภาระผูกพันทางการเงินเสมอ งานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเงินสด ได้แก่ การพยากรณ์กระแสเงินสด การจัดการบัญชีธนาคาร และการปรับยอดเงินสดให้เหมาะสม
2. การจัดการความเสี่ยง: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการระบุ ประเมิน และจัดการความเสี่ยงทางการเงินที่องค์กรเผชิญ งานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยง ได้แก่ การพัฒนานโยบายและขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง การระบุและประเมินความเสี่ยง และการใช้กลยุทธ์การลดความเสี่ยง
3. การจัดการการลงทุน: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการจัดการพอร์ตการลงทุนขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่าสร้างผลตอบแทนที่ยอมรับได้ในขณะที่ลดความเสี่ยงให้น้อยที่สุด งานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการการลงทุน ได้แก่ การพัฒนานโยบายและกลยุทธ์การลงทุน การเลือกเครื่องมือการลงทุน และการติดตามผลการดำเนินงานการลงทุน
4. การจัดการหนี้: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการจัดการพอร์ตสินเชื่อขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่ามีโครงสร้างที่เหมาะสมที่สุดและปฏิบัติตามภาระผูกพันในการชำระหนี้ งานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการหนี้ ได้แก่ การพัฒนานโยบายและกลยุทธ์การจัดการหนี้ การเจรจาข้อตกลงหนี้ และการตรวจสอบภาระผูกพันในการชำระหนี้
ด้วยการใช้เฟรมเวิร์กนี้ องค์กรสามารถรับประกันได้ว่าครอบคลุมทุกด้านของการจัดการคลัง และงานคลังได้รับการจัดระเบียบและจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ
4.2) ธรรมาภิบาลในการบริหารเงินคงคลังเกี่ยวข้องกับปัจจัยแห่งความสำเร็จหลายประการ ซึ่งจำเป็นต่อการสร้างความมั่นคงทางการเงินและความรับผิดชอบ
1. นโยบายและขั้นตอนที่ชัดเจน: ควรมีนโยบายและขั้นตอนที่ชัดเจนสำหรับการบริหารเงิน ซึ่งสรุปบทบาทและความรับผิดชอบของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ
2. การจัดการเงินสดอย่างมีประสิทธิภาพ: การจัดการเงินสดอย่างมีประสิทธิภาพมีความสำคัญต่อการทำให้แน่ใจว่าเงินจะพร้อมใช้เมื่อจำเป็น ในขณะที่ลดต้นทุนการกู้ยืม
3 การบริหารความเสี่ยงที่แข็งแกร่ง: การบริหารเงินคลังควรรวมถึงแนวทางปฏิบัติในการบริหารความเสี่ยงที่แข็งแกร่ง ซึ่งระบุ ประเมิน และติดตามความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพทางการเงินขององค์กร
4. ความโปร่งใสและความรับผิดชอบ: ธรรมาภิบาลต้องการความโปร่งใสและความรับผิดชอบในการทำธุรกรรมทางการเงินทั้งหมด รวมถึงการบริหารเงินคงคลัง
5. การปฏิบัติตามกฎระเบียบ: การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเงินคงคลังเป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้มั่นใจถึงความมั่นคงทางการเงินและชื่อเสียงขององค์กร
6. การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ: การสื่อสารเป็นกุญแจสำคัญในการทำให้มั่นใจว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดได้รับข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ทางการเงิน ความเสี่ยง และโอกาสขององค์กร
โดยการยึดมั่นในปัจจัยแห่งความสำเร็จเหล่านี้ องค์กรสามารถมั่นใจได้ว่าแนวทางปฏิบัติในการบริหารเงินคงคลังสอดคล้องกับหลักธรรมาภิบาลซึ่ง จะช่วยลดความเสี่ยง เสริมความมั่นคงทางการเงิน และเพิ่มความรับผิดชอบ
Assignment ที่ 1.นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับขบวนการบริหาร กล่าวได้ว่า ทรัพยากรในการบริหารจัดเป็นสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องโดยตรง และเป็นสภาพแวดล้อมที่จำเป็นในการบริหารงานขององค์การ สินค้าและบริการเป็นสิ่งที่องค์การได้มอบให้กับสภาพแวดล้อม และจะกลายเป็นปัจจัยหนึ่งของระบบสภาพแวดล้อม ซึ่งสภาพแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็นสภาพแวดล้อมภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอก
1.สภาพแวดล้อมเฉพาะสำหรับองค์การต่างๆของรัฐ (ภายใน)
วัตถุดิบ / ระบบบริหารจัดการ / อุปกรณ์สำนักงานและเครื่องจักร / กฎระเบียบ
2.สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของการบริหารงานของรัฐ (ภายนอก)
วัฒนธรรมประเพณี ค่านิยม / ทรัพยากรธรรมชาติ / สภาพภูมิศาสตร์ / เทคโนลียี,กฎหมาย / การเมืองเศรษฐกิจ / ชนชั้นและสถาบันสังคม
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
การให้บริการภาครัฐผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Government e-Service): มิติใหม่ของการให้บริการภาครัฐเพื่อประชาชน
ในยุคดิจิทัลเช่นนี้ หลายประเทศได้ให้ความสำคัญกับการให้บริการภาครัฐผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Government e-Service) ซึ่งหมายถึง การจัดการบริการต่าง ๆ ของภาครัฐให้กับประชาชนผ่านช่องทางออนไลน์ เพื่อเป็นการเพิ่มช่องทางให้กับประชาชนในการติดต่อและขอรับบริการจากภาครัฐ ซึ่งช่องทางดังกล่าวสามารถตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวกรวดเร็วและประหยัด เนื่องจากผู้ใช้สามารถรับบริการต่าง ๆ ผ่านช่องทางออนไลน์ แทนการเดินทางมาติดต่อที่หน่วยงานหรือสำนักงาน รวมถึงช่วยลดช่องว่างและความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงข้อมูลและบริการภาครัฐต่าง ๆ ได้ นอกจากนี้ภาครัฐก็สามารถชี้แจงและเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการเข้ารับบริการแก่ประชาชนได้อย่างทั่วถึง ซึ่งเมื่อใดก็ตามที่ผู้ใช้งานทำรายการผ่าน e-Service ระบบจะบันทึกรายละเอียดทั้งหมดเก็บไว้ในรูปแบบออนไลน์ที่ช่วยลดการตรวจสอบและประหยัดเวลาในการจัดทำเอกสารของเจ้าหน้าที่รัฐได้
ปัจจุบัน ความต้องการและพฤติกรรมของผู้บริโภคมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเมื่อผู้บริโภคหันมาใช้แพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเพิ่มมากขึ้น ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ไม่ว่าจะเป็น การซื้อขายสินค้าและบริการ การศึกษา การติดต่อสื่อสาร การทำงาน และอื่น ๆ ดังนั้น ช่องทางออนไลน์จึงสามารถตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภคและมีอัตราการเติบโตสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง [1] และในขณะเดียวกัน ผู้บริโภคก็คาดหวังว่าบริการต่าง ๆ เหล่านั้น จะตอบโจทย์ทั้งความต้องการส่วนบุคคล (Personalization) และความคาดหวังในการเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ อย่างครบถ้วน เพราะเหตุนี้ การเปลี่ยนแปลงความต้องการและพฤติกรรมผู้บริโภคข้างต้น จึงไม่ได้ส่งผลกระทบเฉพาะภาคเอกชนในเชิงเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ยังส่งผลทำให้ประชาชนมีความคาดหวังต่อการบริการภาครัฐสูงขึ้นตามไปด้วย
ดังนั้น การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและการพัฒนาการจัดบริการสาธารณะผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ จึงเป็นมิติที่ภาครัฐต้องปรับตัวและให้ความสำคัญ เพื่อที่จะตอบสนองต่อความต้องการและพฤติกรรมของประชาชนและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้อย่างก้าวทันสถานการณ์
Assignment ที่ 3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
การเปลี่ยนแปลงบทบาทของภาครัฐตามแนวคิด NPG นี้ ทำให้รัฐมีสภาพที่เล็ก
ลงด้วยอ านาจและภาระหน้าที่ แต่สังคมจะใหญ่ขึ้น (Smaller Government, Bigger Society) ดังนั้น
แนวคิด NPG จึงเป็นการใช้ “กลไกเครือข่ายและหุ้นส่วนภาคี” เป็นตัวขับเคลื่อนการด าเนินนโยบาย
สาธารณะและการส่งมอบบริการสาธารณะ
แนวคิดการจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับ
การจัดการปกครองท้องถิ่น ที่สามารถปรับเปลี่ยนการบริหารจากแนวคิดแบบ ดั้งเดิมที่เน้นระบบราชการและสายการบังคับบัญชาไปสู่การจัดการแบบเครือข่ายที่เปิดโอกาสให้เกิด ความร่วมมือกันของทุก ๆ ภาคส่วนในท้องถิ่นมามีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายและการส่งมอบ บริการสาธารณะหรือกิจกรรมสาธารณะอื่น ๆ ได้ เพื่อเป็นการเสริมสร้างพลังอ านาจและความเข้มแข็ง ให้กับชุมชนท้องถิ่น มีทุนทางสังคม (Social Capital) ที่จะเป็นพลังอำนาจในการต่อรองและสร้างความสมานฉันท์ให้เกิดขึ้นในสังคมต่อไป
Assignment ที่ 4.ให้นักศึกษาอภิปรายถึง
4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง
การคลังเป็นเรื่องเกี่ยวกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาลที่ศึกษาถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับรายรับและรายจ่ายของรัฐบาล รายรับในที่นี้หมายถึงรายได้จากภาษีอากร รายได้ที่มิใช่ภาษีอากร รวมทั้งส่วนของเงินกู้ และรัฐบาลในที่นี้หมายถึงรัฐบาลส่วนกลาง รัฐบาล ท้องถิ่นรวมทั้งหน่วยงานรัฐวิสาหกิจด้วย
งานคลังเปนเรื่องเกี่ยวกับการเงินและพัสดุของหนวยงานราชการ ซึ่งมีความซับซ้อนการบริหารงานคลังที่มีประสิทธิภาพสามารถทําให้ส่วนราชการต่าง ๆ บริหารงานตามพันธกิจและภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประหยัด คุ้มค่ากับงบประมาณซึ่งมาจากภาษีอากรของประชาชนตลอดจนมีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน
4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ปัจจัยความสำเร็จในการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลังขององค์กรต้นแบบที่ดีภาครัฐทั้ง 6 องค์กร ส่วนใหญ่เป็นปัจจัยด้านรูปแบบ (Style) และด้านการจัดบุคคลเข้าทำงาน (Staff)ซึ่งประกอบด้วย
(1) การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำ (Style)
(2) การเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นและปัญหา (Style)
(3) มี กิจกรรมและการอบรมการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง (Staff)
Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
ตอบ สิ่งแวดล้อมทางการบริหาร หมายถึง สภาพของปัจจัยต่างๆ ที่อยู่ภายในและภายนอกองค์การของรัฐ และเอกชนซึ่งสามารถส่งอิทธิพลมายังภายในของระบบการบริหารองค์การ อันมีผลต่อประสิทธิภาพและความสำเร็จของการบริหารงานในองค์การความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับขบวนการบริหาร กล่าวได้ว่า ทรัพยากรในการบริหารจัดเป็นสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องโดยตรง และเป็นสภาพแวดล้อมที่จำเป็นในการบริหารงานขององค์การ สินค้าและบริการเป็นสิ่งที่องค์การได้มอบให้กับสภาพแวดล้อม และจะกลายเป็นปัจจัยหนึ่งของระบบสภาพแวดล้อม ซึ่งสภาพแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็นสภาพแวดล้อมภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอก
แผนผังทรัพยากรณ์การบริหาร M 4 (INPUT) ไปสู่ ระบบการบริหาร (Process) ไปสู่ บริการของรัฐ (OUTPUT)ต่อมา Feed Back แล้วก็กลับเข้าสู่ระบบเดิมอย่างนี้เป็นวัฎจักร สิ่งแวดล้อม( Environment)
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
ตอบ ประเทศไทยมุ่งสู่ไทยแลนด์ 4.0 มีการกำหนดยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ภาครัฐต้องปรับตัวให้สามารถอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมยุคดิจิทัลท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและไม่สามารถคาดเดาได้ จึงต้องมุ่งเน้นความคล่องตัวเพื่อขับเคลื่อนภารกิจพิเศษ (Agenda -Based) และนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาพลิกโฉมระบราชการสู่ Govemment 4.0มีองค์ประกอบอยู่ 3 ด้าน คือ
1. ภาครัฐที่เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน (Open and Connected Govemnment)
สรุปลักษณะสำคัญ ได้ดังนี้ การทำงานต้องเปิดเผยและโปร่งใส โดยบุคคลภายนอกเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของทางราชการได้มีการแบ่งปันข้อมูลซึ่งกันและกัน สามารถเข้ามาตรวจสอบการทำงานได้เปิดกว้างให้กลไกหรือภาคส่วนอื่น ๆ เช่น ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมเข้ามามีส่วนร่วมโอนถ่ายการกิจที่ภาครัฐไม่ควรดำเนินการองไปให้ภาคส่วนอื่นดำเนินการแทนจัดโครงสร้างให้สอดรับกับการทำงานแนวระนาบ ในลักษณะเครือข่ายมากกว่าสายการบังคับบัญชาในแนวดิ่งเชื่อมโยงการทำงานราชการบริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ให้มีเอกภาพและสอดรับประสานกัน
2.ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางการบริการและเข้าถึงความต้องการในระดับปัจเจก (Citizen - Centric and Service - Oriented Government)สรุปลักษณะสำคัญ ได้ดังนี้ ทำงานในเชิงรุกและมองไปข้างหน้า ตั้งคำถามกับตนเองเสมอว่าประชาชนจะได้อะไรมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาให้ประชาชนให้บริการเชิงรก ตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยไม่ต้องรอให้เข้ามาติดต่อหรือร้องขอใช้ประโยชน์จากข้อมูลภาครัฐในการจัดการบริการสาธารณะที่ตรงกับความต้องการประชาชนใช้ระบบดิจิทัลสมัยใหม่ในการจัดการบริการสาธารณะที่ตรงกับความต้องการประชาชน
3.ภาครัฐอัจฉริยะ - มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย (Smart and HighPerformance Government) สรุปลักษณะสำคัญ ได้ดังนี้ต้องทำงานอย่างเตรียมการไว้ล่วงหน้า มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง สร้างนวัตกรรมหรือมีความคิดริเริ่มและประยุกต์องค์ความรู้ในแบบสหสาขาวิชา เพื่อตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างทันเวลา
เป็นองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง ปรับตัวให้เป็นสำนักงานที่ทันสมัย ทำให้ข้าราชการมีความผูกพันต่อการปฏิบัติงานได้เหมาะสมกับบทบาทของตนเอง
Assignment ที่ 3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
ตอบ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) เป็นแนวคิดที่มุ่งแสวงหาแนวคิดและเทคนิคเครื่องมือสมัยใหม่ต่างๆมาใช้ในการบริหาร โดยเน้นวัตถุประสงค์ หรือผลสัมฤทธิ์ทั้งในแง่ของผลผลิต ความคุ้มค่าของเงิน รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพและการสร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการโดยนำเอาเทคนิควิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่เข้ามาใช้มากขึ้น เน้นทั้งปัจจัยภายในและภายนอกองค์การ ใช้องค์ความรู้แบบบูรณาการ แต่เน้นใช้หลักเศรษฐศาสตร์ที่มีทางเลือกสาธารณะ (public choice) ทฤษฎีต้นทุนการทำธุรกรรม (transaction cost theory) และทฤษฎีเจ้าของตัวแทน (principal-agent theor) กระนั้นก็ตามแนวคิดดังกล่าวก็มีข้อจำกัดคือ การมองข้ามค่านิยมอื่นที่สำคัญในการจัดการภาครัฐ เช่น ความซื่อสัตย์ ความยุติธรรม ความเชื่อถือได้ การปรับตัวได้ เป็นต้น ซึ่งในทางปฏิบัติจะต้องมีค่าที่นิยมที่สำคัญต่างๆเหล่านี้ในการจัดการภาครัฐ จนกระทั่งเกิดแนวคิดการบริหารปกครองภาครัฐใหม่ (NPG) ขึ้นมาด้วยเหตุผลที่ว่า การจัดการภาครัฐแนวใหม่(NPM) สนับสนุนให้ผู้บริหารภาครัฐเป็นผู้ประกอบการเหมือนกับเจ้าของบริษัทในธุรกิจเอกชน เท่ากับว่าผู้บริหารดังกล่าวได้กลายเป็นเจ้าของกิจการภาครัฐ การบริหารและดำเนินงานจึงมีวัตถุประสงค์แบบแคบ ๆ เหมือนกับธุรกิจเอกซนซึ่งก็คือเพื่อเพิ่มผลิตภาพ โดยการบริหารปกครองภาครัฐใหม่(NPG) มุ่งเน้นการเจรจาต่อรองในเรื่องค่านิยม ความหมาย และความสัมพันธ์ที่หลากหลายและมีผู้เกี่ยวข้องจำนวนมาก มุ่งเน้นทั้งปัจจัยภายในองค์การและปัจจัยภายนอก และใช้องค์ความรู้ทฤษฎีสถาบันและเครือข่ายเป็นแนวทางในการดำเนินงาน แต่อย่างไรก็ตาม การบริหารปกครองภาครัฐใหม่(NPG) ไม่ใช่กระบวนทัศน์ปทัสถานแนวใหม่ที่เข้ามาแทนที่การบริหารงานภาครัฐ (PA) และการจัดการภาครัฐแนวใหม่ใหม่ (NP M) ประกอบกับไม่ใช่วิธีที่ดีที่สุดในการสนองตอบต่อความท้าทายในการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติและการให้บริการสาธารณะในศตวรรษที่ 21 แต่ในทางตรงกันข้ามการบริหารปกครองภาครัฐใหม่คือ เครื่องมือทางความคิดที่มีศักยภาพเพื่อให้เข้าใจความซับซ้อนและผลสะท้อนของความจริงเกี๊ยวกับการดำเนินชีวิตของผู้บริหารภาครัฐในการทำงานทุกวันนี้
Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง 4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง และ4 .2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ตอบ 4.1 การจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง
1. การจัดการเงินสด: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการจัดการกระแสเงินสดขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่ามีเงินสดเพียงพอที่จะปฏิบัติตามภาระผูกพันทางการเงินเสมอ
2. การจัดการความเสี่ยง: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการระบุ ประเมิน และจัดการความเสี่ยงทางการเงินที่องค์กรเผชิญ เช่นการระบุและประเมินความเสี่ยง และการใช้กลยุทธ์การลดความเสี่ยง
3. การจัดการการลงทุน: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการจัดการพอร์ตการลงทุนขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่าสร้างผลตอบแทนที่ยอมรับได้ในขณะที่ลดความเสี่ยงให้น้อยที่สุด
4. การจัดการหนี้: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการจัดการพอร์ตสินเชื่อขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่ามีโครงสร้างที่เหมาะสมที่สุดและปฏิบัติตามภาระผูกพันในการชำระหนี้
4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
1. นโยบายและขั้นตอนที่ชัดเจน: ควรมีนโยบายและขั้นตอนที่ชัดเจนสำหรับการบริหารเงิน ซึ่งสรุปบทบาทและความรับผิดชอบของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ
2. การจัดการเงินสดอย่างมีประสิทธิภาพ: การจัดการเงินสดอย่างมีประสิทธิภาพมีความสำคัญต่อการทำให้แน่ใจว่าเงินจะพร้อมใช้เมื่อจำเป็น ในขณะที่ลดต้นทุนการกู้ยืม
3 การบริหารความเสี่ยงที่แข็งแกร่ง: การบริหารเงินคลังควรรวมถึงแนวทางปฏิบัติในการบริหารความเสี่ยงที่แข็งแกร่ง ซึ่งระบุ ประเมิน และติดตามความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพทางการเงินขององค์กร
4. ความโปร่งใสและความรับผิดชอบ: ธรรมาภิบาลต้องการความโปร่งใสและความรับผิดชอบในการทำธุรกรรมทางการเงินทั้งหมด รวมถึงการบริหารเงินคงคลัง
5. การปฏิบัติตามกฎระเบียบ: การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเงินคงคลังเป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้มั่นใจถึงความมั่นคงทางการเงินและชื่อเสียงขององค์กร
6. การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ: การสื่อสารเป็นกุญแจสำคัญในการทำให้มั่นใจว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดได้รับข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ทางการเงิน ความเสี่ยง และโอกาสขององค์กร
1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
-สิ่งต่างๆที่มีอิทธิพล และส่งผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจขององค์การในทางใด ทางหนึ่ง อิทธิพลเหล่านี้มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ส่งผลกระทบต่อองค์การทั้งทางบวกและทางลบ ทางบวก คือโอกาส (opportunities) ทางลบ คืออุปสรรค (threats)
1. สิ่งแวดล้อมภายใน (internal environment) คือ สิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลภายในองค์การธุรกิจ ซึ่งผู้บริหารองค์การต้องควบคุมให้ได้เพื่อไม่ให้เกิดผลเสียต่อธุรกิจประกอบด้วยเจ้าของกิจการและผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริหาร พนักงานหรือลูกจ้าง วัฒนธรรมขององค์การ เป็นต้น
2.สิ่งแวดล้อมภายนอก (external environment) แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่
2.1 สิ่งแวดล้อมทั่วไป (feneral environment) คือ สิ่งแวดล้อมทั่วไปภายนอกที่มีอิทธิพลต่อการดำเนินงานขององค์การในระยะยาว ได้แก่ เทคโนโลยี ภาวะเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ประชากร การเมืองและกฎหมาย โลกาภิวัตน์ เป็นต้น
2.2 สิ่งแวดล้อมด้านการงาน (task environment) คือ สิ่งแวดล้อมภายนอกที่มี อิทธิพลโดยตรงต่อองค์การซึ่งทำให้ธุรกิจประสบความสำเร็จหรือล้มเหลวได้ ได้แก่ ลูกค้า คู่แข่งขัน ผู้จัดหา ผู้ออกกฎระเบียบ ตลาดแรงงาน
2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
- 1) ต้องมีความเปิดเผยโปร่งใส ในการทำงาน โดยบุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของทางราชการหรือมีการแบ่งปันข้อมูลซึ่งกันและกัน และสามารถเข้ามาตรวจสอบการทำงานได้ตลอดจนเปิดกว้างให้กลไกหรือภาคส่วนอื่น ๆ เช่น ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ได้เข้ามามีส่วนร่วม และโอนถ่ายภารกิจที่ภาครัฐไม่ควรดำเนินการเองออกไปให้แก่ภาคส่วนอื่น ๆ เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการแทน โดยการจัดระเบียบความสัมพันธ์ในเชิงโครงสร้างให้สอดรับกับการทำงานในแนวระนาบ ในลักษณะของเครือข่าย มากกว่าตามสายการบังคับบัญชาในแนวดิ่ง ขณะเดียวกันก็ยังต้องเชื่อมโยงการทำงานภายในภาครัฐด้วยกันเองให้มีเอกภาพและสอดรับประสานกันไม่ว่าจะเป็นราชการบริหาร ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น
2) ต้องทำงานในเชิงรุกและมองไปข้างหน้า โดยตั้งคำถามกับตนเองเสมอว่า ประชาชนจะได้อะไร มุ่งเน้นแก้ไข ปัญหาความต้องการและตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยไม่ต้องรอให้ประชาชนเข้ามาติดต่อขอรับบริการหรือร้องขอความช่วยเหลือจากทางราชการ (Proactive Public Services) รวมทั้งใช้ประโยชน์จากข้อมูลของทางราชการ (Big Government Data) และระบบดิจิทัลสมัยใหม่ในการจัดบริการสาธารณะที่ตรงกับความต้องการของประชาชน (Personalized หรือ Tailored Services) พร้อมทั้งอำนวยความสะดวกโดยมีการเชื่อมโยงกันเองของทางราชการเพื่อให้บริการต่างๆ สามารถเสร็จสิ้นในจุดเดียวประชาชนสามารถเรียกใช้บริการของทางราชการได้ตลอดเวลาตามความต้องการของตนและผ่านการติดต่อได้หลายช่องทางผสมผสานกัน ไม่ว่าจะติดต่อมาด้วยตนเอง อินเตอร์เน็ต เว็บไซด์ โซเชียลมีเดีย หรือแอปพลิเคชั่นทางโทรศัพท์มือถือ
3) ต้องทำงานอย่างเตรียมการณ์ไว้ล่วงหน้า มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง สร้างนวัตกรรมหรือความคิดริเริ่มและประยุกต์องค์ความรู้ ในแบบสหสาขาวิชาเข้ามาใช้ในการตอบโต้กับโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน เพื่อสร้างคุณค่า มีความยืดหยุ่น และความสามารถในการตอบสนองกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างทันเวลา ตลอดจนเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง และปรับตัวเข้าสู่สภาพความเป็นสำนักงานสมัยใหม่ รวมทั้งทำให้ข้าราชการมีความผูกพันต่อการปฏิบัติราชการ และปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเหมาะสมกับบทบาทของตน
3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
- การเน้นการมีส่วนร่วมของพลเมือง ความเป็นประชาธิปไตย บทบาทของนักบริหารรัฐกิจในการเปลี่ยนแปลงสังคมค่านิยมการบริหารที่ไม่ใช่เฉพาะเรื่องประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประหยัดเท่านั้น แต่ยังให้ความสำคัญกับเรื่องความเสมอภาคเป็นธรรม ความรับผิดชอบได้ จริยธรรมในการบริหาร ซึ่งความคล้ายคลึงกันนี้ทาให้มองได้ว่าแนวคิดทั้งสองเป็นกลุ่มแนวคิดเดียวกันเป็นแนวคิดเชิงปทัสถานที่ปฏิเสธปฏิฐานนิยมทางตรรกะ (anti-logicalpositivism) เหมือนกัน เพียงแต่ NPS มาขยายรายละเอียดของNPA เพิ่มขึ้นในหลายๆ ประเด็นเท่านั้น โดย NPS มีระดับในเรื่องการค้นหาความต้องการหรือความจาเป็นของพลเมือง ตลอดจนเรื่องประชาธิปไตยที่มีระดับที่เพิ่มมากขึ้นกว่าNPA และยังพบอีกว่า NPA ถือเป็นหนึ่งในแนวคิดที่เป็นรากฐานของNPS
4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง
4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง
-กรอบการจัดการงานคลัง ก่อนการตัดสินใจดำเนินนโยบายหรือมาตรการใดๆ เสนอให้มีการทบทวนหลัก การบริหารก่อน เพื่อวิเคราะห์แนวทาง การดำเนินการ และผลกระทบโดยสามารถดำ เนินการได้2แนวทางคือการวิจัย กระบวนการ เพื่อให้ได้รูปแบบหรือนโยบายที่เป็นไปได้ และนำมาใช้ประกอบในการตัดสินใจเพื่อกำหนดนโยบายและการศึกษาข้อคิดเห็นและข้อโต้แย้งของนโยบายเพื่อศึกษาแนวทาง และรูปแบบการบริหารที่เคยใช้อยู่เดิม แล้วนำมาพัฒนาปรับใช้เพื่อการบริหารในรูปแบบใหม่ กระบวนการสำคัญในการบริหารคือ หลักการวางแผน การบริหาร เพื่อเป็นหลักพื้นฐานของการจัดการด้านงาน บริการสาธารณะ การขับเคลื่อนให้เกิดความยั่งยืนของการดำเนินการภายใต้กรอบภาระหน้าที่ถือเป็นวัตถุประสงค์หลัก และเป็นเป้าหมายสำคัญยิ่งในการขับเคลื่อนให้ก้าวเข้าสู่การพัฒนาในการนี้การบริหารจัดแนวใหม่ จะต้องประกอบไปด้วยปัจจัยหลายประการเริ่มต้นจากการทำ ความเข้าในใจสถานภาพของภาคเศรษฐกิจ การศึกษา ความต้องการหลักของสังคมว่ามีความต้องการใน ด้านใด เพื่อให้สามารถกำ หนดเป้าประสงค์ หรือวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน เมื่อได้วัตถุประสงค์ที่ชัดเจนแล้ว ต่อมาคือการวิเคราะห์และวางแผนปัจจัยนำ เข้าเพื่อตอบ วัตถุประสงค์ที่กำหนดและการกำหนดกิจกรรมหรือโครงการ เพื่อดำ เนินงานนั้นๆ ภายหลังการดำเนินงานแล้วสิ่งที่สำคัญต่อการประเมิน คือ การย้อนมองในประเด็นวัตถุประสงค์ที่กำหนด ซึ่งต้องสอดรับกับความต้องการของสังคม ทั้งนี้ หน่วยงานต้องมีการประเมินทั้งผลผลิตและผลลัพธ์ประกอบกัน ทั้งในรูปของผลตอบแทนที่เป็นตัวเงินและที่ไม่ใช่ตัวเงิน เพื่อศึกษาว่า ผลลัพธ์ที่เกิดนั้นมาจากการมีส่วนร่วมในการกำหนดวัตถุประสงค์เริ่มต้นหรือไม่โครงการหรือกิจกรรมที่ดำ เนินการสามารถขับเคลื่อนเศรษฐกิจได้หรือไม่อย่างไร จึงจะสามารถตอบได้ว่าการดำ เนินงานมีประสิทธิภาพมาก น้อยเพียงใด อีกทั้งต้องศึกษาถึงประสิทธิผลของการดำ เนินงานผ่านต้นทุนในการดำ เนินการการตอบสนองความต้องการ ของประชาชน และความยั่งยืนความเสมอภาคของการดำ เนินงานนั้น ๆ สิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงถึง คือ จะต้องไม่ สูญเสียสภาพแวดล้อม และคงสภาพแวดล้อมหรือส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่มีอยู่สามารถสรุปแผนผังการบริหารได้ พื้นฐานการบริหารการคลังที่มีประสิทธิภาพ และสร้างประสิทธิผลต่องานทางด้านการคลัง จะต้องกำหนดประเด็นสำคัญในการบริหารให้แยกออกเป็นขอบข่าย ที่สำคัญ 4 ขอบข่าย ดังต่อไปนี้ การจัดการ และการคัดเลือก ผู้นำการจัดการนโยบายและการวางแผนการจัดการส่วนบุคคล และข้อมูลข่าวสารการจัดการและการคัดเลือกผู้นำเพื่อเป็นผู้กำหนด ทิศทางการคลังในทุกส่วนจะต้องมีการบริหารงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างให้สอดคล้องกับงานสอดคล้องกับความต้องการในด้านประโยชน์และสอดคล้องกับเป้าประสงค์ ของแผนงาน หรือแผนกลยุทธ์รวมทั้งกำหนดขอบเขตความรับผิดชอบและบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน ทั้งนี้ผู้นำจะต้องมีความสามารถมีความซื่อสัตย์และสามารถประสานงานได้ดี ทุกส่วนการจัดการนโยบายและการวางแผน จะต้องใช้หลักการเชิงกลยุทธ์เข้ามาเป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนมีการประเมินผลกระทบภายใน การจัดสรรงบประมาณ และต้อง มีการประเมินผลกระทบภายนอกควบคู่ด้วยเช่นกัน เพื่อการจัดการที่มีประสิทธิภาพการคลังจะต้องสร้างความร่วมมือกับทุกองค์การ และทุกหน่วยงานทั้งหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานภาคเอกชน มีการจัดการผู้จัดจำหน่ายลดการผูกขาด เน้นประสิทธิภาพใน การตรวจสอบและการกำกับดูแลสัญญาใส่ใจในการรับผิดชอบทางการเงินการจัดการงานบุคคลการสั่งสมทุนมนุษย์การสร้าง วัฒนธรรมในองค์กรมีแต่ความซื่อสัตย์และมีกระบวนการกำกับดูแลที่มีประสิทธิภาพมีการควบคุมอย่างชัดเจนสนับสนุนการสร้างพฤติกรรมที่มีจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ข้อมูลข่าวสารการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาจัดการข้อมูลมีการติดตามผล การวางฐานข้อมูลทางการเงินและระบบนั้นจะต้องให้ง่ายต่อความเข้าใจในระดับ ผู้บริหาร มีระบบป้องกัน และการจัดการให้ข้อมูลเป็นความลับ พื้นฐานการบริหารการคลังที่มีประสิทธิภาพ และสร้าง ประสิทธิผลต่องานทางด้านการคลัง หน่วยงานภาครัฐจะต้อง กำ หนดประเด็นสำคัญในการบริหาร
4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
-ปัจจัยความสำเร็จในการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลังที่ดีทั้ง 6 องค์กร ส่วนใหญ่เป็นปัจจัยด้านรูปแบบและด้านการจัดบุคคลเข้าทำงาน ซึ่งประกอบด้วย
1. การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำ
2. การเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการเสนอความคิด เห็นและปัญหา
3. มีกิจกรรมและการอบรมการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง
ปัญหาและอุปสรรคในการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลังที่ดีทั้ง 6 องค์กรส่วนใหญ่เป็นปัญหาและอุปสรรคด้านบุคลากรและด้านการจัดการ ประกอบด้วย
1. บุคลากรบางส่วนมีความรู้ความสามารถไม่เพียงพอและไม่ตรงกับงานที่ปฏิบัติ
2. บุคลากรขาดการมีส่วนร่วมและการแสดงออก
3. ปัญหาการสื่อสาร ทั้งภายในและภายนอกองค์การยังขาดประสิทธิภาพ
4. กฎระเบียบข้อบังคับบางส่วนมีความซับซ้อนทำให้เกิดความไม่คล่องตัว และความล่าช้าในการปฏิบัติงาน
ตอบ. สิ่งแวดล้อมทางการบริหาร หมายถึง สภาพของปัจจัยต่างๆ ที่อยู่ภายในและภายนอกองค์การของรัฐ และเอกชนซึ่งสามารถส่งอิทธิพลมายังภายในของระบบการบริหารองค์การ อันมีผลต่อประสิทธิภาพและความสำเร็จของการบริหารงานในองค์การ ถือเป็นเครื่องมือที่มีความสำคัญยิ่งในการกำหนดนโยบายการบริหารงาน นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือที่ช่วยชี้วัดความสำเร็จของการบริหาร และถือเป็นทรัพยากรหรือวัตถุดิบสำหรับป้อนให้กับระบบการบริหารเพื่อทำการแปรรูปให้เป็นสินค้าหรือบริการตามนโยบายขององค์การ ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับขบวนการบริหาร กล่าวได้ว่า ทรัพยากรในการบริหารจัดเป็นสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องโดยตรง และเป็นสภาพแวดล้อมที่จำเป็นในการบริหารงานขององค์การ สินค้าและบริการเป็นสิ่งที่องค์การได้มอบให้กับสภาพแวดล้อม และจะกลายเป็นปัจจัยหนึ่งของระบบสภาพแวดล้อม ซึ่งสภาพแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็นสภาพแวดล้อมภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอก
"สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของการบริหารงานของรัฐ"
1. ปัจจัยทางด้านวัฒนธรรม ประเพณี และค่านิยม เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อระบบการบริหารงานของรัฐ ซึ่งมีความแตกต่างกันไปตามภูมิภาค เชื้อชาติ ศาสนา ฯลฯ ซึ่งมีบทบาทอย่างมากในการกำหนดนโยบายและประสิทธิภาพของการบริหารงาน จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่รัฐจะต้องสรรหาผู้ที่เหมาะสมเข้าไปทำหน้าที่ให้เหมาะสมกับสังคมนั้น ๆ
2. ระบบชนชั้นและสถาบันทางสังคม การศึกษาถึงโครงสร้างทางชนชั้นของสังคม จะทำให้ผู้บริหารได้เข้าใจถึงบทบาทและหน้าที่ ตลอดจนสถานภาพที่สังคมเป็นผู้กำหนดให้กับบุคคลต่างๆ สถาบันทางสังคม เช่น สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันกษัตริย์ ฯลฯ ทำหน้าที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชนในชาติที่มีอิทธิพลต่อวิธีการดำเนินชีวิตของประชาชน การบริหารงานใดๆก็ตามที่นำไปสู่ความขัดแย้งกับสถาบันทางสังคม ก็จะถูกต่อต้านอย่างรุนแรงและก่อให้เกิดปัญหาตามมา เช่น การเดินขบวน การก่อการร้าย เป็นต้น
3. ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทางเศรษฐกิจมีอิทธิพลต่อการบริหารงานของรัฐ ทั้งในทางตรงและทางอ้อม การปฏิบัติงานของหน่วยงานใดๆจำเป็นต้องอาศัยงบประมาณเป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากร ดังนั้นหากประเทศมีสภาพเศรษฐกิจที่ย่ำแย่ย่อมเป็นผลให้รัฐบาลเก็บภาษีได้น้อย หน่วยงานต่างๆของรัฐย่อมได้รับงบประมาณในการดำเนินงานน้อยตามไปด้วย และสภาพเศรษฐกิจยังมีอิทธิพลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในสังคมอีกด้วย
4. ปัจจัยทางประชากร ในการกำหนดนโยบายตลอดจนวิธีการบริหารงานขององค์การใดๆ ของรัฐ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการศึกษาถึงปัจจัยทางด้านประชากรที่องค์การนั้นๆ จะเข้าไปเกี่ยวข้องดัวย ข้อมูลดังกล่าวเป็นเครื่องชี้ให้ผู้บริหารได้เห็นสภาพแรงงานของท้องถิ่นนั้นๆ นอกจากนี้ผู้บริหารยังต้องการข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนผู้บริโภคในสินค้าและบริการของตน เพราะกิจกรรมใดๆ ของรัฐ ย่อมเป็นไปเพื่อบำบัดความต้องการของสังคม หรือเพื่อให้บริการของรัฐต่อประชาชน
5. ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสิ่งแวดล้อมที่มีความสำคัญยิ่ง และเป็นตัวชี้ให้เห็นถึงศักยภาพของประเทศนั้นๆ ในการที่จะพัฒนาต่อไป นอกจากรัฐบาลจะต้องพยายามบริหารประเทศให้สอดคล้องกับทรัพยากรของชาติที่มีอยู่แล้ว รัฐบาลจะต้องตระหนักอยู่ตลอดเวลาว่า ทรัพยากรธรรมชาตินั้นเป็นสิ่งที่สามารถควบคุมจัดสรรให้เกิดประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นได้โดยอาศัยเทคโนโลยีและการจัดการที่ดี หากรัฐบาลละเลยก็จะทำให้ประเทศต้องสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติไปโดยเปล่าประโยชน์
6. การศึกษาของประชาชน ระดับการศึกษาของประชาชนเป็นเครื่องชี้ให้เห็นถึงระดับความเจริญของสังคมและมีอิทธิพลต่อการกำหนดรูปแบบของการบริหาร ถ้าประชาชนส่วนใหญ่ยังคงอ่านหนังสือไม่ออก การกระจายอำนาจในการบริหารก็จะประสบปัญหา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของการติดต่อสื่อสาร นอกจากนี้การที่รัฐจะนำเอาเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ย่อมทำได้ลำบากยิ่งขึ้น
7. ปัจจัยทางการเมือง การเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการแสวงหาอำนาจเพื่อการปกครองประเทศ ในการดำเนินการดังกล่าวจำเป็นต้องคำนึงถึงความต้องการของประชาชน กรอบกติกาที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ และกฎหมายต่างๆ ตลอดจนประเพณีและวัฒนธรรมทางการเมืองของชาติด้วย ในทัศนะของนักการเมืองจะมองว่าระบบการบริหารเป็นระบบหนึ่งของการเมืองการปกครอง แต่ในทัศนะของนักบริหารจะมองว่าการเมืองเป็นระบบย่อยที่จัดอยู่ในระบบสภาพแวดล้อมทางการบริหาร
8. ปัจจัยทางกฎหมาย กฎหมายเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการโดยทางตรงและทางอ้อม กฎหมายจึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการบริหารงานของรัฐ และเป็นปัจจัยที่สามารถส่งอิทธิพลทำให้ปัจจัยแวดล้อมอื่นๆของการบริหารเปลี่ยนแปลงได้ อันจะนำมาซึ่งผลกระทบต่อการบริหารในระยะยาว การเปลี่ยนแปลงแก้ไขกฎหมายจึงเป็นสิ่งที่ควรกระทำด้วยความระมัดระวังและต้องคำนึงถึงผลกระทบทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมต่อการบริหารงานของรัฐ
9. เทคโนโลยี เทคโนโลยีเป็นระบบของความรู้อันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ในอันที่จะสร้างความสะดวกสบายในการดำเนินชีวิต เช่น ยานพาหนะ เครื่องมือสื่อสาร อุปกรณ์สำนักงาน เป็นต้น เทคโนโลยีเมื่อนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการบริหาร จัดว่าเป็นเงื่อนไขประการหนึ่งของการเกิดระบบการบริหารจัดการ และการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
10. ปัญหาและวิกฤติการณ์ของสังคม ปัญหาและวิกฤติการณ์ทางสังคมเป็นปัจจัยแวดล้อมที่มักมีที่มาจากปัจจัยเบื้องต้นดังที่กล่าวมาข้างต้น และเป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อระบบการบริหารงานของรัฐ มีลักษณะเป็นปัญหาเฉพาะหน้า ที่รัฐบาลจะต้องเผชิญและแก้ไข เช่น ปัญหาการว่างงาน ปัญหาพลังงานและมลภาวะ เป็นต้น ปัญหาและวิกฤติการณ์ของสังคม เป็นส่งที่นักการเมืองชอบนำมากล่าวถึงและใช้เป็นนโยบายในการทำงานของตน ตลอดจนเป็นข้ออ้างในการแต่งตั้ง โยกย้ายข้าราชการ อยู่เสมอ
6. การศึกษาของประชาชน ระดับการศึกษาของประชาชนเป็นเครื่องชี้ให้เห็นถึงระดับความเจริญของสังคมและมีอิทธิพลต่อการกำหนดรูปแบบของการบริหาร ถ้าประชาชนส่วนใหญ่ยังคงอ่านหนังสือไม่ออก การกระจายอำนาจในการบริหารก็จะประสบปัญหา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของการติดต่อสื่อสาร นอกจากนี้การที่รัฐจะนำเอาเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ย่อมทำได้ลำบากยิ่งขึ้น
7. ปัจจัยทางการเมือง การเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการแสวงหาอำนาจเพื่อการปกครองประเทศ ในการดำเนินการดังกล่าวจำเป็นต้องคำนึงถึงความต้องการของประชาชน กรอบกติกาที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ และกฎหมายต่างๆ ตลอดจนประเพณีและวัฒนธรรมทางการเมืองของชาติด้วย ในทัศนะของนักการเมืองจะมองว่าระบบการบริหารเป็นระบบหนึ่งของการเมืองการปกครอง แต่ในทัศนะของนักบริหารจะมองว่าการเมืองเป็นระบบย่อยที่จัดอยู่ในระบบสภาพแวดล้อมทางการบริหาร
8. ปัจจัยทางกฎหมาย กฎหมายเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการโดยทางตรงและทางอ้อม กฎหมายจึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการบริหารงานของรัฐ และเป็นปัจจัยที่สามารถส่งอิทธิพลทำให้ปัจจัยแวดล้อมอื่นๆของการบริหารเปลี่ยนแปลงได้ อันจะนำมาซึ่งผลกระทบต่อการบริหารในระยะยาว การเปลี่ยนแปลงแก้ไขกฎหมายจึงเป็นสิ่งที่ควรกระทำด้วยความระมัดระวังและต้องคำนึงถึงผลกระทบทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมต่อการบริหารงานของรัฐ
9. เทคโนโลยี เทคโนโลยีเป็นระบบของความรู้อันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ในอันที่จะสร้างความสะดวกสบายในการดำเนินชีวิต เช่น ยานพาหนะ เครื่องมือสื่อสาร อุปกรณ์สำนักงาน เป็นต้น เทคโนโลยีเมื่อนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการบริหาร จัดว่าเป็นเงื่อนไขประการหนึ่งของการเกิดระบบการบริหารจัดการ และการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
10. ปัญหาและวิกฤติการณ์ของสังคม ปัญหาและวิกฤติการณ์ทางสังคมเป็นปัจจัยแวดล้อมที่มักมีที่มาจากปัจจัยเบื้องต้นดังที่กล่าวมาข้างต้น และเป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อระบบการบริหารงานของรัฐ มีลักษณะเป็นปัญหาเฉพาะหน้า ที่รัฐบาลจะต้องเผชิญและแก้ไข เช่น ปัญหาการว่างงาน ปัญหาพลังงานและมลภาวะ เป็นต้น ปัญหาและวิกฤติการณ์ของสังคม เป็นส่งที่นักการเมืองชอบนำมากล่าวถึงและใช้เป็นนโยบายในการทำงานของตน ตลอดจนเป็นข้ออ้างในการแต่งตั้ง โยกย้ายข้าราชการ อยู่เสมอ
ตอบ. ภายใต้การบริหารระบบราชการยุคใหม่ซึ่งมีการใช้ระบบออนไลน์และระบบเน็ตเวิร์ค มีความสำคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยองค์ประกอบของการจัดการที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงมีอยู่ด้วยกัน 5 ประการดังนี้
1. การติดต่อสื่อสาร: การใช้ระบบออนไลน์และระบบเครือข่ายทำให้การติดต่อสื่อสารรวดเร็วขึ้น สะดวกขึ้น และมีประสิทธิภาพมากขึ้น ระบบราชการสามารถใช้อีเมล แอปรับส่งข้อความ และการประชุมทางวิดีโอเพื่อสื่อสารกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและลูกค้าได้แล้ว
2. การจัดการข้อมูล: ด้วยการใช้ระบบออนไลน์และเครือข่ายทำให้การจัดการข้อมูลมีความคล่องตัวมากขึ้น ขณะนี้ระบบราชการสามารถใช้โซลูชันการจัดเก็บข้อมูลบนคลาวด์เพื่อจัดเก็บข้อมูลและเข้าถึงได้จากทุกที่ สิ่งนี้ยังทำให้ข้อมูลมีความปลอดภัยมากขึ้นและลดความเสี่ยงในการสูญเสียข้อมูล
3. การทำงานร่วมกัน: ระบบออนไลน์และระบบเครือข่ายทำให้ระบบราชการสามารถทำงานร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและลูกค้าได้ง่ายขึ้น เครื่องมือการทำงานร่วมกัน เช่น ซอฟต์แวร์การจัดการโครงการ ปฏิทินที่แชร์ และแพลตฟอร์มการแชร์เอกสารสามารถใช้เพื่อทำงานในโครงการร่วมกันได้
4. ระบบอัตโนมัติ: ระบบออนไลน์และระบบเครือข่ายทำให้ระบบราชการทำงานหลายอย่างได้โดยอัตโนมัติ ซึ่งรวมถึงงานต่างๆ เช่น การป้อนข้อมูล การประมวลผลไฟล์ และการบริการลูกค้า ซึ่งช่วยประหยัดเวลาและเพิ่มประสิทธิภาพ
โดยสรุปแล้วการใช้ระบบออนไลน์และระบบเครือข่ายมีผลกระทบอย่างมากต่อการจัดการระบบราชการ
ทำให้การสื่อสารรวดเร็วและสะดวกยิ่งขึ้น การจัดการข้อมูลมีความคล่องตัวมากขึ้น การทำงานร่วมกันง่ายขึ้น และการทำงานอัตโนมัติเป็นไปได้
ตอบ. การจัดการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆ ในการออกแบบ การนำไปใช้ และการประเมินนโยบายสาธารณะ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มความโปร่งใส ความรับผิดชอบ และการตอบสนองในภาครัฐโดยส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในกระบวนการตัดสินใจ
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ ( NPM ) เป็นปรัชญาการจัดการที่เน้นการใช้ตลาดเป็นฐาน เทคนิคและมาตรการวัดผลงานเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์กรภาครัฐ NPM มุ่งเน้นไปที่การกระจายอำนาจในการตัดสินใจ การแนะนำการแข่งขันและทางเลือก และการนำแนวทางปฏิบัติในการจัดการภาคเอกชนมาใช้ในภาครัฐ
มีหลายวิธีที่การจัดการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมสอดคล้องกับหลักการของสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ตัวอย่างเช่น
1. การกระจายอำนาจ: การจัดการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมเกี่ยวข้องกับการกระจายอำนาจในการตัดสินใจไปสู่ประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สิ่งนี้สอดคล้องกับหลักการกระจายอำนาจของ NPM ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มการตอบสนองและความรับผิดชอบขององค์กรภาครัฐ
2. มาตรการตามผลงาน: การจัดการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมเกี่ยวข้องกับการใช้มาตรการตามผลงานเพื่อประเมินประสิทธิผลของนโยบายสาธารณะ ซึ่งสอดคล้องกับหลักการ NPM ของการจัดการตามผลการปฏิบัติงาน ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์กรภาครัฐผ่านการใช้การวัดผลการปฏิบัติงาน
3. เทคนิคอิงตลาด: การจัดการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมเกี่ยวข้องกับการใช้เทคนิคอิงตลาด เช่น การสำรวจ การสนทนากลุ่ม และการปรึกษาหารือสาธารณะเพื่อรวบรวมความคิดเห็นจากพลเมืองและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สิ่งนี้สอดคล้องกับหลักการ NPM ของการจัดการตามตลาด ซึ่งเน้นความสำคัญของความคิดเห็นของลูกค้าและการใช้การวิจัยตลาดในการปรับปรุงการให้บริการ
โดยสรุปแล้ว การจัดการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมนั้นสอดคล้องกับหลักการของ NPM เนื่องจาก ส่งเสริมการกระจายอำนาจ มาตรการตามผลการปฏิบัติงาน และเทคนิคตามตลาดในการออกแบบ การดำเนินการ และการประเมินนโยบายสาธารณะ
ตอบ. 4.1 กรอบการจัดระเบียบการคลัง แบ่งประเด็นสำคัญออกเป็น 4 ประเด็น ดังนี้
( 1 ) ประเด็นการจัดการและความเป็นผู้นำ แบ่งออกเป็น 2 ด้าน
1. ด้านวัตถุประสงค์และความต้องการ มีความมุ่งหมายเพื่อ ความเหมาะสมในงาน, การจัดการภายใต้วัตถุประสงค์ตามกลยุทธ์ และกำหนดความรับผิดชอบและบทบาทที่ชัดเจน
2. ) ด้านผู้นำ มีความมุ่งหมายเพื่อ ผู้นำมีความเข้มแข็งและความสามารถ, ผู้นำมีความซื่อสัตย์และเป็นแบบอย่างที่ดี และผู้นำมีความสามารถในการสื่อสาร
( 2 ) ประเด็นนโยบายและขั้นตอน แบ่งออกเป็น 2 ด้าน
1. ด้านการวางแผนกลยุทธ์ มีความมุ่งหมายเพื่อ การประเมินความต้องการภายในและผลกระทบจากสถานการณ์ภายนอก
2. ด้านการจัดการที่มีประสิทธิภาพ มีความมุ่งหมายเพื่อ สร้างความร่วมมือกับองค์การอื่น, การจัดการกับตัวแทนจำหน่าย, การตรวจสอบและกำกับดูแลสัญญาที่มีประสิทธิภาพ และมีความรับผิดชอบทางการเงิน
( 3 ) ประเด็นการจัดการบุคลากร แบ่งออกเป็น 2 ด้าน
1. ด้านการลงทุนในทุนมนุษย์ มีความมุ่งหมายเพื่อ การคัดเลือกพนักงานที่เหมาะสมตามความต้องการขององค์การ
2. ด้านสนับสนุนพฤติกรรมที่ส่งเสริมจริยธรรม มีความมุ่งหมายเพื่อ กำหนดเป้าหมายการอบรม และสนับสนุนวัฒนธรรมองค์การแห่งความซื่อสัตย์และมีกระบวนการกำกับดูแล
( 4 ) ประเด็นสารสนเทศ แบ่งออกเป็น 2 ด้าน
1. ด้านข้อมูลและเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุน มีความมุ่งหมายเพื่อ การติดตามข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง, รูปแบบข้อมูลการเงินที่สะดวกต่อการใช้งาน และการวิเคราะห์รายจ่าย
2. ด้านการป้องกันและการเก็บรักษาความลับ มีความมุ่งหมายเพื่อ การควบคุมที่มีประสิทธิภาพ และระบบการจัดเก็บและการป้องกันข้อมูล
การบริหารภาคการคลังจะต้องมีการกำหนดมาตรการการควบคุมและการดำเนินการครอบคลุมในทุกมิติ การนำการจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้เพื่อการกำหนดมาตรการหรือแนวทางการบริหาร จะทำให้การบริหารมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพราะการจัดการภาครัฐแนวใหม่มีรูปแบบตั้งแต่การศึกษาสภาพแวดล้อมและปัญหา การศึกษาเอกสารและผลการดำเนินการที่ผ่านมา รวมไปถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดการดำเนินการ เพราะการดำเนินการภายใต้โครงการต่างๆ ต้องลดปัญหาแม้ว่าจะถูกจำกัดด้วยสภาพแวดล้อมและทรัพยากรที่มีอยู่ ดังนั้น การร่วมมือกันของทุกภาคส่วนเป็นขั้นตอนที่สำคัญ โดยต้องมีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน แนวทางการดำเนินงานที่แน่นอน เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้ดำเนินการตามแนวทางเดียวกัน
4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง มีกระบวนการและวิธีการในการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลัง 6 หัวข้อดังนี้
( 1 ) หลักนิติธรรม ความมุ่งหวังเพื่อ
1. มีการบังคับใช้กฎ ระเบียบอย่างเคร่งครัด และเป็นธรรม
2. มีหน่วยงานควบคุม ดูแลและตรวจสอบการทำงาน
3. มีการปรับปรุงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับให้ทันสมัย
( 2 ) หลักคุณธรรม ความมุ่งหวังเพื่อ
1. ส่งเสริมให้บุคลากรอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับธรรมภิบาล
2. ส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กรเรื่องการยึดมั่นคุณธรรม
3. รณรงค์ให้บุคลากรปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นตัวอย่างแก่สังคม
( 3 ) หลักความมีส่วนร่วม ความมุ่งหวังเพื่อ
1. เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในทุกกระบวนการปฏิบัติงาน
2. ส่งเสริมให้บุคลากรร่วมแสดงความคิดเห็นด้านการปรับปรุงการทำงาน และการแก้ไขปัญหาการดำเนินงานต่าง ๆ
( 4 ) หลักความโปร่งใส ความมุ่งหวังเพื่อ
1. มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและผลการดำเนินงานต่อสาธารณะ
2. เปิดโอกาสให้สังคมภายนอกเข้าถึงข้อมูลผลการดำเนินงาน
3. มีหน่วยงานตรวจสอบกระบวนการดำเนินงาน
( 5 ) หลักความรับผิดชอบ ความมุ่งหวังเพื่อ
1. ส่งเสริมให้บุคลากรตระหนักในหน้าที่และรับผิดชอบต่อสังคม
2. ส่งเสริมให้บุคลากรกระตือรือร้นในการแก้ปัญหาและกล้ายอมรับผลจากการกระทำ
( 6 ) หลักความคุ้มค่า ความมุ่งหวังเพื่อ
1. ส่งเสริมให้มีการจัดการและใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
2. รณรงค์การใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่าและรักษาทรัพยากรธรรมชาติให้ยั่งยืน
Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหารและความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่างๆในรูปแบบผังภาพ
1.สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของการบริหารงานของรัฐ เป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อระบบการบริหารงานของรัฐในทุกๆส่วน หรือกล่าวได้ว่า ปัจจัยดังกล่าวมีอิทธิพลต่อองค์การของรัฐทุกๆองค์การ ระดับของความสัมพันธ์ต่อองค์การอาจแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับ “ขอบเขต” ของแต่ละองค์การ เนื่องจากปัจจัยประเภทนี้เป็นปัจจัยที่เกิดจากลักษณะร่วมกันของสังคม ดังนั้นองค์การทุกๆประเภทที่ดำรงอยู่ในสังคมดังกล่าวจะต้องเผชิญและได้รับผลกระทบจากสภาพแวดล้อมประเภทนี้เสมอ หรืออาจเรียกว่า “ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก”
- ปัจจัยทางด้านวัฒนธรรม ประเพณี และค่านิยม เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อระบบการบริหารงานของรัฐ ซึ่งมีความแตกต่างกันไปตามภูมิภาค เชื้อชาติ ศาสนา ฯลฯ ซึ่งมีบทบาทอย่างมากในการกำหนดนโยบายและประสิทธิภาพของการบริหารงาน จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่รัฐจะต้องสรรหาผู้ที่เหมาะสมเข้าไปทำหน้าที่ให้เหมาะสมกับสังคมนั้น ๆ
- ระบบชนชั้นและสถาบันทางสังคม การศึกษาถึงโครงสร้างทางชนชั้นของสังคม จะทำให้ผู้บริหารได้เข้าใจถึงบทบาทและหน้าที่ ตลอดจนสถานภาพที่สังคมเป็นผู้กำหนดให้กับบุคคลต่างๆ สถาบันทางสังคม เช่น สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันกษัตริย์ ฯลฯ ทำหน้าที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชนในชาติที่มีอิทธิพลต่อวิธีการดำเนินชีวิตของประชาชน
- ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทางเศรษฐกิจมีอิทธิพลต่อการบริหารงานของรัฐ ทั้งในทางตรงและทางอ้อม การปฏิบัติงานของหน่วยงานใดๆจำเป็นต้องอาศัยงบประมาณเป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากร ดังนั้นหากประเทศมีสภาพเศรษฐกิจที่ย่ำแย่ย่อมเป็นผลให้รัฐบาลเก็บภาษีได้น้อย หน่วยงานต่างๆของรัฐย่อมได้รับงบประมาณในการดำเนินงานน้อยตามไปด้วย
2.สภาพแวดล้อมเฉพาะสำหรับองค์การต่างๆของรัฐ เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับระบบการบริหารงานในแต่ละองค์การ เรียกได้ว่าเป็นปัจจัยที่มีผลกระทบโดยตรงต่อระบบการบริหารขององค์การ อาจพิจารณาระบบสภาพแวดล้อมประเภทนี้ว่าเป็นระบบของทรัพยากรในการบริหาร สภาพแวดล้อมประเภทนี้มีลักษณะเฉพาะที่จำเป็นในการดำเนินการสำหรับองค์การหนึ่งๆแต่อาจจะเป็นสิ่งที่ไม่มีความจำเป็นสำหรับองค์การอื่นๆเลยก็ได้ หรือที่เรียกว่า “ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน”
- การเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการแสวงหาอำนาจเพื่อการปกครองประเทศ ในการดำเนินการดังกล่าวจำเป็นต้องคำนึงถึงความต้องการของประชาชน กรอบกติกาที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ และกฎหมายต่างๆ ตลอดจนประเพณีและวัฒนธรรมทางการเมืองของชาติด้วย ในทัศนะของนักการเมืองจะมองว่าระบบการบริหารเป็นระบบหนึ่งของการเมืองการปกครอง แต่ในทัศนะของนักบริหารจะมองว่าการเมืองเป็นระบบย่อยที่จัดอยู่ในระบบสภาพแวดล้อมทางการบริหาร
- ปัจจัยทางกฎหมาย กฎหมายเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการโดยทางตรงและทางอ้อม กฎหมายจึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการบริหารงานของรัฐ และเป็นปัจจัยที่สามารถส่งอิทธิพลทำให้ปัจจัยแวดล้อมอื่นๆของการบริหารเปลี่ยนแปลงได้ อันจะนำมาซึ่งผลกระทบต่อการบริหารในระยะยาว การเปลี่ยนแปลงแก้ไขกฎหมายจึงเป็นสิ่งที่ควรกระทำด้วยความระมัดระวังและต้องคำนึงถึงผลกระทบทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมต่อการบริหารงานของรัฐ
- เทคโนโลยี เทคโนโลยีเป็นระบบของความรู้อันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ในอันที่จะสร้างความสะดวกสบายในการดำเนินชีวิต เช่น ยานพาหนะ เครื่องมือสื่อสาร อุปกรณ์สำนักงาน เป็นต้น เทคโนโลยีเมื่อนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการบริหาร จัดว่าเป็นเงื่อนไขประการหนึ่งของการเกิดระบบการบริหารจัดการ และการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
Assingment ที่ 1 นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่างๆ ในรูปแบบผังภาพ
ตอบ การบริหารการพัฒนาเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับปัจจัยภายนอกองค์การเพื่อโน้มน้าวให้หน่วยงานและบุคคล หันมาสนับสนุนนโยบายและให้ความร่วมมือในการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายของ การบริหารการพัฒนา ปรากฏ เช่น นีสื่อให้เห็นว่าหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารการพัฒนา จำเป็นต้องเข้าไปมีปฏิกิริยาโต้ตอบกับสภาพแวดล้อม นั่นคือ หน่วยงานเหล่านี้จะได้รับผลกระทบจาก สิ่งแวดล้อม และสภาพแวดล้อมเอง ก็จะได้ รับผลกระทบจากการบริหารการพัฒนาของหน่วยงานด้วย เนื่องจากสภาพแวดล้อมมีความสำคัญต่อ การบริหารการพัฒนา
สรุป ได้ว่าสภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาหมายถึงสิ่งที่เป็นรูปธรรม นามธรรมทั้งภายนอก ภายใน และรอบๆองค์การ และสิ่งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมดังกล่าวนี้ มีอิทธิพลเหนือโครงสร้าง กระบวนการและพฤติกรรมของการพัฒนาการบริหาร และการบริหารเพื่อการพัฒนา หรือในทางกลับกันสภาพแวดล้อมที่เป็นรูปธรรมอาจรวมถึงสภาพแวดล้อมที่เป็นนามธรรม ได้แก่ การประดิษฐ์คิดค้นทางสังคมอันรวมถึงสภาพแรงงาน กลุ่มผลประโยชน์ อุดมการณ์ อารยธรรมธุรกิจ บรรษัท ปัจเจกชนนิยม ระบบการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เป็นต้น
ตอบ มีเป้าหมายเพื่อพัฒนางานบริการของส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐสู่ความเป็นเลิศ เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจ ต่อคุณภาพการให้บริการ โดยออกแบบการบริการที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เหมาะสมมาใช้เพื่อให้ประชาชนสามารถใช้บริการได้ง่ายและหลากหลายรูปแบบ เช่น
1.ส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐพัฒนาระบบการเชื่อมโยงงานบริการซึ่งกันและกัน และวางรูปแบบ การให้บริการประชาชนที่สามารถขอรับบริการจากภาครัฐได้ทุกเรื่อง โดยไม่คำนึงว่าผู้รับบริการ จะมาขอรับบริการ ณ ที่ใด
2.ยกระดับการดำเนินงานของศูนย์บริการร่วม (One Stop Service) ด้วยการเชื่อมโยงและ บูรณาการกระบวนงานบริการที่หลากหลายจากส่วนราชการต่าง ๆ มาไว้ ณ สถานที่เดียวกัน เพื่อให้ประชาชนสามารถรับบริการได้สะดวก รวดเร็ว ณ จุดเดียว เช่น ศูนย์รับคำขออนุญาต ศูนย์ช่วยเหลือเด็กและสตรีในภาวะวิกฤต
3. ส่งเสริมให้ส่วนราชการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาใช้ในการให้บริการ ประชาชน เพื่อให้สามารถเข้าถึงบริการของรัฐได้ง่ายขึ้น รวมทั้งพัฒนารูปแบบ การบริการที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเป็นผู้เลือกรูปแบบการรับบริการที่เหมาะสมกับความต้องการของตนเอง โดยนำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้ เช่น m - Government ซึ่งให้บริการผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่ส่งข้อมูลข่าวสารและบริการถึง ประชาชน แจ้งข่าวภัยธรรมชาติ ข้อมูลการเกษตร ราคาพืชผล หรือการติดต่อและแจ้งข้อมูล ข่าวสารผ่านสังคมเครือข่ายออนไลน์
4.ส่งเสริมให้มีเว็บกลางของภาครัฐ (Web Portal) เพื่อเป็นช่องทางของบริการภาครัฐทุกประเภท โดยให้เชื่อมโยงกับบริการในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ทุกหน่วยงานของภาครัฐ รวมถึงข้อมูล ข่าวสาร องค์ความรู้ ซึ่งประชาชนสามารถเข้าถึงได้
5.ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการให้บริการประชาชนที่มีความเชื่อมโยงกันระหว่างหลาย ส่วนราชการ นำไปสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการประกอบธุรกิจของประเทศและการ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยทบทวนขั้นตอน ปรับปรุงกระบวนงาน หรือแก้ไข กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เป็นอุปสรรคต่อการให้บริการประชาชนของหน่วยงาน ของรัฐ เพื่อให้การปฏิบัติงานเกิดความคล่องตัวและเอื้อต่อการแข่งขันของประเทศ
6.ส่งเสริมให้มีการนำระบบการรับประกันคุณภาพมาตรฐานการให้บริการ มาใช้ในภาครัฐ ซึ่งเป็นการกำหนดเงื่อนไขในการให้บริการของหน่วยงานของรัฐ ที่มีต่อประชาชน โดยการกำหนดระดับการให้บริการ ซึ่งครอบคลุมการกำหนดลักษณะ ความสำคัญ ระยะเวลา รวมถึงการชดเชยกรณีที่การให้บริการไม่เป็นไปตามที่กำหนด
7.ส่งเสริมให้มีการพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริการภาครัฐโดยใช้ประโยชน์จากบัตรประจำตัว ประชาชน ในการเชื่อมโยงและบูรณาการข้อมูลของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการ ประชาชนตามวงจรชีวิต โดยเฉพาะการใช้ประโยชน์จากบัตรสมาร์ทการ์ด หรือ เลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก
8.ส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐมีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ค่านิยมและหล่อหลอมการสร้าง วัฒนธรรมองค์การให้ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ของรัฐมีจิตใจที่เอื้อต่อการให้บริการที่ดีรวมถึง เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปรับปรุงคุณภาพการบริการโดยตรงมากขึ้น
9.ส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐยกระดับระบบการบริการประชาชนโดยการจำแนกกลุ่มผู้รับบริการ การสำรวจความพึงพอใจของประชาชนที่ใช้บริการเพื่อให้สามารถนำมาปรับปรุง และพัฒนา คุณภาพการบริการได้อย่างจริงจัง เน้นการสำรวจความพึงพอใจของประชาชน ณ จุดบริการ หลังจากได้รับการบริการ และนำผลสำรวจความพึงพอใจมาวิเคราะห์ ศึกษาเปรียบเทียบ เพื่อ ปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานและเผยแพร่ผลการสำรวจให้ประชาชนทราบ โดยอาจจัดตั้ง สถาบันการส่งเสริมการให้บริการประชาชนที่เป็นเลิศเพื่อทำหน้าที่ในการสำรวจความคิดเห็น วิเคราะห์ ติดตาม เสนอแนะ การปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการบริการประชาชนแก่ส่วนราชการต่าง ๆ
10.ส่งเสริมให้ส่วนราชการมีการพัฒนาระบบการจัดการข้อร้องเรียนและแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน ของประชาชนอย่างจริงจังโดยเน้นการจัดการเชิงรุก มีการรวบรวมหลักเกณฑ์และกระบวนการ จัดการข้อร้องเรียนให้มีประสิทธิภาพเป็นมาตรฐานตอบสนองทันท่วงที สามารถติดตาม เรื่องร้องเรียนได้ตั้งแต่จุดเริ่มต้นและสิ้นสุดของการให้บริการ รวมไปถึงการมีฐานข้อมูลและ ระบบสารสนเทศในการเชื่อมโยงข้อมูลกันระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ
11.วางหลักเกณฑ์ แนวทาง และกลไกการช่วยเหลือเยียวยาเมื่อประชาชนได้รับความไม่เป็นธรรม หรือได้รับความเสียหายที่เกิดจากความผิดพลาดของการดำเนินการของภาครัฐและปัญหา ที่เกิดจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ หรือปัญหาอื่น ๆ ที่รัฐมีส่วนเกี่ยวข้อง
Assignment ที่ 3 อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
ตอบ การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่จึงเป็นแนวคิดพื้นฐานของการบริหารจัดการภาครัฐซึ่งจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงระบบต่าง ๆ ของภาครัฐและยุทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ ที่เป็นรูปธรรม มีแนวทางในการบริหารจัดการดังนี้
1.การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน
2.ลดการควบคุมจากส่วนกลางและเพิ่มอิสระในการบริหารให้แก่หน่วยงาน
3.การกำหนด การวัด และการให้รางวัลแก่ผลการดำเนินงานทั้งในระดับองค์กร และระดับบุคคล
4.การสร้างระบบสนับสนุนทั้งในด้านบุคลากร (เช่น การฝึกอบรม ระบบค่าตอบแทนและระบบคุณธรรม) เทคโนโลยี เพื่อช่วยให้หน่วยงานสามารถทำงานได้อย่างบรรลุวัตถุประสงค์
5.การเปิดกว้างต่อแนวคิดในเรื่องของการแข่งขัน ทั้งการแข่งขันระหว่างหน่วยงานของรัฐด้วยกัน และระหว่างหน่วยงานของรัฐกับหน่วยงานของภาคเอกชน ในขณะเดียวกันภาครัฐก็หันมาทบทวนตัวเองว่าสิ่งใดควรทำเองและสิ่งใดควรปล่อยให้เอกชนทำ
Assignment ที่ 4 ให้นักศึกษา อภิปรายถึง 4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง และ 4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ตอบ 4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง พื้นฐานการบริหารการคลังที่มีประสิทธิภาพ และสร้าง ประสิทธิผลต่องานทางด้านการคลัง หน่วยงานภาครัฐจะต้อง กำ หนดประเด็นสำคัญในการบริหารให้แยกออกเป็นขอบข่าย ที่สำคัญ 4 ขอบข่าย ดังต่อไปนี้
1.การจัดการและการคัดเลือกผู้นำ เพื่อเป็นผู้กำ หนด ทิศทางการคลังในทุกภาคส่วน จะต้องมีการ
บริหารงานด้าน การจัดซื้อจัดจ้างให้สอดคล้องกับหน่วยงาน สอดคล้องกับ ความต้องการในด้านประโยชน์และสอดคล้องกับเป้าประสงค์ ของแผนงาน หรือแผนกลยุทธ์รวมทั้งกำ หนดขอบเขตความ รับผิดชอบและบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน
2.การจัดการนโยบายและการวางแผน จะต้องใช้หลักการ เชิงกลยุทธ์เข้ามาเป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อน มีการประเมิน ผลกระทบภายในองค์การในการจัดสรรงบประมาณ และต้อง มีการประเมินผลกระทบภายนอกควบคู่ด้วยเช่นกัน เพื่อการ จัดการที่มีประสิทธิภาพ การคลังจะต้องสร้างความร่วมมือ กับทุกองค์การ และทุกหน่วยงานทั้งหน่วยงานภาครัฐและ หน่วยงานภาคเอกชน มีการจัดการผู้จัดจำ หน่าย ลดการผูกขาดเน้นประสิทธิภาพใน การตรวจสอบและการกำกับดูแลสัญญาใส่ใจในการรับผิดชอบ ทางการเงิน
3.การจัดการงานบุคคล การสั่งสมทุนมนุษย์การสร้าง วัฒนธรรมในองค์การมีแต่ความซื่อสัตย์และมีกระบวนการ กำ กับดูแลที่มีประสิทธิภาพมีการควบคุมอย่างชัดเจน สนับสนุนการสร้างพฤติกรรมที่มีจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่
4.ข้อมูลข่าวสาร การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้า มาจัดการข้อมูล มีการติดตามผล การวางฐานข้อมูลทาง การเงินและระบบนั้นจะต้องให้ง่ายต่อความเข้าใจในระดับ ผู้บริหาร มีระบบป้องกัน และการจัดการให้ข้อมูลเป็นความลับ
4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ตอบ หลักธรรมาภิบาล กระบวนการและวิธีการในการนำหลักธรรมภิบาลมาใช้
1. หลักนิติธรรม
1.1 มีการบังคับใช้กฎ ระเบียบอย่างเคร่งครัด และเป็นธรรม
1.2 มีหน่วยงานควบคุม ดูแลและตรวจสอบการทำงาน
1.3 มีการปรับปรุงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับให้ทันสมัย
2. หลักคุณธรรม
2.1 ส่งเสริมให้บุคคลากรอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับธรรมภิบาล
2.2 ส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กรเรื่องการยึดมั่นคุณธรรม
2.3 รณรงค์ให้บุคคลากรปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นตัวอย่างแก่สังคม
3. หลักความมีส่วนร่วม
3.1 เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในทุกกระบวนการ ปฏิบัติงาน
3.2 ส่งเสริมให้บุคลากรร่วมแสดงความคิดเห็นด้านการปรับปรุง การทำงาน และการแก้ไขปัญหาการ
ดำเนินงานต่างๆ
4. หลักความโปร่งใส
4.1 มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและผลการดำเนินงานต่อสาธารณะ
4.2 เปิดโอกาสให้สังคมภายนอกเข้าถึงข้อมูลผลการดำเนินงาน
4.3 มีหน่วยงานตรวจสอบกระบวนการดำเนินงาน
5. หลักความรับผิดชอบ
5.1 ส่งเสริมให้บุคคลากรตระหนักในหน้าที่ และรับผิดชอบ ต่อสังคม
5.2 ส่งเสริมให้บุคลากรกระตือรือร้นในการแก้ปัญหา และกล้า ยอมรับผลจากการกระทำ
6. หลักความคุ้มค่า
6.1 ส่งเสริมให้มีการจัดการและใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
6.2 รณรงค์การใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่าและรักษา ทรัพยากรธรรมชาติให้ยั่งยืน
assignment ที่ 2
การให้บริการภาครัฐผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ในเทคโนโลยีในตอนนี้ หลายประเทศได้ให้ความสำคัญกับการให้บริการภาครัฐผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ทำให้ การจัดการบริการต่าง ๆ ของภาครัฐให้กับประชาชนผ่านช่องทางออนไลน์ เพื่อเป็นการเพิ่มช่องทางให้กับประชาชนในการติดต่อและขอรับบริการจากภาครัฐ ซึ่งช่องทางดังกล่าวสามารถตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวกรวดเร็ว อย่างเช่นการร้องเรียนผ่านแอพพลิเคชั่น Traffy Fondue (ทราฟฟี่ ฟองดูว์) เป็นแพลตฟอร์มที่จัดทำขึ้นผ่านช่องทางแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับให้ประชาชนไว้แจ้งปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง เพื่อให้การแก้ไขปัญหาเป็นไปอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นปัญหาความสะอาด ปัญหาทางเท้า ไฟส่องสว่าง หรือถนนชำรุด อีกทั้งเป็นการแจ้งปัญหาด้วยการระบุข้อมูลอย่างชัดเจน ทั้งภาพถ่าย หรือตำแหน่งบนแผนที่ ซึ่งจะช่วยอำนวยความสะดวกให้หน่วยงานสามารถดำเนินการแก้ปัญหาได้ทันท่วงที และไม่เสียเงิน
assignment ที่ 3
หลักๆก็คือ ต้องโปร่งใส สามารถ ตรวจสอบได้ ประชาชนมีส่วนร่วมในการช่วยและมีบทบาท เป็นการบริหารงานที่ มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ มีมาตรฐานวัดได้ ใช้กลไก เปิดโอกาสในการแข่งขันทั้งภาคเอกชนและภาคประชาชนในการเข้าร่วมการลงทุนอย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ การให้บริการที่ตอบสนองต่อความ ต้องการของประชาชน ดังนั้นเพื่อให้ระบบราชการมีความสอดคล้องกับแนวคิดการปฏิรูประบบราชการ ควรมีลักษณะ คือ รัฐจะมีบทบาทหน้าที่เฉพาะในส่วนที่จำเป็นจะต้องทำเท่านั้นเพื่อเปิดโอกาสให้ ประชาชนและชุมชนมีบทบาทมากขึ้น มีการบริหารจัดการภายในภาคราชการที่มีความรวดเร็ว คุณภาพสูง และมีประสิทธิภาพ มีการจัดองค์กรที่มีความกะทัดรัดคล่องตัวและปรับเปลี่ยนได้อย่าง รวดเร็ว เน้นการทำงานที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือตามลักษณะของการทำงานที่ทันสมัย ใช้อุปกรณ์ที่ เหมาะสมต่อการทำงาน มีการพัฒนาสมรรถนะข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีคุณภาพสูง ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์โดยมีประชาชนเป็นเป้าหมาย มีกลไกการบริหารงานบุคคล ที่หลากหลาย มีระบบค่าตอบแทนที่เป็นธรรมเพื่อเปิดโอกาสให้บุคคลที่มีความรู้ความสามารถเต็มใจมารับราชการอย่างมืออาชีพ มีวัฒนธรรมองค์กรและมีบรรยากาศในการทำงานแบบมีส่วนร่วม มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้
assignment ที่ 4
4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง สำนักงานบริหารงานทั่วไปของสหรัฐ ได้นำ เสนอกรอบการจัดระเบียบ การบริหารการคลังไว้โดยมีการกำหนดประเด็นสำคัญๆ ที่จะทำ ให้การบริหารการคลังภาครัฐประสบความสำเร็จ ประกอบด้วย ทั้ง 4 ขอบข่าย ดังนี้
-การจัดการและการคัดเลือกผู้นำ ประกอบด้วยวัตถุประสงค์และความต้องการ , ด้านผู้นำ
-การจัดการงานบุคคล ประกอบด้วย ส่งเสริมจริยธรรมและการลงทุนในมนุษย์
-นโยบายการวางแผน ประกอบด้วยการวางแผนกลยุทธ์และการจัดการที่มีประสิทธิภาพ
-ข้อมูลข่าวสาร ประกอบด้วย ข้อมูลและเทคโนโลยีที่สนับสนุน และการเก็บรักษาความลับ
4.2ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ปัจจัยความสำเร็จในการพัฒนาหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลังขององค์กร ต้น แบบที่ดีภาครัฐทั้ง 6 องค์กร ส่วนใหญ่เป็น ปัจจัยด้านรูปแบบ และด้านการจัดบุคคล เข้าทำงาน ซึ่งประกอบด้วย 1.การเป็น แบบอย่างที่ดีของผู้นำ 2.การเปิดโอกาส ให้ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการ เสนอความคิด เห็นและปัญหา และ 3 มี กิจกรรมและการอบรมการนำหลักธรรมาภิบาลมา ใช้ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง
Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
ตอบ
ปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร
1.ปัจจัยทางด้านวัฒนธรรม ประเพณี และค่านิยม เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อระบบการบริหารงานของรัฐ ซึ่งมีความแตกต่างกันไปตามภูมิภาค เชื้อชาติ ศาสนา ฯลฯ ซึ่งมีบทบาทอย่างมากในการกำหนดนโยบายและประสิทธิภาพของการบริหารงาน จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่รัฐจะต้องสรรหาผู้ที่เหมาะสมเข้าไปทำหน้าที่ให้เหมาะสมกับสังคมนั้น ๆ
2. ระบบชนชั้นและสถาบันทางสังคม การศึกษาถึงโครงสร้างทางชนชั้นของสังคม จะทำให้ผู้บริหารได้เข้าใจถึงบทบาทและหน้าที่ ตลอดจนสถานภาพที่สังคมเป็นผู้กำหนดให้กับบุคคลต่างๆ สถาบันทางสังคม เช่น สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันกษัตริย์ ฯลฯ ทำหน้าที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชนในชาติที่มีอิทธิพลต่อวิธีการดำเนินชีวิตของประชาชน การบริหารงานใดๆก็ตามที่นำไปสู่ความขัดแย้งกับสถาบันทางสังคม ก็จะถูกต่อต้านอย่างรุนแรงและก่อให้เกิดปัญหาตามมา เช่น การเดินขบวน การก่อการร้าย เป็นต้น
3. ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทางเศรษฐกิจมีอิทธิพลต่อการบริหารงานของรัฐ ทั้งในทางตรงและทางอ้อม การปฏิบัติงานของหน่วยงานใดๆจำเป็นต้องอาศัยงบประมาณเป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากร ดังนั้นหากประเทศมีสภาพเศรษฐกิจที่ย่ำแย่ย่อมเป็นผลให้รัฐบาลเก็บภาษีได้น้อย หน่วยงานต่างๆของรัฐย่อมได้รับงบประมาณในการดำเนินงานน้อยตามไปด้วย และสภาพเศรษฐกิจยังมีอิทธิพลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในสังคมอีกด้วย
4.ปัจจัยทางประชากร ในการกำหนดนโยบายตลอดจนวิธีการบริหารงานขององค์การใดๆ ของรัฐ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการศึกษาถึงปัจจัยทางด้านประชากรที่องค์การนั้นๆ จะเข้าไปเกี่ยวข้องดัวย ข้อมูลดังกล่าวเป็นเครื่องชี้ให้ผู้บริหารได้เห็นสภาพแรงงานของท้องถิ่นนั้นๆ นอกจากนี้ผู้บริหารยังต้องการข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนผู้บริโภคในสินค้าและบริการของตน เพราะกิจกรรมใดๆ ของรัฐ ย่อมเป็นไปเพื่อบำบัดความต้องการของสังคม หรือเพื่อให้บริการของรัฐต่อประชาชน
5.ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสิ่งแวดล้อมที่มีความสำคัญยิ่ง และเป็นตัวชี้ให้เห็นถึงศักยภาพของประเทศนั้นๆ ในการที่จะพัฒนาต่อไป นอกจากรัฐบาลจะต้องพยายามบริหารประเทศให้สอดคล้องกับทรัพยากรของชาติที่มีอยู่แล้ว รัฐบาลจะต้องตระหนักอยู่ตลอดเวลาว่า ทรัพยากรธรรมชาตินั้นเป็นสิ่งที่สามารถควบคุมจัดสรรให้เกิดประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นได้โดยอาศัยเทคโนโลยีและการจัดการที่ดี หากรัฐบาลละเลยก็จะทำให้ประเทศต้องสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติไปโดยเปล่าประโยชน์
6.การศึกษาของประชาชน ระดับการศึกษาของประชาชนเป็นเครื่องชี้ให้เห็นถึงระดับความเจริญของสังคมและมีอิทธิพลต่อการกำหนดรูปแบบของการบริหาร ถ้าประชาชนส่วนใหญ่ยังคงอ่านหนังสือไม่ออก การกระจายอำนาจในการบริหารก็จะประสบปัญหา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของการติดต่อสื่อสาร นอกจากนี้การที่รัฐจะนำเอาเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ย่อมทำได้ลำบากยิ่งขึ้น
7.ปัจจัยทางการเมือง การเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการแสวงหาอำนาจเพื่อการปกครองประเทศ ในการดำเนินการดังกล่าวจำเป็นต้องคำนึงถึงความต้องการของประชาชน กรอบกติกาที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ และกฎหมายต่างๆ ตลอดจนประเพณีและวัฒนธรรมทางการเมืองของชาติด้วย ในทัศนะของนักการเมืองจะมองว่าระบบการบริหารเป็นระบบหนึ่งของการเมืองการปกครอง แต่ในทัศนะของนักบริหารจะมองว่าการเมืองเป็นระบบย่อยที่จัดอยู่ในระบบสภาพแวดล้อมทางการบริหาร
8.ปัจจัยทางกฎหมาย กฎหมายเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการโดยทางตรงและทางอ้อม กฎหมายจึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการบริหารงานของรัฐ และเป็นปัจจัยที่สามารถส่งอิทธิพลทำให้ปัจจัยแวดล้อมอื่นๆของการบริหารเปลี่ยนแปลงได้ อันจะนำมาซึ่งผลกระทบต่อการบริหารในระยะยาว การเปลี่ยนแปลงแก้ไขกฎหมายจึงเป็นสิ่งที่ควรกระทำด้วยความระมัดระวังและต้องคำนึงถึงผลกระทบทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมต่อการบริหารงานของรัฐ
9.เทคโนโลยี เทคโนโลยีเป็นระบบของความรู้อันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ในอันที่จะสร้างความสะดวกสบายในการดำเนินชีวิต เช่น ยานพาหนะ เครื่องมือสื่อสาร อุปกรณ์สำนักงาน เป็นต้น เทคโนโลยีเมื่อนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการบริหาร จัดว่าเป็นเงื่อนไขประการหนึ่งของการเกิดระบบการบริหารจัดการ และการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
10.ปัญหาและวิกฤติการณ์ของสังคม ปัญหาและวิกฤติการณ์ทางสังคมเป็นปัจจัยแวดล้อมที่มักมีที่มาจากปัจจัยเบื้องต้นดังที่กล่าวมาข้างต้น และเป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อระบบการบริหารงานของรัฐ มีลักษณะเป็นปัญหาเฉพาะหน้า ที่รัฐบาลจะต้องเผชิญและแก้ไข เช่น ปัญหาการว่างงาน ปัญหาพลังงานและมลภาวะ เป็นต้น
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
ตอบ
การพัฒนาระบบราชการที่ผ่านมาได้นาแนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่มาปรับใช้ โดยมีเหตุผลหลักที่สำคัญจากปัญหาของระบบราชการไทยที่มีหลายประการและสั่งสมมานาน และ กระแสโลกาภิวัตน์ส่งผลให้สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกประเทศ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ การลดความเหลื่อมล้ำที่เน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืน และทั่วถึงเป็นธรรม การเติบโตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม ภายใต้ปัจจัยด้านต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลงในสภาวะแวดล้อมของประเทศ ความต้องการและความคาดหวังต่อการได้รับบริการจากภาครัฐเพิ่มสูงขึ้น ตลอดจนการมุ่งแก้ไขปัญหาที่ สั่งสมมาของระบบราชการไทยในเรื่องโครงสร้างนวัตกรรม กฎหมาย กฎระเบียบ ที่เป็นอุปสรรค และ ซ้ำซ้อนไม่ทันสมัย ทั้งนี้ได้กาหนดแผนกลยุทธ์และมาตรการในการพัฒนาระบบราชการ ได้แก่ 1) การลด ขั้นตอนและระยะเวลาในการปฏิบัติราชการ 2) การปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชน ให้เป็นที่ยอมรับ ปรับปรุง แก้ไข ยกระดับ และพัฒนากฎหมาย ระเบียบ ขั้นตอนการให้บริการ
การอำนวยความสะดวก และมาตรฐานของส่วนราชการ 3) การพัฒนาขีดสมรรถนะและศักยภาพของ ข้า ราชการการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาใช้ในการให้บริการประชาชน (e-Service)
การแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนจากการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการและการทุจริตคอร์รัปชัน 4) การบูรณาการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานและภาคส่วนต่าง ๆ โดยยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ ราชการจึงได้กำหนดให้ปรับปรุงกลไกภาคราชการให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส สามารถตอบสนอง ความต้องการของประชาชนได้ และก่อให้เกิดความเชื่อมั่น ศรัทธาต่อการทำงานของภาคราชการเพิ่มขึ้น ซึ่งจะเอื้อต่อการเสริมสร้างรากฐานที่เข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และสังคมในการพัฒนาประเทศ และพร้อม ที่จะรองรับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคต
Assignment ที่ 3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
ตอบ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การสร้างความเป็นเลิศในการให้บริการประชาชน
พัฒนางานบริการส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐพัฒนาระบบการเชื่อมโยงงานบริการซึ่งกันและ กันสู่ความเป็นเลิศ โดยออกแบบการบริการที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง นาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเข้ามาใช้ในการให้บริการประชาชน ยกระดับการดาเนินงานของศูนย์บริการร่วมด้วยการ เชื่อมโยงและบูรณาการกระบวนงานบริการที่หลากหลายจากส่วนราชการต่าง ๆ มาไว้ ณ สถานที่ เดียวกันใหส้ ามารถใช้บริการได้ง่ายและหลากหลายรูปแบบ เน้นการบริการเชิงรุกที่มีปฏิสัมพันธ์โดยตรง ระหว่างภาครัฐและประชาชน การให้บริการแบบเบ็ดเสร็จอย่างแท้จริง พัฒนาระบบการจัดการ ข้อร้องเรียนและแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนอย่างจริงจัง โดยเน้นการจัดการเชิงรุกอย่างมี ประสิทธิภาพรวมทั้งเสริมสร้างวัฒนธรรมการบริการที่เป็นเลิศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาองค์การให้มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย
เพื่อพัฒนาส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐสู่องค์การแห่งความเป็นเลิศ โดยเน้นการจัด โครงสร้างองค์การที่มีความทันสมัย ลดความซ้าซ้อน มีความยืดหยุ่น สามารถปรับตัวได้อย่างต่อเนื่อง ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการทางาน เน้นการคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานหลักโดย การจัดระบบงานอิเล็กทรอนิกส์ พัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากรในองค์การ นารูปแบบการใช้บริการ ร่วมกันเพื่อประหยัดทรัพยากร ลดค่าใช้จ่าย ยกระดับคุณภาพมาตรฐานและเพิ่มประสิทธิภาพ การทางานของหน่วยงานของรัฐ สร้างความรับผิดชอบต่อสังคม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารสินทรัพย์ของภาครัฐให้เกิด ประโยชน์สูงสุด
เพื่อวางระบบการบริหารจัดการสินทรัพย์ของราชการอย่างครบวงจร โดยคานึงถึง ค่าใช้จ่าย ที่ผูกมัด/ผูกพันติดตามมา ส่งเสริมให้มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารสินทรัพย์และบูรณาการเข้ากับระบบบริหารจัดการทรัพยากรขององค์การ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดหรือ สร้างมูลค่าเพิ่ม สร้างโอกาส และสร้างความมั่นคงตามฐานะเศรษฐกิจของประเทศ ลดความสูญเสีย สิ้นเปลืองและเปล่าประโยชน์รวม ลดต้นทุน โดยจัดให้มีระบบและข้อมูลเพื่อให้หน่วยราชการ ใช้ประกอบการวัดและวิเคราะห์ การใช้สินทรัพย์เพื่อให้เกิดผลิตภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : การวางระบบการบริหารงานราชการแบบบูรณาการ
เพื่อส่งเสริมการบริหารงานแบบบูรณาการในยุทธศาสตร์สาคัญของประเทศ เพื่อให้สามารถ รองรับการขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์สาคัญของประเทศที่ต้องอาศัย การดาเนินงานที่มีความยืดหยุ่น คล่องตัว ไม่ยึดติดกับโครงสร้างองค์การและระบบราชการแบบเดิม จัดสรรงบประมาณให้มีลักษณะแบบ ยึดยุทธศาสตร์และเป้าหมายร่วมเป็นหลัก เพื่อให้เอื้อต่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สาคัญของประเทศ และการบริหารงานแบบบูรณาการ พัฒนารูปแบบและวิธีการทางานของภาครัฐในระดับต่าง ๆ ระหว่าง ราชการบริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น โดยเน้นการยึดพื้นที่เป็นหลัก เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือ ประสานสัมพันธ์กันในการปฏิบัติงานและการใช้ทรัพยากรให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 : การส่งเสริมระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกัน ระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
เพื่อส่งเสริมส่งเสริมการสร้างความร่วมมือในรูปภาคีหุ้นส่วนระหว่างภาครัฐกับเอกชนเพื่อให้ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและบริการสาธารณะได้เพียงพอกับความต้องการขอ งประชาชน ให้ความสาคัญต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน มุ่งเน้นการพัฒนารูปแบบและแนวทางการบริหารงาน แบบเครือข่าย โดยการปรับเปลี่ยนบทบาท โครงสร้าง และกระบวนการทางานขององค์กรภาครัฐให้ สามารถเชื่อมโยงทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ให้เกิดการพึ่งพากันในรูปแบบ พันธมิตร เกิดนวัตกรรมใหม่ ๆ มีการตัดสินใจที่รวดเร็วทันต่อสถานการณ์
Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง 4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง และ4 .2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ตอบ
4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง
สํานักงานบริหารงานทั่วไปของสหรัฐ (U.S. General Accountability Office: GAO) ได้นําเสนอกรอบการจัดระเบียบ การบริหารการคลังไว้ โดยมีการกําาหนดประเด็นสําคัญๆ ที่จะทําาให้การบริหารการคลังภาครัฐประสบความสําเร็จ ประกอบด้วย ท้ังสี่ขอบข่าย ได้แก่
1.การจัดการและ การคัดเลือกผู้นํา
2.นโยบายและ การวางแผน
3.การจัดการ งานบุคคล
4.ข้อมูลข่าวสาร
4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ปัจจัยความสาเร็จในการ นำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการ คลังขององค์กรต้นแบบที่ดีภาครัฐ ประกอบด้วย ปัจจัยด้านการเป็นแบบอย่างของผู้นำ ปัจจัยด้านการ มีส่วนร่วมของบุคลากร ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ปัจจัยด้านการอบรมและกระตุ้นจิตสานึก ด้านธรรมาภิบาลอย่างต่อเนื่องให้แก่บุคลากร และ ปัจจัยในการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาใช้ในการ ปฏิบัติงาน ผลการศึกษาดังกล่าวนี้สอดคล้องกับ การศึกษาของสุรศักดิ์ ชะมารัมย์ (2554) เรื่องปัจจัย ที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารจัดการของสำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดในเขตภาคตะวันออกเฉียง เหนือ ที่พบว่า ปัจจัยความสำเร็จของการนำหลัก ธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารจัดการของสำ นักงานพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย ปัจจัยค่านิยม ร่วมและวัฒนธรรมองค์กร ปัจจัยความชัดเจนของ ยุทธศาสตร์ ปัจจัยภาวะผู้นำของผู้บริหาร ปัจจัยความเหมาะสมของโครงสร้างหน่วยงาน และปัจจัย การมีส่วนร่วมของบุคลากร
Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
ตอบ สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของการบริหารงานของรัฐ
1.ปัจจัยทางด้านวัฒนธรรม ประเพณี และค่านิยมเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อระบบการบริหารงานของรัฐ ซึ่งมีความแตกต่างกันไปตามภูมิภาค เชื้อชาติ ศาสนา ซึ่งมีบทบาทอย่างมากในการกำหนดนโยบายและประสิทธิภาพของการบริหารงาน จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่รัฐจะต้องสรรหาผู้ที่เหมาะสมเข้าไปทำหน้าที่ให้เหมาะสมกับสังคมนั้น ๆ
2.ระบบชนชั้นและสถาบันทางสังคมการศึกษาถึงโครงสร้างทางชนชั้นของสังคม จะทำให้
ผู้บริหารได้เข้าใจถึงบทบาทและหน้าที่ ตลอดจนสถานภาพที่สังคมเป็นผู้กำหนดให้กับบุคคลต่างๆสถาบันทางสังคม เช่น สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนาสถาบันกษัตริย์ ฯล ฯ ทำหน้าที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชนในชาติที่มีอิทธิพลต่อวิธีการดำเนินชีวิตของประชาชนการบริหารงานใด ๆ ก็ตามที่นำไปสู่ความขัดแย้งกับสถาบันทางสังคม ก็จะถูกต่อต้านอย่างรุนแรงและก่อให้เกิด
ปัญหาตามมา เช่น การเดินขบวน การก่อการร้าย เป็นต้น
ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับการบริหาร
ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับขบวนการบริหารกล่าวได้ว่า ทรัพยากรในการบริหารจัดเป็นสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องโดยตรง และเป็นสภาพแวดล้อมที่จำเป็นในการบริหารงานขององค์การ สินค้าและบริการ เป็นสิ่งที่องค์การได้มอบให้กับสภาพแวดล้อม และจะกลายเป็นปัจจัยหนึ่งของระบบสภาพแวดล้อม ซึ่งสภาพแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็นสภาพแวดล้อมภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอก
ความสัมพันธ์ระหว่างระดับการบริหารกับสิ่งแวดล้อม
ระดับการบริหารงาน
ระดับสูง:เกี่ยวพันธ์กับสภาพแวดล้อมภายใน และภายนอก เพื่อการกำหนดนโยบายและการวางแผน
ระดับกลาง:เกี่ยวพันธ์กับสภาพแวดล้อมภายใน และภายนอกเพื่อการประสานงานและการควบคุมการปฏิบัติงาน
ระดับต้น:เกี่ยวพันธ์กับสภาพแวดล้อมภายในเพื่อปฏิบัติงานตามหน้าที่
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
ตอบ การยกระดับความสามารถเชิงดิจิทัลของภาครัฐไทยสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล ตั้งอยู่บนพื้นฐานขององค์ประกอบหลักสำคัญ 4 ประการ ได้แก่ การบูรณาการภาครัฐ (GovernmentIntegration) การดำเนินงานแบบอัจฉริยะ (Smart Operations) การให้บริการโดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง (Citizen-centric Services) และการสนับสนุนให้เกิดการขับเคลื่อนไปสู่การเปลี่ยนแปลง (Driven Transformation)
1.Government Integration การบูรณาการระหว่างหน่วยงานต่างๆ ทั้งการเชื่อมโยงข้อมูลและการดำเนินงาน เพื่อสามารถเห็นข้อมูลประชาชนเป็นภาพเดียวที่สมบูรณ์ใช้บริการทางเทคโนโลยีร่วมกันให้บริการภาครัฐแบบครบวงจร ณ จุดเดียว
2.Smart Operations การนำเทคโนโลยีและอุปกรณ์ดิจิทัลมาสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ มีการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องมืออุปกรณ์มีระบบการจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)
มีเครื่องมือวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก (Analytics)
3.Citizen-centric Services การยกระดับงานบริการภาครัฐให้มีการออกแบบประสบการณ์และดำเนินการแบบเฉพาะเจาะจงตามความต้องการรายบุคคล บนความสมดุลระหว่างความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สิน ข้อมูลของประชาชน และการอำนวยความสะดวก
4.Driven Transformation การปรับเปลี่ยนองค์กรทั้งในด้านทรัพยากรมนุษย์ขั้นตอนการทำงาน เทคโนโลยี และกฎระเบียบที่ได้รับการสนับสนุนจากผู้นำระดับประเทศที่มีความมุ่งมั่น มีวิสัยทัศน์ และเล็งเห็นความสำคัญของการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาประเทศ
Assignment ที่ 3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
ตอบ 1. การปรับขนาดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในทุก ๆ รูปแบบให้มีขนาดที่กะทัดรัด
และเล็กลง เพื่อให้เกิดความสะดวกและคล่องตัวในการบริหารงาน โครงสร้างภายในองค์กรควรจะมีความเหมาะสมในการจัดการปกครองด้วย และยังต้องใช้กลไกตลาดและกึ่งตลาดในการส่งมอบบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น
2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องมีภาคีเครือข่าย (Network Governance) ในการ
จัดการปกครอง เพื่อทำการตรวจสอบและควบคุมการใช้อำนาจของท้องถิ่น หน่วยงานท้องถิ่นที่
ให้บริการจะต้องมีความสามารถในการรับผิดชอบ (Accountability) เปิดเผยข้อมูลและมีความซื่อสัตย์ในการบริหารงานของท้องถิ่น
3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องมีการจัดการสาธารณะแบบใหม่ (New Public
Management) คือ เน้นลัทธิการจัดการนิยมและเศรษฐศาสตร์เชิงสถาบันแนวใหม่ ซึ่งเป็นการนำหลักการของเอกชนมาประยุกต์ใช้กับการจัดการปกครองท้องถิ่น ด้วยการเสนอให้การบริหารจัดการสาธารณะที่ท้องถิ่นจะต้องการแข่งขันตอบสนองประชาชนเสมือนเป็นลูกค้ามากกว่าเป็นผู้ถูกปกครองเพิ่มการแข่งขันด้วยการจ้างเหมาและใช้กลไกกึ่งตลาด และเพิ่มทางเลือกให้กับผู้มารับบริการ
4. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องมีการบริหารจัดการที่ดี (Good Governance)
เป็นการจัดการที่ส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพและความรับผิดชอบต่อสาธารณะ มีความโปร่งใส
ในการบริหารจัดการปกครองท้องถิ่น เน้นการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนหรือภาคประชาสังคม
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและตัวแสดงอื่น ๆ
5. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องมีระบบการเชื่อมโยงทางสังคม (Socio-cybernetic
System) ผ่านประเด็นนโยบายสาธารณะ เป็นการเปิดโอกาสให้ภาคส่วนอื่น ๆ เข้ามามีส่วนร่วม
ในการตัดสินใจไปพร้อม ๆ กับท้องถิ่น ดังนั้น ท้องถิ่นจึงมีหน้าที่ที่จะกระตุ้นให้เกิดการรวมตัวกัน
ของภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อมาแสดงพลังในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน อีกทั้งยังช่วยกันกำหนดกติกาในการจัดการร่วมกันอีกด้วย
6. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องมีการจัดการเครือข่ายของท้องถิ่นที่จัดการดูแล
ได้ด้วยตนเอง (Self-organizing Network ซึ่งทำงานในลักษณะของเครือข่ายที่พึ่งพาอาศัยกัน
โดยเป็นการเปิดโอกาสให้มีตัวแสดงที่มากมายในการส่งมอบบริการสาธารณะทั้งฝ่ายรัฐ เอกชน
และประชาชน ทำให้ท้องถิ่นต้องแลกเปลี่ยนทรัพยากรเพื่อให้บรรลุเป้าหมายจึงต้องมีเครือข่าย
โดยเครือข่ายไม่ได้มีเพียงท้องถิ่น เครือข่ายเป็นความสัมพันธ์ทางสังคมที่กว้างขวาง รวมถึงกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นผ่านการจัดการเครือข่ายที่อยู่บนพื้นฐานของความไว้วางใจ (Trust) และการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน หน่วยงานลักษณะนี้ต้องสามารถจัดการดูแลตนเองได้มิใช่มีความเป็นอิสระเพียงอย่างเดียว
Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง 4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง และ4 .2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ตอบ แนวการการบริหารการคลังภายใต้การบริหารรัฐแนวใหม่ พื้นฐานการบริหารการคลังที่มีประสิทธิภาพ และสร้างประสิทธิผลต่องานทางด้านการคลัง หน่วยงานภาครัฐจะต้องกำหนดประเด็นสำคัญทางด้านการคลัง ให้แยกออกเป็นขอบข่ายที่สำคัญ 4 ขอบข่าย ดังต่อไปนี้
1.การจัดการและการคัดเลือกผู้นำ (Organizational Alignment and Leadership)
เพื่อเป็นผู้กำหนดทิศทางการคลังในทุกภาคส่วน จะต้องมีการบริหารงานด้านการจัดซื้อ
จัดจ้างให้สอดคล้องกับหน่วยงาน สอดคล้องกับความต้องการในด้านประโยชน์ และ
สอดคล้องกับเป้าประสงค์ของแผนงาน หรือแผนกลยุทธ์)
2.การจัดการนโยบายและการวางแผน (Policies and Processes) จะต้องใช้หลักการเชิงกลยุทธ์เข้ามาเป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อน มีการประเมินผลกระทบภายในองค์การในการจัดสรร
งบประมาณ และต้องมีการประเมินผลกระทบภายนอกควบคู่ด้วยเช่นกัน เพื่อการจัดการที่มีประสิทธิภาพ การคลังจะต้องสร้างความร่วมมือกับทุกองค์การ และทุกหน่วยงานทั้งหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานภาคเอกชน
3.การจัดการส่วนบุคคล(Personnel Management) การสั่งสมทุนมนุษย์ การสร้างวัฒนธรรมในองค์การมีแต่ความซื่อสัตย์และมีกระบวนการกำกับดูแลที่มีประสิทธิภาพมีการควบคุมอย่างชัดเจนสนับสนุนการสร้างพฤติกรรมที่มีจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่และ สี่ ข้อมูลข่าวสาร
(Information) การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาจัดการข้อมูล มีการติดตามผล
การวางฐานข้อมูลทางการเงินและระบบนั้นจะต้องให้ง่ายต่อความเข้าใจในระดับ ผู้บริหาร มีระบบป้องกัน และการจัดการให้ข้อมูลเป็นความลับ การบริหารภาคการคลังจะต้องมีการกำหนดมาตรการ การควบคุมและการดำเนินการครอบคลุมในทุกมิติ
ปัจจัยความสำเร็จในการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลังส่วนใหญ่เป็นปัจจัยด้านรูปแบบ (Style) และด้านการจัดบุคคลเข้าทำงาน (Staff) ซึ่งประกอบด้วย (1) การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำ (Style) (2) การเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการเสนอความคิด เห็นและปัญหา (Style) และ (3) มีกิจกรรมและการอบรมการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการปฏิบัติ งานอย่างต่อเนื่อง (Staff)
Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
ตอบ สภาพของปัจจัยต่างๆ ที่อยู่ภายในและภายนอกองค์การของรัฐ และเอกชนซึ่งสามารถส่งอิทธิพลมายังภายในของระบบการบริหารองค์การ อันมีผลต่อประสิทธิภาพและความสำเร็จของการบริหารงานในองค์การ สิ่งแวดล้อม ถือเป็นเครื่องมือที่มีความสำคัญยิ่งในการกำหนดนโยบายการบริหารงาน นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือที่ช่วยชี้วัดความสำเร็จของการบริหาร และถือเป็นทรัพยากรหรือวัตถุดิบสำหรับป้อนให้กับระบบการบริหารเพื่อทำการแปรรูปให้เป็นสินค้าหรือบริการตามนโยบายขององค์การความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับการบริหาร ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับขบวนการบริหาร กล่าวได้ว่า ทรัพยากรในการบริหารจัดเป็นสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องโดยตรง และเป็นสภาพแวดล้อมที่จำเป็นในการบริหารงานขององค์การ สินค้าและบริการเป็นสิ่งที่องค์การได้มอบให้กับสภาพแวดล้อม และจะกลายเป็นปัจจัยหนึ่งของระบบสภาพแวดล้อม ซึ่งสภาพแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็นสภาพแวดล้อมภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอกมีแนวทางในการบริหารจัดการ ๕ รูปธรรม ดังนี้
1.การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน
2.ลดการควบคุมจากส่วนกลางและเพิ่มอิสระในการบริหารให้แก่หน่วยงาน
3.การกำหนด การวัด และการให้รางวัลแก่ผลการดำเนินงานทั้งในระดับองค์กร และระดับบุคคล
4.การสร้างระบบสนับสนุนทั้งในด้านบุคลากร (เช่น การฝึกอบรม ระบบค่าตอบแทนและระบบคุณธรรม) เทคโนโลยี เพื่อช่วยให้หน่วยงานสามารถทำงานได้อย่างบรรลุวัตถุประสงค์
5.การเปิดกว้างต่อแนวคิดในเรื่องของการแข่งขัน ทั้งการแข่งขันระหว่างหน่วยงานของรัฐด้วยกัน และระหว่างหน่วยงานของรัฐกับหน่วยงานของภาคเอกชน ในขณะเดียวกันภาครัฐก็หันมาทบทวนตัวเองว่าสิ่งใดควรทำเองและสิ่งใดควรปล่อยให้เอกชนทำ
64423471176
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
ตอบ หลายประเทศได้ให้ความสำคัญกับการให้บริการภาครัฐผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Government e-Service) ซึ่งหมายถึง การจัดการบริการต่าง ๆ ของภาครัฐให้กับประชาชนผ่านช่องทางออนไลน์ เพื่อเป็นการเพิ่มช่องทางให้กับประชาชนในการติดต่อและขอรับบริการจากภาครัฐ ซึ่งช่องทางดังกล่าวสามารถตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวกรวดเร็วและประหยัด เนื่องจากผู้ใช้สามารถรับบริการต่าง ๆ ผ่านช่องทางออนไลน์ แทนการเดินทางมาติดต่อที่หน่วยงานหรือสำนักงาน รวมถึงช่วยลดช่องว่างและความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงข้อมูลและบริการภาครัฐต่าง ๆ ได้ นอกจากนี้ภาครัฐก็สามารถชี้แจงและเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการเข้ารับบริการแก่ประชาชนได้อย่างทั่วถึง ซึ่งเมื่อใดก็ตามที่ผู้ใช้งานทำรายการผ่าน e-Service ระบบจะบันทึกรายละเอียดทั้งหมดเก็บไว้ในรูปแบบออนไลน์ที่ช่วยลดการตรวจสอบและประหยัดเวลาในการจัดทำเอกสารของเจ้าหน้าที่รัฐได้
ปัจจุบัน ความต้องการและพฤติกรรมของผู้บริโภคมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเมื่อผู้บริโภคหันมาใช้แพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเพิ่มมากขึ้น ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ไม่ว่าจะเป็น การซื้อขายสินค้าและบริการ การศึกษา การติดต่อสื่อสาร การทำงาน และอื่น ๆ ดังนั้น ช่องทางออนไลน์จึงสามารถตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภคและมีอัตราการเติบโตสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง [1] และในขณะเดียวกัน ผู้บริโภคก็คาดหวังว่าบริการต่าง ๆ เหล่านั้น จะตอบโจทย์ทั้งความต้องการส่วนบุคคล (Personalization) และความคาดหวังในการเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ อย่างครบถ้วน เพราะเหตุนี้ การเปลี่ยนแปลงความต้องการและพฤติกรรมผู้บริโภคข้างต้น จึงไม่ได้ส่งผลกระทบเฉพาะภาคเอกชนในเชิงเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ยังส่งผลทำให้ประชาชนมีความคาดหวังต่อการบริการภาครัฐสูงขึ้นตามไปด้วย
ดังนั้น การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและการพัฒนาการจัดบริการสาธารณะผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ จึงเป็นมิติที่ภาครัฐต้องปรับตัวและให้ความสำคัญ เพื่อที่จะตอบสนองต่อความต้องการและพฤติกรรมของประชาชนและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้อย่างก้าวทันสถานการณ์ของโลกในปัจจุบัน
64423471176
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
ตอบ หลายประเทศได้ให้ความสำคัญกับการให้บริการภาครัฐผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Government e-Service) ซึ่งหมายถึง การจัดการบริการต่าง ๆ ของภาครัฐให้กับประชาชนผ่านช่องทางออนไลน์ เพื่อเป็นการเพิ่มช่องทางให้กับประชาชนในการติดต่อและขอรับบริการจากภาครัฐ ซึ่งช่องทางดังกล่าวสามารถตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวกรวดเร็วและประหยัด เนื่องจากผู้ใช้สามารถรับบริการต่าง ๆ ผ่านช่องทางออนไลน์ แทนการเดินทางมาติดต่อที่หน่วยงานหรือสำนักงาน รวมถึงช่วยลดช่องว่างและความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงข้อมูลและบริการภาครัฐต่าง ๆ ได้ นอกจากนี้ภาครัฐก็สามารถชี้แจงและเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการเข้ารับบริการแก่ประชาชนได้อย่างทั่วถึง ซึ่งเมื่อใดก็ตามที่ผู้ใช้งานทำรายการผ่าน e-Service ระบบจะบันทึกรายละเอียดทั้งหมดเก็บไว้ในรูปแบบออนไลน์ที่ช่วยลดการตรวจสอบและประหยัดเวลาในการจัดทำเอกสารของเจ้าหน้าที่รัฐได้
ปัจจุบัน ความต้องการและพฤติกรรมของผู้บริโภคมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเมื่อผู้บริโภคหันมาใช้แพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเพิ่มมากขึ้น ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ไม่ว่าจะเป็น การซื้อขายสินค้าและบริการ การศึกษา การติดต่อสื่อสาร การทำงาน และอื่น ๆ ดังนั้น ช่องทางออนไลน์จึงสามารถตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภคและมีอัตราการเติบโตสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง [1] และในขณะเดียวกัน ผู้บริโภคก็คาดหวังว่าบริการต่าง ๆ เหล่านั้น จะตอบโจทย์ทั้งความต้องการส่วนบุคคล (Personalization) และความคาดหวังในการเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ อย่างครบถ้วน เพราะเหตุนี้ การเปลี่ยนแปลงความต้องการและพฤติกรรมผู้บริโภคข้างต้น จึงไม่ได้ส่งผลกระทบเฉพาะภาคเอกชนในเชิงเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ยังส่งผลทำให้ประชาชนมีความคาดหวังต่อการบริการภาครัฐสูงขึ้นตามไปด้วย
ดังนั้น การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและการพัฒนาการจัดบริการสาธารณะผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ จึงเป็นมิติที่ภาครัฐต้องปรับตัวและให้ความสำคัญ เพื่อที่จะตอบสนองต่อความต้องการและพฤติกรรมของประชาชนและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้อย่างก้าวทันสถานการณ์ของโลกในปัจจุบัน
64423471176
Assignment ที่ 3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
ตอบ การจำแนกแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารจัดการตามเนื้อหาหรือสาระสาคัญที่ เป็นจุดเน้นของแนวคิดทางด้านเนื้อหาหรือสาระสาคัญที่เป็นจุดเน้นของแนวคิดทางด้านการบริหาร จัดการแล้ว จะจำแนกได้ ในการดำเนินงานของ องค์การ เช่น ทรัพยากรมนุษย์ เครื่องไม้เครื่องมือหรืออุปกรณ์อื่นใดจะมีความสาคัญน้อยกว่า สาหรับผู้ที่เสนอรูปแบบและวิธีการบริหารจัดการตามแนวคิดแรกนี้ที่สำคัญได้
2. แนวคิดและทฤษฎีที่เน้นคน แนวคิดและทฤษฎีในกลุ่มนี้ไม่เห็นด้วยกับวิธีการที่จะให้ความสำคัญกับงานและวิธีการ บริหารงานว่าจะเป็นเครื่องมือช่วยให้การดำเนินงานขององค์การประสบผลสำเร็จได้เสมอไป แต่เห็นว่าถ้าต้องการจะเห็นความสำเร็จในการดำเนินงานขององค์การแล้ว จะต้องมุ่งความสนใจไปที่ ตัว “คน” ที่อยู่ในองค์การ ทั้งนี้เพราะคนเป็นทรัพยากรทางการบริหารจัดการชนิดเดียวที่มี ความรู้สึกนึกคิดและความรู้สึกนึกคิดของคนนี้จะส่งผลกระทบให้การบริหารจัดการสำเร็จหรือ ล้มเหลวได้ ดังนั้นพนักงานจึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญที่สุดต่อการดาเนินงานขององค์การ 3. แนวคิดและทฤษฎีที่เน้นระบบ มีสาระสาคัญอยู่ที่ว่าจะต้องมองการบริหารงานขององค์การทั้งระบบเพราะการ บริหารงานในองค์การใด ๆ ก็ตามย่อมจะมีองค์ประกอบหลายประการและองค์ประกอบเหล่านี้จะ ผสมผสานกันกลายเป็นระบบบริหารงานระบบหนึ่งขึ้นมาซึ่งประกอบด้วย (1) ส่วนนำเข้า ซึ่งได้แก่ ทรัพยากรทางด้านการบริหารจัดการอันจะช่วยให้องค์การสามารถดาเนินงานต่อไปได้ (2) ส่วนที่ทาการแปรเปลี่ยน ซึ่งได้แก่ การบริหารหรือการจัดการ และ (3) ส่วนผลผลิตหรือส่วนผลลัพธ์ ซึ่งได้แก่ สินค้าและบริการอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงส่วน นำเข้า
64423471176
Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง 4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง และ4 .2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ตอบ การบริหารภาคการคลังจะต้องมีการกำหนดมาตรการ การควบคุมและการดำเนินการ ครอบคลุมในทุกมิติ การนำการจัดการภาครัฐแนวใหม่ มาใช้เพื่อกำหนดมาตรการ หรือแนวทางการบริหารจะทำให้มีการบริหาร มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะการจัดการภาครัฐ แนวใหม่มีรูปแบบตั้งแต่การศึกษา สภาพแวดล้อมและปัญหาการศึกษาเอกสารและผลการดำเนินการที่ผ่านมารวมไปถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดการดำเนินการเพราะการดำเนินการภายใต้โครงการต่างๆ ต้องลดปัญหาแม้ว่าจะถูกจำกัดด้วยสภาพแวดล้อมและทรัพยากรที่มีอยู่ปัจจุบันหลายประเทศในอาเซียนประสบปัญหาคือ การที่รัฐบาลไม่สามารถดำเนินการบริหารได้ตามที่แถลง. ออนปัญหาการบริหารการคลังที่ไม่มีคุณภาพขาดการวางแผนหาการศึกษาเชิงลึกและขาดการวางรากฐานนโยบายสาธารณะเพื่อประชาชนเนื่องจากหน่วยงานภาครัฐเป็นองค์กรขนาดใหญ่ทำให้การจัดการการบริหารจัดการเพื่อให้เป็นไปตามแบบแผนเดียวกันเป็นเรื่องที่ยากเช่น การดำเนินการตามนโยบายที่ผู้ออกนโยบายกับผู้ที่ดำเนินการเป็นบุคคลคนละกลุ่มกันถือว่าเป็นอุปสรรคที่สำคัญดังนั้นการร่วมมือกันของคนทุกภาคส่วนเป็นขั้นตอนที่สำคัญโดยต้องมีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจนแนวทางการดำเนินงานที่แน่นอนเพื่อให้ทุกภาคส่วนได้ดำเนินการตามแนวทางเดียวกัน
ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง คือ การจัดการและการคัดเลือกผู้นํา เพื่อเป็นผู้กําหนด ทิศทางการคลังในทุกภาคส่วน จะต้องมีการบริหารงานด้าน การจัดซื้อจัดจ้างให้สอดคล้องกับหน่วยงาน สอดคล้องกับ ความต้องการในด้านประโยชน์ และสอดคล้องกับเป้าหมายวัตถุประสงค์ ของแผนงานหรือแผนกลยุทธ์รวมท้ังกําหนดขอบเขตความ รับผิดชอบและบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน ทั้งน้ี ผู้นําจะต้องมี ความสามารถ มีความซื่อสัตย์ และสามารถประสานงานได้ดี ทุกภาคส่วนของหน่วยงานภาครัฐ การจัดการนโยบายและการวางแผนจะต้องใช้หลักการเชิงกลยุทธ์ เข้ามาเป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อน การประเมินผลกระทบภายในองค์กร ในการจัดสรรงบประมาณต้องมีการประเมินผลกระทบภายนอกควบคู่ด้วยเช่นกัน เพื่อให้การจัดการที่มีประสิทธิภาพ การคลังจะต้องสร้างความร่วมมือ กับทุกองค์การ และทุกหน่วยงานทั้งหน่วยงานภาครัฐและ หน่วยงานภาคเอกชน มีการจัดการผู้จัดจําหน่าย ลดการผูกขาด เน้นประสิทธิภาพใน การตรวจสอบและการกำกับดูแล สัญญาใส่ใจในการรับผิดชอบทางการเงิน การจัดการงานบุคคล การสั่งสมทุนมนุษย์ การสร้าง วัฒนธรรมในองค์การมีแต่ความซื่อสัตย์และมีกระบวนการ กําากับดูแลท่ีมีประสิทธิภาพมีการควบคุมอย่างชัดเจน สนับสนุนการสร้างพฤติกรรมที่มีจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ข้อมูลข่าวสาร การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้า มาจัดการข้อมูล มีการติดตามผล การวางฐานข้อมูลทาง การเงินและระบบนั้นจะต้องให้ง่ายต่อความเข้าใจในระดับ ผู้บริหารระบบป้องกันและจัดการให้ข้อมูลเป็นความลับที่มีผลต่อความมั่นคงและหน่วยงาน
ตอบ สิ่งแวดล้อมทางการบริหาร หมายถึง สภาพของปัจจัยต่างๆ ที่อยู่ภายในและภายนอกองค์การของรัฐ และเอกชนซึ่งสามารถส่งอิทธิพลมายังภายในของระบบการบริหารองค์การ อันมีผลต่อประสิทธิภาพและความสำเร็จของการบริหารงานในองค์การ สิ่งแวดล้อม ถือเป็นเครื่องมือที่มีความสำคัญยิ่งในการกำหนดนโยบายการบริหารงาน นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือที่ช่วยชี้วัดความสำเร็จของการบริหาร และถือเป็นทรัพยากรหรือวัตถุดิบสำหรับป้อนให้กับระบบการบริหารเพื่อทำการแปรรูปให้เป็นสินค้าหรือบริการตามนโยบายขององค์การ
ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับขบวนการบริหาร กล่าวได้ว่า ทรัพยากรในการบริหารจัดเป็นสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องโดยตรง และเป็นสภาพแวดล้อมที่จำเป็นในการบริหารงานขององค์การ สินค้าและบริการเป็นสิ่งที่องค์การได้มอบให้กับสภาพแวดล้อม และจะกลายเป็นปัจจัยหนึ่งของระบบสภาพแวดล้อม ซึ่งสภาพแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็นสภาพแวดล้อมภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอก
การแบ่งสภาพแวดล้อมตามลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างองค์การของรัฐกับสภาพแวดล้อม แบ่งออกได้ ๒ ประเภท
(๑) สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของการบริหารงานของรัฐ (ภายนอก)
(๒) สภาพแวดล้อมเฉพาะสำหรับองค์การต่างๆของรัฐ (ภายใน)
ตอบ Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
ตอบ การให้บริการภาครัฐผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Government e-Service): มิติใหม่ของการให้บริการภาครัฐเพื่อประชาชนในยุคดิจิทัลเช่นนี้ หลายประเทศได้ให้ความสำคัญกับการให้บริการภาครัฐผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Government e-Service) ซึ่งหมายถึง การจัดการบริการต่าง ๆ ของภาครัฐให้กับประชาชนผ่านช่องทางออนไลน์ เพื่อเป็นการเพิ่มช่องทางให้กับประชาชนในการติดต่อและขอรับบริการจากภาครัฐ ซึ่งช่องทางดังกล่าวสามารถตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวกรวดเร็วและประหยัด เนื่องจากผู้ใช้สามารถรับบริการต่าง ๆ ผ่านช่องทางออนไลน์ แทนการเดินทางมาติดต่อที่หน่วยงานหรือสำนักงาน รวมถึงช่วยลดช่องว่างและความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงข้อมูลและบริการภาครัฐต่าง ๆ ได้ นอกจากนี้ภาครัฐก็สามารถชี้แจงและเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการเข้ารับบริการแก่ประชาชนได้อย่างทั่วถึง ซึ่งเมื่อใดก็ตามที่ผู้ใช้งานทำรายการผ่าน e-Service ระบบจะบันทึกรายละเอียดทั้งหมดเก็บไว้ในรูปแบบออนไลน์ที่ช่วยลดการตรวจสอบและประหยัดเวลาในการจัดทำเอกสารของเจ้าหน้าที่รัฐได้
ปัจจุบัน ความต้องการและพฤติกรรมของผู้บริโภคมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเมื่อผู้บริโภคหันมาใช้แพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเพิ่มมากขึ้น ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ไม่ว่าจะเป็น การซื้อขายสินค้าและบริการ การศึกษา การติดต่อสื่อสาร การทำงาน และอื่น ๆ ดังนั้น ช่องทางออนไลน์จึงสามารถตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภคและมีอัตราการเติบโตสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องและในขณะเดียวกัน ผู้บริโภคก็คาดหวังว่าบริการต่าง ๆ เหล่านั้น จะตอบโจทย์ทั้งความต้องการส่วนบุคคล (Personalization) และความคาดหวังในการเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ อย่างครบถ้วน เพราะเหตุนี้ การเปลี่ยนแปลงความต้องการและพฤติกรรมผู้บริโภคข้างต้น จึงไม่ได้ส่งผลกระทบเฉพาะภาคเอกชนในเชิงเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ยังส่งผลทำให้ประชาชนมีความคาดหวังต่อการบริการภาครัฐสูงขึ้นตามไปด้วย
ดังนั้น การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและการพัฒนาการจัดบริการสาธารณะผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ จึงเป็นมิติที่ภาครัฐต้องปรับตัวและให้ความสำคัญ เพื่อที่จะตอบสนองต่อความต้องการและพฤติกรรมของประชาชนและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้อย่างก้าวทันสถานการณ์
ตอบ ลักษณะส าคัญของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ แม้จะมีนักวิชาการแสดงทัศนะไว้อย่าง
หลากหลาย แต่นักวิชาการรุ่นแรก ๆ ที่น าเสนอแนวคิดนี้ได้อย่างครอบคลุมที่สุดคือ โจนาธาน บอสตัน
(Jonathan Boston) โดยสรุปลักษณะสำคัญของ การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ 10 ประการ ดังต่อไปนี้
1) มีความเชื่อว่าการบริหารงานมีลักษณะความเป็นสากลสภาพ หรือไม่มีความแตกต่าง
อย่างเป็นนัยส าคัญระหว่างการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชน และการบริหารงานภาครัฐ
2) ปรับเปลี่ยนการให้น้ าหนักความส าคัญจากเดิมที่มุ่งเน้นการควบคุมทรัพยากร
และกฎระเบียบ เป็นเรื่องของการควบคุมผลผลิตและผลลัพธ์ หรือปรับเปลี่ยนจากการให้ความส าคัญ
ในภาระรับผิดชอบต่อกระบวนงาน (Process Accountability) ไปสู่ภาระรับผิดชอบต่อผลสัมฤทธิ์
(Accountability for result)
3) ให้ความส าคัญต่อเรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการก าหนดนโยบาย
4) โอนถ่ายอ านาจการควบคุมของหน่วยงานส่วนกลาง (Devolution of Centralized
Power) เพื่อให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงาน
5) ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่โดยแบ่งออกเป็น 3 ภารกิจ ได้แก่
1. งานเชิงพาณิชย์ (การก ากับดูแล ควบคุม) 2. งานเชิงพาณิชย์ (การก ากับดูแล ควบคุม) และ
3. งานเชิงนโยบายและการให้บริการ เพื่อให้องค์การมีขนาดเล็กลงในรูปแบบของหน่วยงานอิสระในกำกับ
6) เน้นการบริหารกิจการของรัฐเป็นรูปแบบเอกชนและให้มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอก
(Outsourcing) รวมทั้งบูรณาการวิธีการจัดจ้างและการประมูลงาน (Competitive Tendering)
เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและลดต้นทุน
7) บุคลากรของภาครัฐในเรื่องการทำสัญญาจ้างปรับให้เป็นระยะสั้น กำหนดเงื่อนไขข้อตกลงให้มีความชัดเจนสามารถตรวจสอบได้
8) นำรูปแบบการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชนที่ประสบความสำเร็จมาประยุกต์ใช้
เช่น การบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารคุณภาพเชิงรวม การจ่ายรางวัลค่าตอบแทนตามผลงาน การจัด
จ้างบุคคลภายนอกให้เข้ามาปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวเฉพาะกิจ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อการบริหารงาน
9) มีการสร้างแรงจูงใจในองค์การ เช่น การจ่ายตอบแทนในรูปของตัวเงินมากขึ้นเพื่อ
เป็นรางวัล (Monetary Incentives)
10) พยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต เพื่อให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณที่คุ้มค่า
การจำแนกแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารจัดการตามเนื้อหาหรือสาระสาคัญที่ เป็นจุดเน้นของแนวคิดทางด้านเนื้อหาหรือสาระสาคัญที่เป็นจุดเน้นของแนวคิดทางด้านการบริหาร จัดการแล้ว จะจำแนกได้ ในการดำเนินงานของ องค์การ เช่น ทรัพยากรมนุษย์ เครื่องไม้เครื่องมือหรืออุปกรณ์อื่นใดจะมีความสาคัญน้อยกว่า สาหรับผู้ที่เสนอรูปแบบและวิธีการบริหารจัดการตามแนวคิดแรกนี้ที่สำคัญได้
2. แนวคิดและทฤษฎีที่เน้นคน แนวคิดและทฤษฎีในกลุ่มนี้ไม่เห็นด้วยกับวิธีการที่จะให้ความสำคัญกับงานและวิธีการ บริหารงานว่าจะเป็นเครื่องมือช่วยให้การดำเนินงานขององค์การประสบผลสำเร็จได้เสมอไป แต่เห็นว่าถ้าต้องการจะเห็นความสำเร็จในการดำเนินงานขององค์การแล้ว จะต้องมุ่งความสนใจไปที่ ตัว “คน” ที่อยู่ในองค์การ ทั้งนี้เพราะคนเป็นทรัพยากรทางการบริหารจัดการชนิดเดียวที่มี ความรู้สึกนึกคิดและความรู้สึกนึกคิดของคนนี้จะส่งผลกระทบให้การบริหารจัดการสำเร็จหรือ ล้มเหลวได้ ดังนั้นพนักงานจึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญที่สุดต่อการดาเนินงานขององค์การ 3. แนวคิดและทฤษฎีที่เน้นระบบ มีสาระสาคัญอยู่ที่ว่าจะต้องมองการบริหารงานขององค์การทั้งระบบเพราะการ บริหารงานในองค์การใด ๆ ก็ตามย่อมจะมีองค์ประกอบหลายประการและองค์ประกอบเหล่านี้จะ ผสมผสานกันกลายเป็นระบบบริหารงานระบบหนึ่งขึ้นมาซึ่งประกอบด้วย (1) ส่วนนำเข้า ซึ่งได้แก่ ทรัพยากรทางด้านการบริหารจัดการอันจะช่วยให้องค์การสามารถดาเนินงานต่อไปได้ (2) ส่วนที่ทาการแปรเปลี่ยน ซึ่งได้แก่ การบริหารหรือการจัดการ และ (3) ส่วนผลผลิตหรือส่วนผลลัพธ์ ซึ่งได้แก่ สินค้าและบริการอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงส่วน นำเข้า
ตอบ
4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง
จัดออกเป็น 4 กรอบใหญ่ๆดังนี้
1 การทบทวนเกี่ยวกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่ 2. แผนผังการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่
3. ขอบข่ายการบริหารการคลัง 4. ขอบข่ายการบริหารการคลัง
บทสรุป ทั้ง 4 รูปแบบนี้ได้ดังนี้ การบริหารภาคการคลังจะต้องมีการกำหนดมาตรการ การควบคุมและการดำเนินการครอบคลุมในทุกมิติการนำการจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้เพื่อการกำหนดมาตรการ หรือแนวทางการบริหาร จะทำให้การบริหารมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น เพราะการจัดการภาครัฐแนวใหม่มีรูปแบบตั้งแต่การ ศึกษาสภาพแวดล้อมและปัญหา การศึกษาเอกสารและผลการดำเนินการที่ผ่านมารวมไปถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดการดำเนินการเพราะการดำเนินการภายใต้โครงการต่างๆต้องลดปัญหาแม้ว่าจะถูกจำกัดด้วย สภาพแวดล้อมและทรัพยากรที่มีอยู่ปัจจุบันหลายประเทศใน อาเซียนประสบปัญหาคือการที่รัฐบาลไม่สามารถดำ เนินการ บริหารได้ตามที่แถลงจุดอ่อนปัญหาการบริหารการคลังที่ไม่มี คุณภาพ ขาดการวางแผน ขาดการศึกษาในเชิงลึกและขาด การวางรากฐานนโยบายสาธารณะเพื่อประชาชน เนื่องจาก หน่วยงานภาครัฐเป็นองค์การขนาดใหญ่ทำ ให้การจัดการ บริหารจัดการเพื่อให้เป็นไปตามแบบแผนเดียวกันเป็นเรื่องที่ ยากเช่น การดำ เนินการตามนโยบายผู้ที่ออกนโยบายกับผู้ที่ ดำ เนินการเป็นบุคคลคนละกลุ่มกัน ถือว่าเป็นอุปสรรคที่สำคัญ ดังนั้น การร่วมมือกันของทุกภาคส่วนเป็นขั้นตอนที่สำคัญ โดย ต้องมีการกำ หนดเป้าหมายที่ชัดเจน แนวทางการดำ เนินงานที่ แน่นอน เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้ดำ เนินการตามแนวทางเดียวกัน
4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ยกตัวอย่าง เช่น กรมพัฒนาธุรกิจการค้า แบ่งปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมมาภิบาลได้ดังนี้
(1) มีระบบการทำงานที่โปร่งใส ชัดเจน ตรวจสอบได้ (System)
(2) การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำ (Style)
(3) ใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมจากทั้งผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย (Style)
(4) มีการอบรมเพื่อปลูกฝังและกระตุ้นจิตสำนึกด้านธรรมาภิบาลอย่างต่อเนื่อง (Staff)
Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
ตอบ สิ่งแวดล้อมทางการบริหาร หมายถึง สภาพของปัจจัยต่างๆ ที่อยู่ภายในและภายนอกองค์การของรัฐ และเอกชนซึ่งสามารถส่งอิทธิพลมายังภายในของระบบการบริหารองค์การ อันมีผลต่อประสิทธิภาพและความสำเร็จของการบริหารงานในองค์การ
สิ่งแวดล้อม ถือเป็นเครื่องมือที่มีความสำคัญยิ่งในการกำหนดนโยบายการบริหารงาน นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือที่ช่วยชี้วัดความสำเร็จของการบริหาร และถือเป็นทรัพยากรหรือวัตถุดิบสำหรับป้อนให้กับระบบการบริหารเพื่อทำการแปรรูปให้เป็นสินค้าหรือบริการตามนโยบายขององค์การ
ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับขบวนการบริหาร กล่าวได้ว่า ทรัพยากรในการบริหารจัดเป็นสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องโดยตรง และเป็นสภาพแวดล้อมที่จำเป็นในการบริหารงานขององค์การ สินค้าและบริการเป็นสิ่งที่องค์การได้มอบให้กับสภาพแวดล้อม และจะกลายเป็นปัจจัยหนึ่งของระบบสภาพแวดล้อม ซึ่งสภาพแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็นสภาพแวดล้อมภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอก
การแบ่งสภาพแวดล้อมตามลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างองค์การของรัฐกับสภาพแวดล้อม แบ่งออกได้ ๒ ประเภท
(๑) สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของการบริหารงานของรัฐ (ภายนอก)
(๒) สภาพแวดล้อมเฉพาะสำหรับองค์การต่างๆของรัฐ (ภายใน)
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
ตอบ การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่เป็นการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐ โดยนำหลักการ เพิ่มประสิทธิภาพและการแสวงหาประสิทธิภาพของระบบราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ นำเอาแนวทางหรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้กับการบริหารงานภาครัฐ ตลอดทั้งการมุ่งเน้น การให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ เหตุผลที่มีการนำแนวคิดการบริหารงานภาครัฐแนวใหม่มาใช้เนื่องจากกระแสโลกาภิวัตน์
1. การสื่อสาร เนื่องจากการสื่อสารมีการกระจายอำนาจและไม่เป็นทางการมากขึ้น จึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้จัดการที่จะต้องแน่ใจว่าช่องทางการสื่อสารยังคงเปิดกว้างและโปร่งใส
2. ความยืดหยุ่น ธรรมชาติของการสื่อสารออนไลน์ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทำให้ผู้จัดการต้องมีความคล่องตัวและปรับตัวได้
3. การทำงานร่วมกัน เมื่อทีมเสมือนกลายเป็นเรื่องธรรมดามากขึ้น ผู้จัดการต้องจัดลำดับความสำคัญของการทำงานร่วมกันระหว่างแผนก สถานที่ และแม้แต่อุตสาหกรรม
4. การจัดการข้อมูล ด้วยการเพิ่มจำนวนของข้อมูลในการสื่อสารออนไลน์ ผู้จัดการจำเป็นต้องพัฒนาระบบและกระบวนการใหม่สำหรับการจัดการ วิเคราะห์ และใช้ประโยชน์จากข้อมูล
Assignment ที่ 3.อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
ตอบ การจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) มีรากฐานมาจากการศึกษาสถาบันและ เครือข่ายที่ตั้งอยู่บนการพิจารณารัฐในลักษณะที่มี ความแตกต่างหลากหลายภายในตนเองหรือรัฐพหุลักษณ์ (Plural State) ซึ่งเป็นการมองว่ารัฐเป็น ตัวแสดงที่ประกอบด้วยองค์กรและองค์กรและหน่วยงานต่าง ๆ ที่พึ่งพาอาศัยกัน หลากหลายระดับ และหลายรูปแบบเข้ามามีบทบาทในการจัดให้มีบริการสาธารณะให้แก่ประชาชน (A Plural State: Where Multiple Interdependent Actors Contribute to The Delivery of Public Services) ส่วนรัฐพหุนิยม (Pluralist State) เป็นบริบทที่ภาครัฐต้องเผชิญกับสภาพสังคมที่มีความแตกต่าง หลากหลายในมิติต่างๆ ดังนั้น แนวคิดการจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) จึงเป็น ความพยายามที่จะทำความเข้าใจถึงการพัฒนาการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติและการส่งมอบ บริการสาธารณะในสภาพของความเป็นจริง ภายใต้สถานการณ์ของรัฐในศตวรรษที่ 21 ที่มีทั้ง ความแตกต่างหลากหลายและความสลับซับซ้อนของตัวแสดงที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับการทำงาน ของภาครัฐ อีกทั้งความซับซ้อนของสังคมแบบพหุและความหลากหลายของหน่วยงานหรือองค์กร ต่าง ๆ ที่อยู่ภายในโครงสร้างของรัฐเอง
ตอบ 4.1การบริหารภาคการคลังจะต้องมีการกำหนดมาตรการ การควบคุมและการดำเนินการ ครอบคลุมในทุกมิติ การนำการจัดการภาครัฐแนวใหม่ มาใช้เพื่อกำหนดมาตรการ หรือแนวทางการบริหารจะทำให้มีการบริหาร มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะการจัดการภาครัฐ แนวใหม่มีรูปแบบตั้งแต่การศึกษา สภาพแวดล้อมและปัญหาการศึกษาเอกสารและผลการดำเนินการที่ผ่านมารวมไปถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดการดำเนินการเพราะการดำเนินการภายใต้โครงการต่างๆ ต้องลดปัญหาแม้ว่าจะถูกจำกัดด้วยสภาพแวดล้อมและทรัพยากรที่มีอยู่ปัจจุบันหลายประเทศในอาเซียนประสบปัญหาคือ การที่รัฐบาลไม่สามารถดำเนินการบริหารได้ตามที่แถลง. ออนปัญหาการบริหารการคลังที่ไม่มีคุณภาพขาดการวางแผนหาการศึกษาเชิงลึกและขาดการวางรากฐานนโยบายสาธารณะเพื่อประชาชนเนื่องจากหน่วยงานภาครัฐเป็นองค์กรขนาดใหญ่ทำให้การจัดการการบริหารจัดการเพื่อให้เป็นไปตามแบบแผนเดียวกันเป็นเรื่องที่ยากเช่น การดำเนินการตามนโยบายที่ผู้ออกนโยบายกับผู้ที่ดำเนินการเป็นบุคคลคนละกลุ่มกันถือว่าเป็นอุปสรรคที่สำคัญดังนั้นการร่วมมือกันของคนทุกภาคส่วนเป็นขั้นตอนที่สำคัญโดยต้องมีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจนแนวทางการดำเนินงานที่แน่นอนเพื่อให้ทุกภาคส่วนได้ดำเนินการตามแนวทางเดียวกัน
4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง คือ การจัดการและการคัดเลือกผู้นํา เพื่อเป็นผู้กําหนด ทิศทางการคลังในทุกภาคส่วน จะต้องมีการบริหารงานด้าน การจัดซื้อจัดจ้างให้สอดคล้องกับหน่วยงาน สอดคล้องกับ ความต้องการในด้านประโยชน์ และสอดคล้องกับเป้าหมายวัตถุประสงค์ ของแผนงานหรือแผนกลยุทธ์รวมท้ังกําหนดขอบเขตความ รับผิดชอบและบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน ทั้งน้ี ผู้นําจะต้องมี ความสามารถ มีความซื่อสัตย์ และสามารถประสานงานได้ดี ทุกภาคส่วนของหน่วยงานภาครัฐ การจัดการนโยบายและการวางแผนจะต้องใช้หลักการเชิงกลยุทธ์ เข้ามาเป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อน การประเมินผลกระทบภายในองค์กร ในการจัดสรรงบประมาณต้องมีการประเมินผลกระทบภายนอกควบคู่ด้วยเช่นกัน เพื่อให้การจัดการที่มีประสิทธิภาพ การคลังจะต้องสร้างความร่วมมือ กับทุกองค์การ และทุกหน่วยงานทั้งหน่วยงานภาครัฐและ หน่วยงานภาคเอกชน มีการจัดการผู้จัดจําหน่าย (Supplier) ลดการผูกขาด (Reduce Monopoly) เน้นประสิทธิภาพใน การตรวจสอบและการกำกับดูแล สัญญาใส่ใจในการรับผิดชอบทางการเงิน การจัดการงานบุคคล การส่ังสมทุนมนุษย์ การสร้าง วัฒนธรรมในองค์การมีแต่ความซื่อสัตย์และมีกระบวนการ กําากับดูแลท่ีมีประสิทธิภาพมีการควบคุมอย่างชัดเจน สนบัสนนุการสรา้งพฤตกิรรมทมี่จีรยิธรรมในการปฏิบัติหน้าท่ีข้อมูลข่าวสาร การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้า มาจัดการข้อมูล มีการติดตามผล การวางฐานข้อมูลทาง การเงินและระบบนั้นจะต้องให้ง่ายต่อความเข้าใจในระดับ ผู้บริหารระบบป้องกันและจัดการให้ข้อมูลเป็นความลับ
รหัส64423471022
Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
ตอบ รูปแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับการบริหาร
ทรัพยาการในการบริหาร → ระบบการบริหาร
↑ ↓
ผลการตอบรับ(feedback) ← บริการของรัฐ
ปัจจัยสภาพแวดล้อมต่อการบริหาร
๑.ปัจจัยทางด้านวัฒนธรรม ประเพณี และค่านิยมเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อระบบการบริหารงานของรัฐ ซึ่งมีความแตกต่างกันไปตามภูมิภาค เชื้อชาติ ศาสนา ฯลฯ ซึ่งมีบทบาทอย่างมากในการกำหนดนโยบาย
๒. ระบบชนชั้นและสถาบันทางสังคมการศึกษาถึงโครงสร้างทางชนชั้นของสังคม จะทำให้ผู้บริหารได้เข้าใจถึงบทบาทและหน้าที่ ตลอดจนสถานภาพที่สังคมเป็นผู้กำหนดให้กับบุคคลต่างๆ
๓. ปัจจัยทางเศรษฐกิจปัจจัยทางเศรษฐกิจมีอิทธิพลต่อการบริหารงานของรัฐ ทั้งในทางตรงและทางอ้อม การปฏิบัติงานของหน่วยงานใดๆจำเป็นต้องอาศัยงบประมาณเป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากร
๔. ปัจจัยทางประชากรในการกำหนดนโยบายตลอดจนวิธีการบริหารงานขององค์การใดๆ ของรัฐ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการศึกษาถึงปัจจัยทางด้านประชากรที่องค์การนั้นๆ จะเข้าไปเกี่ยวข้องดัวย ข้อมูลดังกล่าวเป็นเครื่องชี้ให้ผู้บริหารได้เห็นสภาพแรงงานของท้องถิ่นนั้นๆ
๕. ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติเป็นสิ่งแวดล้อมที่มีความสำคัญยิ่ง และเป็นตัวชี้ให้เห็นถึงศักยภาพของประเทศนั้นๆ ในการที่จะพัฒนาต่อไป นอกจากรัฐบาลจะต้องพยายามบริหารประเทศให้สอดคล้องกับทรัพยากรของชาติที่มีอยู่แล้ว
๖. การศึกษาของประชาชนระดับการศึกษาของประชาชนเป็นเครื่องชี้ให้เห็นถึงระดับความเจริญของสังคมและมีอิทธิพลต่อการกำหนดรูปแบบของการบริหาร ถ้าประชาชนส่วนใหญ่ยังคงอ่านหนังสือไม่ออก การกระจายอำนาจในการบริหารก็จะประสบปัญหา
๗. ปัจจัยทางการเมืองการเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการแสวงหาอำนาจเพื่อการปกครองประเทศ ในการดำเนินการดังกล่าวจำเป็นต้องคำนึงถึงความต้องการของประชาชน กรอบกติกาที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ และกฎหมายต่างๆ ตลอดจนประเพณีและวัฒนธรรมทางการเมืองของชาติด้วย
๘. ปัจจัยทางกฎหมายกฎหมายเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการโดยทางตรงและทางอ้อม กฎหมายจึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการบริหารงานของรัฐ และเป็นปัจจัยที่สามารถส่งอิทธิพลทำให้ปัจจัยแวดล้อมอื่นๆของการบริหารเปลี่ยนแปลง
๙. เทคโนโลยีเทคโนโลยีเป็นระบบของความรู้อันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ในอันที่จะสร้างความสะดวกสบายในการดำเนินชีวิต
๑๐. ปัญหาและวิกฤติการณ์ของสังคมปัญหาและวิกฤติการณ์ทางสังคมเป็นปัจจัยแวดล้อมที่มักมีที่มาจากปัจจัยเบื้องต้นดังที่กล่าวมาข้างต้น และเป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อระบบการบริหารงานของรัฐ มีลักษณะเป็นปัญหาเฉพาะหน้า ที่รัฐบาลจะต้องเผชิญและแก้ไข
รหัส64423471022
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
ตอบ
โครงสร้างของระบบราชการ ประกอบด้วยปัจจัยต่าง ๆ ที่สำคัญ 6 ประการ ดังนี้ (1) ลำดับชั้นการ บังคับบัญชา (2) ความรับผิดชอบ (3) การแบ่งงานหน้าที่และการฝึกอบรมให้มีความชำนาญเฉพาะด้าน (4) การมีระเบียบวินัย (5) การรวม การควบคุมแนะนำไว้ที่จุดศูนย์กลาง และ
(6) การมีระเบียบกฎเกณฑ์ที่แน่นอน ตายตัว
บริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ 10 ประการ ดังต่อไปนี้
1) มีความเชื่อว่าการบริหารงานมีลักษณะความเป็นสากลสภาพ หรือไม่มีความแตกต่าง อย่างเป็นนัยสำคัญระหว่างการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชน และการบริหารงานภาครัฐ
2) ปรับเปลี่ยนการให้น้ำหนักความสำคัญจากเดิมที่มุ่งเน้นการควบคุมทรัพยากร และกฎระเบียบ เป็นเรื่องของการควบคุมผลผลิตและผลลัพธ์ หรือปรับเปลี่ยนจากการให้ความสำคัญ ในภาระรับผิดชอบต่อกระบวนงาน (Process Accountability) ไปสู่ภาระรับผิดชอบต่อผลสัมฤทธิ์ (Accountability for result)
3) ให้ความสำคัญต่อเรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบาย
4) โอนถ่ายอ้านาจการควบคุมของหน่วยงานส่วนกลาง (Devolution of Centralized Power) เพื่อให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงาน
5) ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่โดยแบ่งออกเป็น 3 ภารกิจ ได้แก่ 1. งานเชิงพาณิชย์ (การกำกับดูแล ควบคุม) 2. งานเชิงพาณิชย์ (การกำกับดูแล ควบคุม) และ 3. งานเชิงนโยบายและการให้บริการ เพื่อให้องค์การมีขนาดเล็กลงในรูปแบบของหน่วยงานอิสระใน
กํากับ
6) เน้นการบริหารกิจการของรัฐเป็นรูปแบบเอกชนและให้มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอก (Outsourcing) รวมทั้งบูรณาการวิธีการจัดจ้างและการประมูลงาน (Competitive Tendering) เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและลดต้นทุน
7) บุคลากรของภาครัฐในเรื่องการทำสัญญาจ้างปรับให้เป็นระยะสั้น กำหนดเงื่อนไข ข้อตกลงให้มีความชัดเจนสามารถตรวจสอบได้
8) นำรูปแบบการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเอกชนที่ประสบความสำเร็จมาประยุกต์ใช้ เช่น การบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารคุณภาพเชิงรวม การจ่ายรางวัลค่าตอบแทนตามผลงาน การจัด จ้างบุคคลภายนอกให้เข้ามาปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวเฉพาะกิจ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการบริหารงาน
9) มีการสร้างแรงจูงใจในองค์การ เช่น การจ่ายตอบแทนในรูปของตัวเงินมากขึ้นเพื่อ เป็นรางวัล
10) พยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิต เพื่อให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณที่คุ้มค่า
ดังนั้นลักษณะสำคัญของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ เป็นการปรับเปลี่ยนการควบคุมให้มีการนำเอาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารงานมากขึ้นมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างการทำงานไปตามเทคโนโลยีซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์และระบบเน็ตเวิร์คมีการเก็บข้อมูลรวมถึงการเข้าถึงข้อมูลดูได้จากการยื่นภาษีการทำบัตรประชาชนการทำใบขับขี่รถยนต์ในส่วนงานที่เกี่ยวข้องของการบริหารราชการมีการนำเทคโนโลยีมาใช้จากที่กล่าวมาข้างต้นเป็นการลดต้นทุนเพิ่มผลลัพเพื่อให้เกิดการใช้งบประมาณที่คุ้มค่าและให้เกิดการพัฒนาที่ดีในอนาคต
Assignment ที่ 3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
ตอบ นโยบายสาธารณะ หมายถึง แนวทางกิจกรรม การกระทำ หรือการเลือกตัดสินใจของรัฐบาล ซึ่งรัฐบาลได้ทำการตัดสินใจและกำหนดไว้ล่วงหน้า เพื่อชี้นำให้มีกิจกรรมหรือการกระทำต่าง ๆ เกิดขึ้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ โดยมีการวางแผน การจัดทำโครงการ วิธีการบริหารหรือกระบวนการดำเนินงาน ให้บรรลุวัตถุประสงค์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ด้วยวิธีปฏิบัติงานที่ถูกต้อง เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง และความต้องการของประชาชน ผู้ใช้บริการในแต่ละเรื่อง
ดังนั้นในยุคที่โลกาภิวัตน์หรือสมัยใหม่นั้นการออกนโยบายสาธารณะจะต้องมีความสัมพันธ์กับการทำงานในยุคใหม่เพื่อให้เป็นสากลมากยิ่งขึ้นมีการใช้ระบบคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีเข้ามาเพื่อลดต้นทุนปัญหาในเรื่องของเอกสารและการเข้าถึงข้อมูล เพื่อให้ง่ายและเป็นไปด้วยความรวดเร็วและเรียบร้อยดังนั้นขอยกตัวอย่างจากนโยบายสาธารณะที่เกิดขึ้น ยกตัวอย่างนโยบาย สาธารณะ
โครงการคนละครึ่ง" เป็นหนึ่งในมาตรการที่ดำเนินการโดยรัฐบาล มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อกระตุ้นการจับจ่ายใช้สอยภายในประเทศ ด้วยการแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายของประชาชน และช่วยเพิ่มสภาพคล่องให้แก่ร้านค้ารายย่อยทั่วประเทศ เป็นการสนับสนุนเศรษฐกิจฐานรากและฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศทั้งระบบ การลงทะเบียนโครงการคนละครึ่งจะมีด้วยกัน 2 ส่วน คือ การลงทะเบียนรับสิทธิสำหรับประชาชน และการลงทะเบียนโครงการคนละครึ่งสำหรับร้านค้า โดยรัฐบาลได้เข้ามาดำเนินการอุดหนุนการจับจ่ายใช้สอยในส่วนของประชาชนที่ได้รับสิทธิในโครงการคนละครึ่งและให้ร้านค้าที่ต้องการเข้าร่วมโครงการคนละครึ่ง ซึ่งลงทะเบียนผ่านเว็บไซต์คนละครึ่ง โดยรัฐจะช่วยออกค่าใช้จ่ายให้ครึ่งหนึ่งของมูลค่าสินค้า ในขณะที่ผู้ได้รับสิทธิจะต้องจ่ายเพิ่มอีกครึ่งหนึ่งของมูลค่าสินค้า
ผู้เข้าร่วมโครงการคนละครึ่งจะได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลไม่เกินวันละ 150 บาท ซึ่งปัจจุบันโครงการคนละครึ่งจะดำเนินการจ่ายทั้งโครงการสูงสุดไม่เกิน 3000 บาทต่อคน ตัวอย่างเช่น หากผู้ได้รับสิทธิโครงการคนละครึ่งจะซื้อสินค้าที่มีมูลค่า 200 บาท รัฐจะดำเนินการจ่ายให้ครึ่งหนึ่ง คือ 100 บาท และผู้ที่ได้รับสิทธิโครงการคนละครึ่งจะต้องจ่ายเองอีก 100 บาท แต่หากผู้ได้รับสิทธิโครงการคนละครึ่งจะซื้อสินค้าที่มีมูลค่า 500 บาท รัฐจะดำเนินการจ่ายสูงสุดที่ 150 บาทเท่านั้น โดยอีก 350 บาทผู้ที่ได้รับสิทธิโครงการคนละครึ่งต้องดำเนินการจ่ายเอง ประชาชนที่มีความประสงค์จะซื้อสินค้าที่เข้าร่วมโครงการคนละครึ่งจะต้องสังเกตป้ายโครงการคนละครึ่ง โดยประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการคนละครึ่ง เช่น การดึงร้านค้าอิสระให้มาเป็นร้านที่เข้าร่วมโครงการทำให้รัฐบาลสามารถจัดเก็บภาษีได้มากขึ้น และทำให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มมากขึ้นซึ่งอาจเป็นการช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจอีกทางหนึ่ง โดยคาดว่าปริมาณเงินในโครงการจะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจได้ 1.85 เท่า หรือเทียบเท่า 55,500 ล้านบาท
จากที่กล่าวมาข้างต้นเป็นตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง ระหว่างรอการบริหารนโยบายสาธารณะกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง
ตอบ การบริหารการคลัง
กรอบการจัดระเบียบงานคลังให้แยกออกเป็นขอบข่าย ที่สำคัญ 4 ขอบข่าย ดังต่อไปนี้ การจัดการและการคัดเลือก ผู้นำ (Organizational Alignment and Leadership) การ จัดการนโยบายและการวางแผน (Policies and Processes) การจัดการส่วนบุคคล (Personnel Management) และ ข้อมูลข่าวสาร (Information)
1)การจัดการและการคัดเลือกผู้นำา เพื่อเป็นผู้กำหนด ทิศทางการคลังในทุกภาคส่วน จะต้องมีการบริหารงานด้าน การจัดซื้อจัดจ้างให้สอดคล้องกับหน่วยงาน สอดคล้องกับ ความต้องการในด้านประโยชน์ และสอดคล้องกับเป้าประสงค์ ของแผนงาน หรือแผนกลยุทธ์ รวมทั้งกำหนดขอบเขตความ รับผิดชอบและบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน ทั้งนี้ ผู้นำจะต้องมี ความสามารถ มีความซื่อสัตย์ และสามารถประสานงานได้ดี ทุกภาคส่วนของหน่วยงานภาครัฐ
2)การจัดการนโยบายและการวางแผน จะต้องใช้หลักการ เชิงกลยุทธ์เข้ามาเป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อน มีการประเมิน ผลกระทบภายในองค์การในการจัดสรรงบประมาณ และต้อง มีการประเมินผลกระทบภายนอกควบคู่ด้วยเช่นกัน เพื่อการ จัดการที่มีประสิทธิภาพ การคลังจะต้องสร้างความร่วมมือ กับทุกองค์การ และทุกหน่วยงานทั้งหน่วยงานภาครัฐและ หน่วยงานภาคเอกชน มีการจัดการผู้จัดจำหน่าย (Supplier) ลดการผูกขาด (Reduce Monopoly) เน้นประสิทธิภาพใน การตรวจสอบและการกำกับดูแลสัญญาใส่ใจในการรับผิดชอบ ทางการเงิน
3)การจัดการงานบุคคล การสั่งสมทุนมนุษย์ การสร้าง วัฒนธรรมในองค์การมีแต่ความซื่อสัตย์และมีกระบวนการ กำกับดูแลที่มีประสิทธิภาพมีการควบคุมอย่างชัดเจน สนับสนุนการสร้างพฤติกรรมที่มีจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่
4)ข้อมูลข่าวสาร การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้า มาจัดการข้อมูล มีการติดตามผล การวางฐานข้อมูลทาง การเงินและระบบนั้นจะต้องให้ง่ายต่อความเข้าใจในระดับ ผู้บริหาร มีระบบป้องกัน และการจัดการให้ข้อมูลเป็นความลับ
4 .2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ตอบ
จากการศึกษา ธรรมาภิบาลในการบริหารการคลังภาครัฐ จากผลการวิจัย วิชาการสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิจะพบว่า
ปัจจัยความสำเร็จในการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลัง
ขององค์กรต้นแบบที่ดีภาครัฐ ของหน่วยงานต่างๆมีดังนี้
#ด้านกลยุทธ์
-ขับเคลื่อนนโยบายอย่างต่อเนื่องและการเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำ
ด้านการจัดการบุคคลเข้าทำงาน
-มีการอบรมเพื่อปลูกฝังกระตุ้นจิตสำนึก
#ด้านธรรมาภิบาลอย่างต่อเนื่อง
-เป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำ
#ด้านโครงสร้าง
-จัดโครงสร้าง หน่วยงานด้านการเงินให้ชัดเจนและมีความคล่องตัว
-ระบบและโครงสร้างให้คล่องตัวมีประสิทธิภาพ
#ด้านระบบ
-มีการทำงานที่โปร่งใสชัดเจนตรวจสอบได้
#ด้านรูปแบบ
-ใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมจากทั้งผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
-การเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการเสนอคิดเห็นและปัญหา
-นำหลักธรรมาภิบาลมาเป็นแนวทางดำเนินงาน
-การสนับสนุนและผลักดันของผู้บริหาร
-การขับเคลื่อนนโยบายอย่างต่อเนื่องและเป็นแบบอย่างที่ดี
Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
ทรัพยากรในการบริหารจัดเป็นสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องโดยตรง เป็นการบริหารงานขององค์การ สินค้าและบริการเป็นสิ่งที่องค์การได้มอบให้กับสภาพแวดล้อม และเป็นปัจจัยหนึ่งของระบบสภาพแวดล้อม แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท 1.สภาพแวดล้อมภายใน 2. สภาพแวดล้อมภายนอก
แผนผังทรัพยากรณ์การบริหาร M 4 -> ระบบการบริหาร -> บริการของรัฐ -> ผลตอบรับ แล้วก็กลับเข้าสู่ระบบเดิมอย่างนี้เป็นวงกลม
อีก 1 แผนผัง เป็นการแสดงรูปแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมแต่ละประเภทขององค์การ ดังนี้
1.สภาพแวดล้อมเฉพาะสำหรับองค์การต่างๆของรัฐภายใน -วัตถุดิบ -ระบบบริหารจัดการ -อุปกรณ์สำนักงานและเครื่องจักร -กฎระเบียบ
2.สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของการบริหารงานของรัฐ -วัฒนธรรมประเพณี ค่านิยม -ทรัพยากรธรรมชาติ -สภาพภูมิศาสตร์ -เทคโนลียี,กฎหมาย -การเมืองเศรษฐกิจ
-ชนชั้นและสถาบันสังคม
Assignment ที่ 2 นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่เป็นการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐ โดยเพิ่มประสิทธิภาพและการแสวงหาประสิทธิภาพของระบบราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ นำเอาแนวทางหรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้กับการบริหารงานภาครัฐ เพื่อบริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ โดยเหตุผลที่มีการนำแนวคิดการบริหารงานภาครัฐแนวใหม่มาใช้ คือ
- การสื่อสาร เนื่องจากการสื่อสารมีการกระจายอำนาจและไม่เป็นทางการมากขึ้น จึงเป็นสิ่งสำคัญในการสื่อข้อมูลข่าวสารให้ชัดเจนและรวดเร็ว
-ความยืดหยุ่น ธรรมชาติของการสื่อสารออนไลน์ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทำให้ผู้จัดการต้องมีความคล่องตัวและปรับตัวได้ตามสถานการณ์
-การทำงานร่วมกัน เมื่อผู้จัดการต้องจัดลำดับความสำคัญของการทำงานร่วมกันระหว่างแผนก สถานที่ และแม้แต่อุตสาหกรรมเพื่อผลประโยชน์ร่วมกันและสร้างความสำพันธ์ในการบริหารงานระหว่างภาครัฐและเอกชน
4. การจัดการข้อมูล ด้วยการเพิ่มจำนวนของข้อมูลในการสื่อสารออนไลน์ ผู้จัดจำเป็นต้องพัฒนาระบบให้ทันตามยุคสมัยและกระบวนการใหม่สำหรับการจัดการ วิเคราะห์ และใช้ประโยชน์จากข้อมูลเพื่อให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
Assignment ที่ 3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
การบริการสาธารณะแนวใหม่(NPS) คือชุดของแนวคิดเกี่ยวกับบทบาทของการบริหารรัฐกิจภายใต้ระบบการบริหารปกครองที่ให้ความสำคัญกับการบริการสาธารณะการบริหารปกครองแบบประชาธิปไตย และการสร้างความผูกพันของพลเมือง แนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่กับแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคต่างๆจะเห็นได้ว่าการบริการสาธารณะแนวใหม่ มีความเหมือนกับแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ค่อนข้างมาก ขณะที่จะมีความแตกต่างกับแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ดั้งเดิมและแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่เป็นอย่างมาก การบริการสาธารณะแนวใหม่ ให้ความสำคัญกับพลเมืองผลประโยชน์สาธารณะ ความเป็นประชาธิปไตย ความสามารถในการรับผิดชอบได้ต่อพลเมือง การเจรจาต่อรองเพื่อหาข้อสรุปและพันธสัญญาต่อพลเมืองและชุมชนเพื่อกระจายผลประโยชน์สาธารณะนั้นไปสู่สังคมอย่างแท้จริง
Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง 4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง และ 4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง
การบริหารการคลัง พื้นฐานการบริหารการคลังที่มีประสิทธิภาพ และสร้าง ประสิทธิผลต่องานทางด้านการคลัง หน่วยงานภาครัฐจะต้อง กำหนดประเด็นสำคัญในการบริหารให้แยกออกเป็นขอบข่าย ที่สำคัญ 4 ขอบข่าย ดังต่อไปนี้1.การจัดการและการคัดเลือกผู้นำ 2.การจัดการนโยบายและการวางแผน 3.การจัดการส่วนบุคคล 4.ข้อมูลข่าวสาร
4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ปัจจัยความสำเร็จในการนำหลักธรรมมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลังขององค์กร คือ 1.ปัจจัยความสำเร็จในด้านรูปแบบ 2.ด้านการจัดบุคคลเข้าทำงาน ซึ่งประกอบด้วย -การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำ -การเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นและปัญหา - มีกิจกรรมและการอบรมการนำหลักธรรมมาภิบาลมาใช้ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง
1. คน (Man)
2. เงิน (Money)
3. วัสดุ (Materails)
4. การจัดการ (Management)
คน (Man) นับเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุด เพราะเป็นผู้ดำเนินการทุกอย่าง เป็นผู้คิด เป็นผู้กระทำ ต่างๆ งานจะสำเร็จหรือไม่ คนนับเป็นตัวแปรที่สำคัญ เพราะต่อให้มีเงินมากมาย มีอุปกรณ์พร้อม การจัดการที่ดี แต่ถ้าคน ไม่มีประสิทธิภาพ ไม่มีความรับผิดชอบ ขาดจิตสำนึก งานก็ล้มเหลว การใช้คนให้ถูกกับงานจึงเป็นเรื่องที่ควรคำนึงถึงมากๆ และบวกกับความรับผิดชอบ ความรู้ความสามารถมีแต่ขาดความรับผิดชอบ ก็ไม่ควรใช้คนแบบนี้
เงิน (Money) นับเป็นปัจัยที่สำคัญรองลงมา การขับเคลื่อนใดๆ เงินนับเป็นปัจจัยที่สำคัญ เป็นสิ่งหล่อเลี้ยงให้คน งาน บริบทต่างๆ ดำเนินไปได้อย่างราบรื่นในแง่ของปัจจัยสนับสนุน แต่ควรดำเนินการด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และไม่ควรให้เงินมามีอิทธิพลต่อความคิดมากเกินไป
วัสดุ(Materail) วัสดุนับเป็นปัจจัยชี้ความสำเร็จของงานได้ วัสดุจึงเป็นเสมือนแขน ขา ของการบริหารงาน ช่วยให้งานดำเนินไปอย่างที่ตั้งจุดหมายไว้ การใช้วัสดุ อุปกรณ์ ควรคำนึงถึงความประหยัด ความคุ้มค่า และรักษาสิ่งแวดล้อม
การจัดการ(Management) เป็นปัจจัยในแง่ของนามธรรม แต่เป็นกระบวนการที่ผู้บริหารควรให้ความสำคัญ นั่นคือถ้าการจัดการดี มีการวางแผนไว้ดีตั้งแต่ต้น เท่ากับว่างานนั้นสำเร็จไปแล้วครึ่งหนึ่งเลยทีเดียว
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค บทบาทของหน่วยงานภาครัฐต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์
1.ด้านการประชาสัมพันธ์ เป็นช่องทางที่เพิ่มความสะดวกในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ต่างๆ ของหน่วยงานภาครัฐ รวมทั้งใช้ชี้แจงแก้ไขความเข้าใจผิดเกี่ยวกับองค์กร เพราะมีความสะดวกสามารถ เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในวงกว้าง และครอบคลุมทุกกลุ่มอายุ ในระยะเวลาที่รวดเร็ว ปรากฏให้เห็นได้ทั้งข้อความ เสียง ภาพ กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว และสามารถสร้างได้ฟรีไม่มีค่าใช้จ่าย ได้แก่ การรณรงค์เกี่ยวกับการป้องกัน การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา การแจ้งข้อมูลความเคลื่อนไหวขององค์กรเกี่ยวกับกิจกรรมต่างๆ เป็นต้น
2ด้านบทบาทตามที่กำหนด ได้แก่
1. ช่วยให้การปฏิบัติงานและการติดต่อราชการนั้นง่าย ขึ้น (easier) รวดเร็วขึ้น (faster) และลดภาระค่าใช้จ่าย (cheaper) ได้แก่ การยกเลิกสำเนาเอกสารต่างๆ ที่ไม่จำเป็น ลดการใช้กระดาษ
2. ช่วยในการติดต่อสื่อสาร การประสานงานระหว่างบุคคล หน่วยงาน และ ประชาชน ได้แก่ การใช้ Chatbot ในการตอบคำถามต่างๆ ประชาชน ใช้สำหรับแจ้งเตือนภัยพิบัติต่างๆ ใช้ตอบคำถามประชาชน และส่งข้อมูลงานให้เพื่อนร่วมงาน
3) ช่วยเผยแพร่ข้อมูลด้านการประชาสัมพันธ์ต่างๆ ของหน่วยงาน ได้แก่ ข้อมูลเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ การให้บริการประชาชน การบริหารงบประมาณ การแต่งตั้ง โยกย้าย สับเปลี่ยนตำแหน่ง
4) ใช้เพื่อการสืบค้นข้อมูลประกอบการปฏิบัติงาน และเพื่อใช้เป็นแหล่งอ้างอิงใน การหาคำตอบเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
1.3 ด้านการส่งเสริมภาพลักษณ์ ได้แก่
1) ช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ด้านบริการของหน่วยงาน ภาครัฐ เพราะทำให้ประชาชนได้รับบริการของรัฐเร็วขึ้น สะดวกขึ้นง่ายขึ้น
2) ช่วยเป็นช่องทางในการเผยแพร่ นโยบาย ภารกิจ และกิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานภาครัฐให้ประชาชนได้รับรู้ เพื่อความเข้าใจอันดีของ ประชาชนและป้องกันการเกิดความเข้าใจผิด
3) สร้างภาพลักษณ์ความเป็นมืออาชีพ ทันสมัย ให้กับข้าราชการ และหน่วยงานภาครัฐ
ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ของภาครัฐได้ เช่น การจัดซื้อจัดจ้าง การใช้จ่ายเงินภาษี เป็นต้น ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้จะนำไปสู่ความไว้วางใจของประชาชนและสังคมต่อหน่วยงานภาครัฐ
1.4 ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน เป็นการเพิ่มช่องการสื่อสารและการมีปฏิบัติสัมพันธ์ ระหว่างเจ้าหน้าที่กับประชาชน ช่วยทำให้หน่วยงานภาครัฐสามารถทราบข้อมูลต่างๆ เช่น ความต้องการ ความ คิดเห็น ข้อเสนอแนะ ปัญหาและอุปสรรค ฯลฯ ของประชาชน จากการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้แสดงความ คิดเห็นผ่านทางสื่อออนไลน์ของหน่วยงานภาครัฐ ในการตรวจสอบการทำงานของภาครัฐได้สะดวกขึ้น จากข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่ภาครัฐเปิดเผยให้สาธารณชนทราบตามสื่อออนไลน์ต่างๆ ของหน่วยงาน
1.5 ด้านการให้บริการประชาชน ช่วยให้หน่วยงาน ภาครัฐสามารถให้บริการประชาชนได้ อย่างสะดวก รวดเร็วขึ้น ลดขั้นตอนการดำเนินการ ลดค่าใช้จ่าย และภาระด้านเอกสาร จากกระบวนการ
ทำงานของหน่วยงานของรัฐที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลถึงกัน ร รวมถึงแสดงความคิดเห็น ร้องเรียนต่างๆ เป็นต้น
1.6 ด้านการช่วยเหลือ/สนับสนุนการประกอบอาชีพ
Assignment ที่ 3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
นโยบายสาธารณะ (Public Policy)
การสร้างนโยบายสาธารณะเป็นหนึ่งในองค์ประกอบสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพทั้งด้านบวกและลบ นโยบายสาธารณะไม่จำเป็นต้องเป็นนโยบายของรัฐเท่านั้น แต่นโยบายสาธารณะสามารถเกิดจากภาคประชาชน ภาคเอกชน ชุมชนและสังคมด้วย
นโยบายสาธารณะจึงหมายถึง “ทิศทางหรือแนวทางที่สังคมโดยรวมเห็นว่า หรือเชื่อว่าควรจะดำเนินการไปในทิศทางนั้น” หัวใจสำคัญของนโยบายสาธารณะไม่ได้อยู่ที่คำประกาศ หรือข้อเขียนที่เป็นลายลักษณ์อักษร หรือเป็นทางการ แต่อยู่ที่ “กระบวนการ” ที่ต้องเกิดจากการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง นั่นคือ นโยบายสาธารณะที่ดีต้องเป็น “นโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม”
กระบวนการนโยบายสาธารณะ (Public Policy Process)
กระบวนการนโยบายสาธารณะในอุดมคติควรประกอบด้วยกุศล 3 ประการ คือ (1) เป็นกระบวนการทางปัญญา ใช้หลักฐานข้อเท็จจริงที่ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์มาอย่างดีจนเป็น “ความรู้” ที่เรียกว่าเป็นการสร้างนโยบายที่อยู่บนฐานของความรู้ (2) เป็นกระบวนการทางสังคม นโยบายกระทบสังคมทั้งหมดอย่างรุนแรง ผู้มีส่วนได้เสีย สังคมควรเข้ามามีบทบาทร่วมเรียนรู้ ร่วมกำหนดนโยบาย เป็นกระบวนการเปิดเผยโปร่งใส (3) กระบวนการทางศีลธรรม กระบวนการนโยบายสาธารณะควรมีอุดมคติเพื่อความถูกต้องดีงามและประโยชน์สุขของคนทั้งหมด ไม่แฝงเร้นเพื่อประโยชน์เฉพาะตนเฉพาะกลุ่ม
กระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมบนพื้นฐานทางปัญญา
( Participatory Public Policy Process based on Wisdom : 4PW )
เป็นกระบวนการใช้ข้อมูล ข้อเท็จจริง ประสบการณ์และองค์ความรู้ของฝ่ายต่างๆที่เกี่ยวข้อง มาพูดคุยแลกเปลี่ยนกันอย่างสันติวิธี มีกติกาและมีเทคนิควิธีการ ทั้งนี้จุดมุ่งหมายใหญ่คือการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม และเป็นกระบวนการที่ให้ความสำคัญต่อสุขภาพมาประกอบการกำหนดและตัดสินใจทางนโยบายทุกด้าน ตามแนวทาง “ทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ” (Health in all Policies)
Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง
4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง
การใช้นโยบายการคลังของรัฐบาลเป็นนโยบายทางเศรษฐกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงระดับการใช้จ่ายของรัฐบาล ภาษีอากรและการก่อหนี้สาธารณะ ซึ่งเป็นเครื่องมือทางการคลังเพื่อใช้ในการตัดสินใจในการรักษาความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ การกระจายรายได้ และการจัดสรรทรัพยากรของประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายทางเศรษฐกิจและสังคมในภาพรวม นโยบายการคลังเป็นนโยบายเกี่ยวกับการใช้รายได้ รายจ่ายของรัฐบาล และการก่อหนี้สาธารณะ การดำเนินนโยบายการคลังมีวัตถุประสงค์ดังนี้
เพื่อเสริมสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เพื่อรักษาความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
เพื่อการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม
เพื่อการจัดสรรทรัพยากรระหว่างภาคเอกชนและภาครัฐบาลให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
4 .2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
หลักการมีส่วนร่วมประกอบไปด้วยหลักการสำคัญ 4 หลักการคือ
1.ระดับการให้ข้อมูล เป็นระดับต่ำสุดและเป็นวิธีการที่ง่ายที่สุดของการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้วางแผนโครงการกับประชาชน เพื่อให้ข้อมูลแก่ประชาชนเกี่ยวกับการตัดสินใจของผู้วางแผนโครงการ และยังเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นหรือเข้ามาเกี่ยวข้องใดๆ เช่น การแถลงข่าว การแจกข่าว การแสดงนิทรรศการ และการทำหนังสือพิมพ์ให้ข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมต่างๆ
2.ระดับการเปิดรับความคิดเห็นจากประชาชน เป็นระดับขั้นที่สูงกว่าระดับแรก กล่าวคือ ผู้วางแผนโครงการเชิญชวนให้ประชาชนแสดงความคิดเห็นเพื่อให้ได้ข้อมูลมากขึ้น และประเด็นในการประเมินข้อดีข้อเสียชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการริเริ่มโครงการต่างๆ และการบรรยายให้ประชาชนฟังเกี่ยวกับโครงการต่างๆ แล้วขอความคิดเห็นจากผู้ฟัง รวมไปถึงการร่วมปรึกษาหารือ เป็นต้น
3.ระดับการวางแผนร่วมกัน และการตัดสินใจ เป็นระดับขั้นที่สูงกว่าการปรึกษาหารือ กล่าวคือ เป็นเรื่องการมีส่วนร่วมที่มีขอบเขตกว้างมากขึ้น มีความรับผิดชอบร่วมกันในการตัดสินใจ และวางแผนเตรียมโครงการ และเตรียมรับผลที่จะเกิดขึ้นจากการดำเนินโครงการ ระดับนี้มักใช้ในกรณีที่เป็นเรื่องซับซ้อนและมีข้อโต้แย้งมาก เช่น การใช้กลุ่มที่ปรึกษาซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง การใช้อนุญาโตตุลาการเพื่อปัญหาข้อขัดแย้ง และการเจรจาเพื่อหาทางประนีประนอมกัน เป็นต้น
4.ระดับการพัฒนาศักยภาพในการมีส่วนร่วม สร้างความเข้าใจให้กับสาธารณชน เป็นระดับขั้นที่สูงสุดของการมีส่วนร่วม คือเป็นระดับที่ผู้รับผิดชอบโครงการได้ตระหนักถึงความสำคัญและประโยชน์ที่จะได้รับจากการมีส่วนร่วมของประชาชนและได้มีการพัฒนาสมรรถนะหรือขีดความสามารถในการมีส่วนร่วมของประชาชนให้มากขึ้นจนอยู่ในระดับที่สามารถมีส่วนร่วมได้อย่างเต็มที่ และเกิดประโยชน์สูงสุด
สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา
สภาพแวดล้อมทางการเมือง
สภาพแวดล้อมทางการเมืองและเศรษฐกิจภายนอก
สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคม
สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนาภายในองค์การ
สภาพแวดล้อมทางการเมืองเศรษฐกิจภายใน
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
ตอบ บริการของภาครัฐไปสู่ประชาชนโดยใช้อิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อในการให้บริการ โดยหลักการของ “ที่เดียว-ทันใด-ทั่วไทย-ทุกเวลาทั่วถึง และเท่าเทียม-โปร่งใสและเป็นธรรมาภิบาล นอกจากนั้นรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์(e-Government)ก็มีข้อดีอยู่หลายประการ เช่น สร้างโอกาสให้ประชาชนได้เลือกใช้บริหารที่หลากหลายผ่านอินเตอร์เน็ตประชาชนได้รับบริการจากรัฐที่ดีขึ้น แม่นยำขึ้น สะดวกขึ้น เสียเวลากับรัฐน้อยลง เพราะมีช่องทางการบริการใหม่ๆ เกิดขึ้นในศูนย์บริการทางโทรศัพท์(Call Center) บริการทางเว็บไซต์การใช้อินเตอร์เน็ตผ่านมือถือ(WAP) เป็นต้น แต่ก็มีข้อเสียอยู่หลายประการเช่นเดียวกันคือต้องลงทุนโครงสร้างพื้นฐานด้านไอทีต้องมีการตรวจสอบที่เข้มงวด และอาจเข้าไม่ถึงพื้นที่ห่างไกล
Assignment ที่ 3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
ตอบ นโยบายสาธารณะ คือ นโยบายที่รัฐเป็นผู้ดำเนินการเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนช่วยแก้ไขปัญหาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น เป็นสิ่งที่เอื้ออำนวยผลประโยชน์และแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ต่อทั้งประชาชนและรัฐบาล โดยนโยบายสาธารณะแบ่งออกเป็นหลายประเภทด้วยกัน ซึ่งแต่ละประเภทนั้นก็จะแตกต่างกันออกไป ตามความเหมาะสม ส่วนการนำไปใช้บริหารประเทศนั้นก็ขึ้นอยู่กับรัฐบาลแต่ละชุดว่าจะกำหนดและปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะแบบไหน เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนมากที่สุด ดังนั้นนโยบายสาธารณะจึงเป็นแนวทางปฏิบัติของรัฐบาลที่มุ่งเน้นสร้างผลประโยชน์ให้กับประชาชนเป็นหลัก เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน และพัฒนาชีวิตประชาชนให้ดียิ่งขึ้นที่สำคัญต้องให้ความสำคัญในหลายๆด้านไม่ว่าจะเป็นการกำหนดนโยบายรวมไปถึงการนำนโยบายไปปฏิบัติถ้าหากสามารถนำไปปฏิบัติได้จริงและตรงกับความต้องการของประชาชนก็จะสามารถช่วยให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นได้อย่างแท้จริง
Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง 4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง และ4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ตอบ 4.1การบริหารภาคการคลังจะต้องมีการกำ หนดมาตรการการควบคุมและการดำ เนินการครอบคลุมในทุกมิติการนำการจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้เพื่อการกำ หนดมาตรการหรือแนวทางการบริหาร จะทำ ให้การบริหารมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพราะการจัดการภาครัฐแนวใหม่มีรูปแบบตั้งแต่การศึกษาสภาพแวดล้อมและปัญหา การศึกษาเอกสารและผลการดำ เนินการที่ผ่านมารวมไปถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดการดำ เนินการ เพราะการดำ เนินการภายใต้โครงการต่างๆต้องลดปัญหาแม้ว่าจะถูกจำกัดด้วยสภาพแวดล้อมและทรัพยากรที่มีอยู่ปัจจุบันหลายประเทศในอาเซียนประสบปัญหาคือการทีรัฐบาลไม่สามารถดำเนินการบริหารได้ตามที่แถลงจุดอ่อนปัญหาการบริหารการคลังที่ไม่มีคุณภาพ ขาดการวางแผน ขาดการศึกษาในเชิงลึกและขาดการวางรากฐานนโยบายสาธารณะเพื่อประชาชน เนื่องจากหน่วยงานภาครัฐเป็นองค์การขนาดใหญ่ทำ ให้การจัดการบริหารจัดการเพื่อให้เป็นไปตามแบบแผนเดียวกันเป็นเรื่องที่ยากเช่น การดำ เนินการตามนโยบายผู้ที่ออกนโยบายกับผู้ที่ดำเนินการเป็นบุคคลคนละกลุ่มกัน ถือว่าเป็นอุปสรรคที่สำคัญดังนั้น การร่วมมือกันของทุกภาคส่วนเป็นขั้นตอนที่สำคัญ โดยต้องมีการกำ หนดเป้าหมายที่ชัดเจน แนวทางการดำ เนินงานที่แน่นอน เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้ดำ เนินการตามแนวทางเดียวกัน
4.2 การบริหารการคลังของไทยควรมีการนำการจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้เพื่อการบริหารการคลัง โดยต้องมีการศึกษาทบทวนการจัดการภาครัฐแนวใหม่ก่อนการตัดสินใจดำเนินนโยบายหรือมาตรการใดๆ การจัดการภาครัฐแนวใหม่เสนอให้มีการทบทวนหลักการบริหารก่อน เพื่อวิเคราะห์แนวทาง การดำ เนินการ และผลกระทบ ร่วมกับการประเมินผลการดำ เนินการมาตรการหรือนโยบายดังกล่าว ทั้งในระหว่างการดำเนินการและหลังการดำ เนินการ เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการบริหารงานครั้งต่อไปภายใต้กรอบการจัดระเบียบที่เน้น ประเด็นสำคัญ 4 ประเด็นหลักได้แก่1)การจัดการและความเป็นผู้นำ 2) นโยบายและขั้นตอน 3) การจัดการบุคลากร และ 4) สารสนเทศ เพราะประเด็นสำคัญเหล่านี้ถือได้ว่าเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของการบริหารที่ดี
Assignment ที่ 1 สภาพแวดล้อมขององค์การว่าประกอบด้วยปัจจัยหรือส่วนต่างๆ 10 ส่วนด้วยกัน ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ถือเป็นสภาพแวดล้อมของงาน มีผลกระทบต่อการบรรลุเป้าหมายขององค์การโดยตรง ปัจจัยเหล่านี้ได้แก่
1.1. ปัจจัยด้านอุตสาหกรรมรม
1.2. ปัจจัยด้านปัจจัยผลิตหรือวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต
1.3. ปัจจัยด้านทรัพยากรมนุษย์ (Human resources sector)
1.4. ปัจจัยด้านการเงิน (Financial resources sector)
1.5. ปัจจัยด้านการตลาด (Market sector) เป็นการพิจารณาถึงสภาวะการตลาด
1.6. ปัจจัยด้านเทคโนโลยี (Technology sector)
1.7. ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ (Economic conditions sector)
1.8. ปัจจัยด้านการควบคุมหรือภาคราชการ (Government sector)
1.9. ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม (socio-cultural sector)
1.10 ปัจจัยจากต่างประเทศ (International sector)
Assignment ที่ 2. ผู้บริหารหรือฝ่ายจัดการ ซึ่งได้แก่ (1) งานทางด้านการวางแผน (planning) (2) งานทางด้านการ
จัดองค์การ (organizing) (3) งานทางด้านการนำ (leading) และ (4) งานทางด้านการควบคุม
(controlling) (DeCenzo and Robbins, 1996:4) ซึ่งมีสาระและวิธีการดังต่อไปนี้
1. งานทางด้านการวางแผน
เป็นหน้าที่ทางด้านการจัดการที่มุ่งเน้นที่การกำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ขององค์การ พร้อมกับการกำหนดวิธีการที่จะทำให้เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดขึ้นนั้น
ประสบผลสำเร็จ การวางแผนจึงเป็นงานที่จะต้องทำก่อนลงมือปฏิบัติจริง มีการระบุกิจกรรม
กำหนดหน่วยงาน/บุคลากร ให้เข้าไปรับผิดชอบ มีการจัดการทรัพยากรให้พอเหมาะกับการปฏิบัติ
ตามกิจกรรม มีการกำหนดตารางเวลาการปฏิบัติงานพร้อมกับแนวทางดำเนินงานและวิธีการ
2. งานทางด้านการจัดองค์การเป็นหน้าที่ทางด้านการจัดการที่เกี่ยวกับการกำหนดงานที่จะต้องทำให้เสร็จ กำหนดตัวพนักงานที่จะรับผิดชอบงาน การกำหนดจุดในการตัดสินใจว่าควรจะอยู่ที่ใดและควรจัดกลุ่มคนอย่างไร จึงจะทำให้เกิดการประสานงานและการร่วมมือในการทำงาน สำหรับการจัดองค์การควร
จะเป็นอย่างไรนั้นพิจารณาได้จากปัจจัยที่สำคัญ 2 ประการ คือ (1) รูปแบบขององค์การในอนาคต
และ (2) แรงผลักดันให้องค์การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 (Smither, Houston and McIntire,
1996:448-454) กล่าวคือ
2.1 รูปแบบขององค์การในอนาคต ในอนาคตการจัดองค์การจะมุ่งเน้นการจัดแผนงานที่
มีลักษณะเป็นศูนย์หลักต่าง 1 ศูนย์หลักเหล่านี้จะมีจำนวน 4 ศูนย์ แต่ละศูนย์หลักจะเชื่อมโยงเข้า
ด้วยกันกับสถาบันของผู้บริหาร โดยที่ศูนย์แต่ละศูนย์เหล่านี้จะทำหน้าที่ในแต่ละด้านให้สอดรับการ
เปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมเพื่อให้องค์การสามารถดำเนินงานได้เป็นผลสำเร็จ
2.2 แรงผลักดันให้องค์การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 วิธีนี้เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยทำ
ให้สามารถพยากรณ์รูปแบบขององค์การในอนาคตได้ โดยการวิเคราะห์จากพลังที่ก่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลง พลังเหล่านี้ประกอบด้วย (1) การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และ (3) การมุ่งเน้นที่ค่านิยมและจริยธรรมของมนุษย์เพิ่มมากขึ้น
(Robey and Sales, 1994)
3. งานทางด้านการนำ
เป็นหน้าที่ทางด้านการจัดการที่มุ่งเน้นการอำนวยการทางด้านงานให้พนักงานไปปฏิบัติ
ให้ประสบผลสำเร็จ ในการอำนวยการนี้จะต้องให้ความสำคัญกับการใช้คนให้เหมาะสมกับงาน
(put the right man on the right job) โดยเฉพาะการพัฒนาบุคลากรและการฝึกอบรมพนักงาน
ให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะและพฤติกรรมที่เหมาะสมสำหรับการทำงานให้สำเร็จ ซึ่งถือเป็น
การเสริมสร้างความสามารถ (ability) ของพนักงานในการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรนั้นสามารถ
ที่จะใช้วิธีการฝึกอบรมโดย (1) ให้ลงมือปฏิบัติ (on-the-job training) เช่น apprenticeship
training, job instruction training เป็นต้น (2) การฝึกอบรมก่อนลงมือปฏิบัติงาน (off-the-job-
training) เพื่อเตรียมความพร้อมให้พนักงานมีความรู้ความสามารถ ทักษะและพฤติกรรมเพียง
พอที่จะทำงาน 4. งานทางด้านการควบคุม
เป็นหน้าที่ทางด้านการจัดการที่มุ่งเน้นที่การดำเนินการตรวจสอบ การเร่งรัด หรือบังคับบัญชาให้การดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้เป็นไปในลักษณะและอยู่ในแนวทางที่จะบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ได้ สำหรับเครื่องมือที่จะช่วยให้การควบคุมเป็นไปอย่างเหมาะสม ได้แก่ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System) และระบบสำนักงานอัตโนมัติ
(Office Automation) ที่จะนำมาใช้ในการ (1) การจัดเก็บเอกสาร
(2) การจัดตารางการทำงาน (3) การติดต่อสื่อสาร และ (4) การจัดการข้อมูล
Assignment ที่ 3. การจัดการเชิงกลยุทธ์ กระบวนการบริหาร รูปแบบนโยบายสาธารณะ
ตัวแบบการมีส่วนร่วม ความพึงพอใจ วัฒนธรรมองค์กร/ท้องถิ่น เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และการเมือง
ภาครัฐควรดำเนินการสนับสนุนปัจจัยด้านการจัดการเชิงกลยุทธ์ ด้านกระบวนการบริหารด้านตัวแบบการมีส่วนร่วม ด้านสังคม และด้านการศึกษา ให้กับกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ ให้มีความรู้ความเข้าใจต่อการบริหารนโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่น เพิ่มมากยิ่งขึ้น เช่น ปัจจัยด้านการจัดการเชิงกลยุทธ์ ในการกำหนดวิสัยทัศน์ของนโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่น การกำหนดวัตถุประสงค์ของนโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่น การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติของ
นโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่น การกำหนดกลยุทธ์ของนโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่น และการ
ประเมินผลกลยุทธ์ของนโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่น ควรมีการสร้างความรับรู้แก่กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย
ต่างๆ ให้เกิดความรู้ถึงคุณค่า ประโยชน์ที่ชุมชน ท้องถิ่นจะได้รับทั้งผลดีและผลเสียโดยชี้แจงอย่างชัดเจน
และเข้าถึงประชาชนให้ได้ทุกกลุ่ม
1. ปัจจัยด้านกระบวนการบริหาร ภาครัฐต้องดำเนินงานในการจัดองค์กรที่เกี่ยวข้องกับนโยบาย
สาธารณะในระดับท้องถิ่น ที่ชัดเจน มีการวางแผนงานนโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่นเป็นขั้นตอนทั้ง
ระยะสั้น ระยะยาวหรือนโยบายที่เร่งด่วน การจัดบุคลากรในการปฏิบัติงานตามนโยบายสาธารณะที่ต้องใช้
บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ มีทักษะ ความเข้าใจในท้องถิ่นและการบริหารนโยบายสาธารณะอย่างมี
ประสบการณ์ การอำนวยการในงานนโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่น และประสานงานในงานนโยบาย
2. ปัจจัยด้านตัวแบบการส่วนร่วม ภาครัฐควรสนับสนุนการมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียใน
การการบริหารนโยบายสาธารณะโดยทำให้มีโอกาสร่วมคิด ถึงปัญหาในท้องถิ่นหรือความต้องการของ
ท้องถิ่นเพื่อสร้างความตระหนักและความสำคัญของนโยบายสาธารณะร่วมกัน ร่วมรับรู้ ถึงผลดีและ
ผลกระทบอันเกิดขึ้นจากนโยบายสาธารณะที่จะดำเนินการ ร่วมติดสินใจกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียต้องร่วมกัน
พิจารณาเลือกนโยบายสาธารณะที่จะดำเนินการในท้องถิ่น ชุมชนของตนเอง ร่วมดำเนินการ กลุ่มผู้มีส่วน
ได้เสียต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการตามนโยบายสาธารณะในขั้นตอนต่างๆ ร่วมรับผิดชอบ กลุ่มผู้
มีส่วนได้เสียต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อผลอันเกิดขึ้นจากนโยบายสาธารณะที่ดำเนินการ
ร่วมกัน ร่วมรับผลประโยชน์ กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียต้องมีผลประโยชน์ที่ได้รับจากนโยบายสาธารณะที่กำหนด
ในด้านใดด้านหนึ่ง และร่วมประเมินผล กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการประเมินผลนโยบาย
สาธารณะในทุกขั้นตอนและหลังจากที่เสร็จสิ้นโครงการร่วมกัน
3. ปัจจัยด้านการจัดการเชิงกลยุทธ์ ในการกำหนดวิสัยทัศน์ของนโยบายสาธารณะในระดับ
ท้องถิ่น การกำหนดวัตถุประสงค์ของนโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่น การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติของ
นโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่น การกำหนดกลยุทธ์ของนโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่น และการ
ประเมินผลกลยุทธ์ของนโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่น ควรมีการสร้างความรับรู้แก่กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย
ต่างๆ ให้เกิดความรู้ถึงคุณค่า ประโยชน์ที่ชุมชน ท้องถิ่นจะได้รับทั้งผลดีและผลเสียโดยชี้แจงอย่างชัดเจน
และเข้าถึงประชาชนให้ได้ทุกกลุ่ม
4. ปัจจัยด้านกระบวนการบริหาร ภาครัฐต้องดำเนินงานในการจัดองค์กรที่เกี่ยวข้องกับนโยบาย
สาธารณะในระดับท้องถิ่น ที่ชัดเจน มีการวางแผนงานนโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่นเป็นขั้นตอนทั้ง
ระยะสั้น ระยะยาวหรือนโยบายที่เร่งด่วน การจัดบุคลากรในการปฏิบัติงานตามนโยบายสาธารณะที่ต้องใช้
บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ มีทักษะ ความเข้าใจในท้องถิ่นและการบริหารนโยบายสาธารณะอย่างมี
ประสบการณ์
พื้นฐานการบริหารการคลังที่มีประสิทธิภาพ และสร้าง ประสิทธิผลต่องานทางด้านการคลัง หน่วยงานภาครัฐจะต้อง กำหนดประเด็นสำคัญในการบริหารให้แยกออกเป็นขอบข่าย ที่สำคัญ 4 ขอบข่าย ดังต่อไปนี้การจัดการและการคัดเลือก ผู้นำ การ จัดการนโยบายและการวางแผน การจัดการส่วนบุคคล และ ข้อมูลข่าวสาร การจัดการและการคัดเลือกผู้นำ เพื่อเป็นผู้กำหนด ทิศทางการคลังในทุกภาคส่วน จะต้องมีการบริหารงานด้าน การจัดซื้อจัดจ้างให้สอดคล้องกับหน่วยงาน สอดคล้องกับ ความต้องการในด้านประโยชน์และสอดคล้องกับเป้าประสงค์ ของแผนงาน หรือแผนกลยุทธ์รวมทั้งกำหนดขอบเขตความ รับผิดชอบและบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน ทั้งนี้ผู้นำ จะต้องมี ความสามารถ มีความซื่อสัตย์และสามารถประสานงานได้ดี ทุกภาคส่วนของหน่วยงานภาครัฐ การจัดการนโยบายและการวางแผน จะต้องใช้หลักการ เชิงกลยุทธ์เข้ามาเป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อน มีการประเมิน ผลกระทบภายในองค์การในการจัดสรรงบประมาณ และต้อง มีการประเมินผลกระทบภายนอกควบคู่ด้วยเช่นกัน เพื่อการ จัดการที่มีประสิทธิภาพ การคลังจะต้องสร้างความร่วมมือ กับทุกองค์การ และทุกหน่วยงานทั้งหน่วยงานภาครัฐและ หน่วยงานภาคเอกชน มีการจัดการผู้จัดจำหน่าย ลดการผูกขาด เน้นประสิทธิภาพใน การตรวจสอบและการกำกับดูแลสัญญาใส่ใจในการรับผิดชอบ ทางการเงิน การจัดการงานบุคคล การสั่งสมทุนมนุษย์การสร้าง วัฒนธรรมในองค์การมีแต่ความซื่อสัตย์และมีกระบวนการ กำกับดูแลที่มีประสิทธิภาพมีการควบคุมอย่างชัดเจน สนับสนุนการสร้างพฤติกรรมที่มีจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ ข้อมูลข่าวสาร การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้า มาจัดการข้อมูล มีการติดตามผล การวางฐานข้อมูลทาง การเงินและระบบนั้นจะต้องให้ง่ายต่อความเข้าใจในระดับ ผู้บริหาร มีระบบป้องกัน และการจัดการให้ข้อมูลเป็นความลับ
4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
1. การจัดการและความเป็นผู้นำโดยจะต้องมีองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ความต้องการ ความเหมาะสมในงาน การจัดการภายใต้วัตถุประสงค์ตามกลยุทธ์โดยกำหนดความรับผิดชอบและบทบาทที่ชัดเจน ในด้านผู้นำ ผู้นำ มีความเข้มแข็งและความสามารถ มีความซื่อสัตย์และ รวมทั้งมีความสามารถในการสื่อสารที่ดี
2. นโยบายและขั้นตอนการวางแผนกลยุทธ์ การประเมินความต้องการภายในและผลกระทบจากสถานการณ์ภายนอกสร้างความร่วมมือกับองค์การอื่น การจัดการกับตัวแทนจำหน่าย การตรวจสอบและกำกับดูแลสัญญาที่มีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบทางการเงิน
3. การจัดการบุคลากรการลงทุนในทุนมนุษย์ การคัดเลือกพนักงานที่เหมาะสมตามความต้องการของ
องค์การต้องมีการสนับสนุนพฤติกรรมที่ส่งเสริมจริยธรรม โดยกำหนดเป้าหมายการอบรมสนับสนุนวัฒนธรรมองค์การแห่งความซื่อสัตย์และมีกระบวนการกำกับดูแล
4. สารสนเทศ ข้อมูลและเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุน การติดตามข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างรูปแบบข้อมูลการเงินที่สะดวกต่อการใช้งาน การวิเคราะห์รายจ่าย การป้องกันและการเก็บรักษาความลับ การควบคุมที่มีประสิทธิภาพ ระบบการจัดเก็บและการป้องกัน
64423471046
Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
รูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร
1.ทรัพยากรบุคคล การบริหารงานทรัพยากรมนุษย์ หมายถึงการดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานบุคคลขององค์กรในด้านต่างๆ เพื่อช่วยให้การทำงานตามภารกิจขององค์การบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ได้ อย่างมี
2. งบประมาณ หมายถึง การวางแผนล่วงหน้าขององค์การสำหรับการใช้จ่ายเงิน โดยกำหนดให้ทราบล่วงหน้าและมีระยะเวลาการใช้จ่ายเงินที่แน่นอนได้อย่างเพียงพอกับลักษณะของภารกิจที่กำหนดขึ้น รวมถึงความสามารถในการเบิกจ่ายได้อย่างรวดเร็วทันตามกำหนดเวลา เพื่อช่วยให้การทำงานบรรลุผลสำเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. วัสดุอุปกรณ์ หมายถึง การที่องค์การสามารถจัดหาวัสดุอุปกรณ์ ตามที่ต้องใช้ในการทำงานได้เพียงพอและสอดคล้องกับภารกิจในแต่ละช่วงปีงบประมาณ รวมถึง องค์การมีการจัดสรรงบประมาณเพื่อการบำรุงรักษาให้วัสดุอุปกรณ์อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน เพื่อช่วยให้การทำงานบรรลุผลสำเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. การจัดการ การจัดการเป็นกระบวนการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ โดยนำปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกขององค์การมาใช้ร่วมกัน เพื่อช่วยให้บรรลุผลสำเร็จตาม วัตถุประสงค์ขององค์การอย่างมีประสิทธิภาพ
5. เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การนำเทคโนโลยีที่เหมาะสม ในการทำงานมาใช้จัดการกับข้อมูลสารสนเทศขององค์การ โดยเกี่ยวข้องตั้งแต่การรวบรวมการ จัดเก็บข้อมูล การประมวลผล การพิมพ์ การสร้างรายงาน การสื่อสารข้อมูล ฯลฯ เพื่อให้เกิดระบบ การทำงานที่ง่าย สะดวก และรวดเร็ว ช่วยให้การทำงานบรรลุผลสำเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.ตลาดสำหรับภาครัฐ หมายถึง การบริหารจัดการในการให้บริการแก่ ประชาชนขององค์การโดยใช้วิธีการทางการตลาดเช่นเดียวกับเอกชน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ สูงสุดในการให้บริการ และมีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งจะช่วยให้ผู้รับบริการได้รับความสุข ความพึง พอใจ และบรรลุวัตถุประสงค์ที่เข้ารับบริการจากองค์การ
64423471046
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
1. การปรับเปลี่ยนการทำงานภาครัฐด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ให้มีประสิทธิภาพ และมีธรรมาภิบาล เน้นการเชื่อมโยงข้อมูล และการทำงานของหน่วยงานภาครัฐเข้าด้วยกัน (connected government) โดยบูรณาการข้อมูลข้ามหน่วยงานจนเสมือนเป็นองค์กรเดียว (one government) ทำให้เกิดการใช้ทรัพยากร ดิจิทัลร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งจะลดความซ้ำซ้อนในการลงทุนในทรัพยากร
2. การสนับสนุนให้มีการเปิดเผยข้อมูลที่เป็นประโยชน์ (open data) และส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการทำงานของรัฐ (open government) เพื่อนำไปสู่การเป็น Digital Thailand โดยการ ส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐและประชาชน เปิดเผย จัดเก็บ แลกเปลี่ยน และบูรณาการข้อมูล ตามมาตรฐาน open data เพื่อนำมาซึ่งการพัฒนาฐานข้อมูล รวมถึงชุดข้อมูลด้านต่าง ๆ โดยเชื่อมโยงข้อมูลจากทุก หน่วยงานภาครัฐโดยไม่ยึดติดความเป็นเจ้าของ และเปิดเผยต่อสาธารณะ เพื่อให้เกิดการพัฒนานวัตกรรม บริการ และสร้างคุณค่าทางเศรษฐกิจและสังคม เช่น ทะเบียนข้อมูลประชาชน ที่เก็บรวบรวมข้อมูลบุคคล ตั้งแต่เกิดจนตายสำหรับการวางแผนพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
3. การพัฒนาแพลตฟอร์มบริการพื้นฐานภาครัฐ (government service platform) เพื่อรองรับการพัฒนาแอปพลิเคชันหรือบริการรูปแบบใหม่ที่เป็นบริการพื้นฐานของทุกหน่วยงานภาครัฐ โดยส่งเสริม ให้เกิดการพัฒนาแพลตฟอร์ม7บริการพื้นฐาน ซึ่งเป็นการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำธุรกรรมและการให้บริการ ที่เป็นบริการพื้นฐานของทุกหน่วยงานภาครัฐ เพื่ออำนวยความสะดวกสำหรับทุกหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน
4. การจัดให้มีบริการอัจฉริยะ (smart service) ที่อำนวยความสะดวกต่อประชาชนตามความต้องการ ของประชาชนผู้รับบริการ บริการอัจฉริยะเป็นการแปรสภาพการบริการภาครัฐจากรูปแบบเดิมไปสู่รูปแบบ การบริการที่ประชาชนผู้รับบริการสามารถเลือกใช้บริการสาธารณะผ่านระบบดิจิทัลตามความต้องการของ แต่ละบุคคลได้ด้วยตนเอง
64423471046
Assignment ที่ 3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
1.แนวคิดทางด้านรัฐศาสตร์ เน้นค่านิยมประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
2.เน้นชุมชนและประชาสังคม/จิตสาธารณะ
3.รัฐมีหน้าที่เป็นผู้ให้บริการ / อำนวยความสะดวก และกระตุ้นให้พลเมืองมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการภาครัฐ แบบประชานเป็นหุ้นส่วน
4.ระบบราชการรับใช้พลเมือง / คำนึงถึงผลประโยชน์สาธารณะ
5.ประชาชนในฐานะพลเมือง มีส่วนร่วมในการคิดทำรับผลประโยชน์ และตรวจสอบปัญหาความต้องการของตนเอง
6.บทบาทภาครัฐเปลี่ยนจากการควบคุมเป็นการกำหนดระเบียบวาระ นำกลุ่มที่เกี่ยวข้อง เช่น ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคพลเมือง มาสู่โต๊ะเจรจา จัดเวทีประชาคมอย่างเป็นปชต.
7.จนท.ภาครัฐต้องรับผิดชอบ เคารพกฎหมายเห็นคุณค่าของชุมชน ผลประโยชน์ต่อพลเมืองสร้างสรรค์และบริหารคุณค่าสาธารณะ ให้แก่สังคมโดยรวม
64423471046
Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง 4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง และ 4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง การบริหารภาคการคลังจะต้องมีการกำหนดมาตรการ การควบคุมและการดำ เนินการครอบคลุมในทุกมิติการนำ การจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้เพื่อการกำหนดมาตรการ หรือแนวทางการบริหาร จะทำให้การบริหารมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพราะการจัดการภาครัฐแนวใหม่มีรูปแบบตั้งแต่การ ศึกษาสภาพแวดล้อมและปัญหา การศึกษาเอกสารและ ผลการ ดำเนินการที่ผ่านมารวมไปถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น เพื่อ เป็นแนวทางในการกำ หนดการดำ เนินการ เพราะการดำเนินการภายใต้โครงการต่างๆต้องลดปัญหาแม้ว่าจะถูกจำกัดด้วย สภาพแวดล้อมและทรัพยากรที่มีอยู่
4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง ปัจจัยความสำเร็จในการนำหลัก ธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลังขององค์กร ส่วนใหญ่เป็น ปัจจัยด้านรูปแบบ (Style) และ ด้านการจัดบุคคลเข้าทำงาน (Staff) ซึ่งประกอบด้วย
(1) การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำ (Style)
(2) การเปิดโอกาส ให้ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการ เสนอความคิดเห็นและปัญหา (Style) (3) มี กิจกรรมและการอบรมการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง (Staff)
ข้อ1. สภาพแวดล้อม (environment) และนิเวศวิทยา (ecology) เป็นคำที่อาจใช้แทนกันได้แต่จาก การติดตามและสังเกตุดู การใช้คำทั้งสองนี้ในตำรับตำราต่างๆ พบว่า มีความแตกต่างกันอยู่ไม่น้อย กล่าวคือสภาพแวดล้อมหรือ environment จะหมายถึงสภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลเหนืออินทรีย์ (organism) และองค์การแต่ฝ่ายเดียวส่วนนิเวศวิทยาหรือ ecology นั้น จะหมายถึง สภาพแวดล้อมที่มี อิทธิพลเหนืออินทรีย์(organism) และองค์การฝ่ายเดียว ส่วนนิเวศวิทยาหรือ ecology นั้นจะหมายถึง สภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลเหนืออินทรีย์และองค์การ แต่ในขณะอินทรีย์และองค์การก็จะมีอิทธิพลเหนือ สภาพแวดล้อม นอกจากนี้คำว่า ecology มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก ว่า “oikos” ซึ่งเดิมหมายถึง การอยู่อาศัยหรือที่อยู่ (habitation)
ข้อ.21. เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน(Open&ConnectedGovernment)โดยต้องมีความเปิดเผยโปร่งใส ในการทำงาน บุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของทางราชการหรือมีการแบ่งปัน ข้อมูลซึ่งกันและกัน และสามารถเข้ามาตรวจสอบการทำงานได้ ตลอดจนเปิดกว้างให้กลไกหรือ ภาคส่วนอื่น ๆ เช่น ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ได้เข้ามามีส่วนร่วม และโอนถ่ายภารกิจที่ภาครัฐ ไม่ควรดำเนินการเองออกไปให้แก่ภาคส่วนอื่น ๆ เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการแทน โดยการจัดระเบียบ ความสัมพันธ์ในเชิงโครงสร้างให้สอดรับกับการทำงานในแนวระนาบ ในลักษณะของเครือข่าย มากกว่าตามสายการบังคับบัญชาในแนวดิ่ง ขณะเดียวกันก็ยังต้องเชื่อมโยงการทางานภายในภาครัฐ ด้วยกันเองให้มีเอกภาพและสอดรับประสานกัน ไม่ว่าจะเป็นราชการบริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น
2. ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง(Citizen-centricgovernment)โดยต้องทำงานในเชิงรุกและมอง ไปข้างหน้า ตั้งคาถามกับตนเองเสมอว่า ประชาชนจะได้อะไร มุ่งเน้นแก้ไข ปัญหาความต้องการ และตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยไม่ต้องรอให้ประชาชนเข้ามาติดต่อขอรับบริการ หรือร้องขอความช่วยเหลือจากทางราชการ (proactive public services) รวมทั้งใช้ประโยชน์ จากข้อมูลของทางราชการ (big government data) และระบบดิจิทัลสมัยใหม่ในการจัดบริการ สาธารณะที่ตรงกับความต้องการของประชาชน (personalized หรือ tailored services) พร้อมทั้ง อานวยความสะดวกโดยมีการเชื่อมโยงกันเองของทางราชการเพื่อให้บริการต่าง ๆ สามารถเสร็จสิ้น ในจุดเดียว ประชาชนสามารถเรียกใช้บริการของทางราชการได้ตลอดเวลาตามความต้องการ ของตนและผ่านการติดต่อได้หลายช่องทางผสมผสานกันไม่ว่าจะมาติดต่อด้วยตนเอง อินเตอร์เน็ต เว็บไซต์ โซเชียลมีเดีย หรือแอปพลิเคชั่นทางโทรศัพท์มือถือ
3. มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย (Smart & high performance government) โดยต้องทางาน อย่างเตรียมการณ์ไว้ล่วงหน้า มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง สร้างนวัตกรรมหรือความคิดริเริ่มและประยุกต์ องค์ความรู้ในแบบสหสาขาวิชาเข้ามาใช้ในการตอบโต้กับโลกแห่งการเปลี่ยนแปลง อย่างฉับพลัน เพื่อสร้างคุณค่า มีความยืดหยุ่นและความสามารถในการตอบสนองกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่าง ทันเวลา ตลอดจนเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง และปรับตัวเข้าสู่สภาพความเป็นสานักงานสมัยใหม่ รวมทั้ง ทำให้ข้าราชการมีความผูกพันต่อการปฏิบัติราชการและปฏิบัติหน้าที่ได้ อย่างเหมาะสม กับบทบาทของตน
ข้อ3. การจัดการปกครองในรูปแบบของสังคม-การเมือง (Socio-Political Governance) แนวทางนี้มุ่งให้ความสนใจในการวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรภาครัฐกับสังคม (institutional Relationship Within Society) โดยมีมุมมองว่า รัฐบาลหรือฝ่ายการเมืองไม่ใช่ ตัวแสดงหลักที่มีบทบาทในการกาหนดนโยบายสาธารณะและส่งมอบบริการสาธารณะแต่เพียง ฝ่ายเดียว แต่ยังเก่ียวข้องสัมพันธ์กับสถาบัน และปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันกับตัวแสดงอื่น ๆ ในสังคม โดยการมองแบบรวมท้ังหมด (Totality) เพ่ือจะได้เข้าใจถึงการกาหนดนโยบายและการนำนโยบาย สาธารณะไปปฏิบัติ
ข้อ4.1. พื้นฐานการบริหารการคลังที่มีประสิทธิภาพ และสร้างประสิทธิผลต่องานทางด้านการคลัง หน่วยงานภาครัฐจะต้อง กำหนดประเด็นสำคัญ ในการบริหาร ให้แยกออกเป็นขอบข่าย ที่สําคัญ 4 ขอบข่าย ดังต่อไปนี้ การจัดการและการคัดเลือก ผู้นํา(Organizational Alignment and Leadership) การ จัดการนโยบายและการวางแผน (Policies and Processes) การจัดการส่วนบุคคล (Personnel Management) และ ข้อมูลข่าวสาร (Information)
4.2 5 ประการ ได้แก่
(1) การให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการ
(2) การร่วมมือกันทำงานอย่างใกล้ชิดระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและประชาชน
(3) การแปลงวิสัยทัศน์ นโยบาย และยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติงานอย่างแท้จริง
(4) การติดตามและประเมินผลโครงการ
(5) ความเพียงพอของงบประมาณ
การปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐโดยนำหลักการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการและการแสวงหาประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ โดยการนำเอาแนวทางหรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้กับการบริหารงานภาครัฐ เช่น การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ การบริหารงานแบบมืออาชีพ การคำนึงถึงหลักความคุ้มค่า การจัดการโครงสร้างที่กะทัดรัดและแนวราบ การเปิดโอกาสให้เอกชนเข้ามาแข่งขันการให้บริการสาธารณะ การให้ความสำคัญต่อค่านิยม จรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรมและจริยธรรม ตลอดทั้งการมุ่งเน้นการให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญเพื่อเป็นการปรับปรุงระบบบริหารราชการเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศและการให้บริการแก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นโดยกําหนดให้การบริหารราชการแนวทางใหม่ต้องมีการ กําหนดนโยบาย เป้าหมาย และแผนการปฏิบัติงานเพื่อให้สามารถประเมินผลการปฏิบัติราชการในแต่ละระดับได้อย่างชัดเจน มีกรอบการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเป็นแนวทางในการกํากับการกําหนดนโยบายและการปฏิบัติราชการ และเพื่อให้กระทรวงสามารถจัดการบริหารงานให้เป็นไป ตามเป้าหมายได้ จึงกําหนดให้มีรูปแบบการบริหารใหม่ โดยกระทรวงสามารถแยกส่วนราชการจัดตั้งเป็นหน่วยงานตามภาระหน้าที่ เพื่อให้เกิดความคล่องตัวและสอดคล้องกับเป้าหมายของงานที่จะต้องปฏิบัติและกําหนดให้มีกลุ่มภารกิจของส่วนราชการต่าง ๆ ที่มีงานสัมพันธ์กัน เพื่อที่จะสามารถกําหนดเป้าหมายการทํางานร่วมกันได้ และมีผู้รับผิดชอบกํากับการบริหารงานของกลุ่มภารกิจนั้นโดยตรงเพื่อให้งานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว รวมทั้งให้มีการประสานการปฏิบัติงาน และการใช้งบประมาณเพื่อที่จะให้การบริหารงานของทุกส่วนราชการบรรลุเป้าหมาย ของกระทรวงได้อย่างมีประสิทธิภาพและลดความซ้ำซ้อน มีการมอบหมายงานเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติราชการ และสมควรกําหนดการบริหารราชการในต่างประเทศให้เหมาะสมกับลักษณะการปฏิบัติหน้าที่และสามารถปฏิบัติการได้อย่างรวดเร็วและมีเอกภาพ โดยมีหัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชการ นอกจากนี้ สมควรให้มีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการเพื่อเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการดูแลการจัดส่วนราชการและการปรับปรุงระบบการทํางานของภาคราชการให้มีการจัดระบบราชการอย่างมีประสิทธิภาพต่อไปให้การพัฒนาระบบราชการต้องสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม ความต้องการของประชาชนและทันต่อการบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จําเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอํานาจตัดสินใจ การอํานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงานมีเป้าหมายเพื่อพัฒนางานบริการของส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐสู่ความเป็นเลิศ เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจ ต่อคุณภาพการให้บริการ โดยออกแบบการบริการที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เหมาะสมมาใช้เพื่อให้ประชาชนสามารถใช้บริการได้ง่ายและหลากหลายรูปแบบ เน้นการบริการเชิงรุกที่มี ปฏิสัมพันธ์โดยตรงระหว่างภาครัฐและประชาชน การให้บริการแบบเบ็ดเสร็จอย่างแท้จริง พัฒนาระบบการจัดการ ข้อร้องเรียนให้มีประสิทธิภาพ รวมทั้งเสริมสร้างวัฒนธรรมการบริการที่เป็นเลิศ ส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐพัฒนาระบบการเชื่อมโยงงานบริการซึ่งกันและกัน และวางรูปแบบการให้บริการประชาชนที่สามารถขอรับบริการจากภาครัฐได้ทุกเรื่องโดยไม่คำนึงว่าผู้รับบริการ จะมาขอรับบริการ ณ ที่ ยกระดับการดำเนินงานของศูนย์บริการด้วยการเชื่อมโยงและบูรณาการกระบวนงานบริการที่หลากหลายจากส่วนราชการต่าง ๆ มาไว้ ณ สถานที่เดียวกัน เพื่อให้ประชาชนสามารถรับบริการได้สะดวก รวดเร็ว
เป็นการบริหารงานที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ มีมาตรฐานวัดได้ ใช้กลไกการตลาดเปิดโอกาสในการแข่งขันทั้งภาคเอกชนและภาคประชาชนในการเข้าร่วมการลงทุนอย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ การให้บริการที่ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน ดังนั้นเพื่อให้ระบบราชการมีความสอดคล้องกับแนวคิดการปฏิรูประบบราชการควรมีลักษณะ คือ รัฐจะมีบทบาทหน้าที่เฉพาะในส่วนที่จ าเป็นจะต้องท าเท่านั้นเพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนและชุมชนมีบทบาทมากขึ้น มีการบริหารจัดการภายในภาคราชการที่มีความรวดเร็วคุณภาพสูง และมีประสิทธิภาพ มีการจัดองค์กรที่มีความกะทัดรัดคล่องตัวและปรับเปลี่ยนได้อย่างรวดเร็ว เน้นการท างานที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือตามลักษณะของการท างานที่ทันสมัย ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมต่อการทำงานมีการพัฒนาสมรรถนะข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีคุณภาพสูงข้าราชการและเจ้าหน้าที่ทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์โดยมีประชาชนเป็นเป้าหมายมีกลไกการบริหารงานบุคคลที่หลากหลาย มีระบบค่าตอบแทนที่เป็นธรรมเพื่อเปิดโอกาสให้บุคคลที่มีความรู้ความสามารถเต็มใจมารับราชการอย่างมืออาชีพ มีวัฒนธรรมองค์กรและมีบรรยากาศในการท างานแบบมีส่วนร่วมมีความโปร่งใสตรวจสอบได้การบริหารจัดการภาครัฐเป็นนวัตกรรมทางการบริหารอย่างหนึ่งเพื่อดำเนินการขับเคลื่อนการปฏิรูประบบราชการไทย ได้มีการประยุกต์ใช้เป็นหลักคิด หลักปฏิบัติ โดยมีเป้าประสงค์หลักของการพัฒนาระบบราชการไทย คือ พัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนที่ดีขึ้นปรับบทบาทภารกิจให้มีความเหมาะสมยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการท างานให้เทียบเท่าเกณฑ์สากล และตอบสนองต่อการบริหารปกครองอย่างมีประสิทธิภาพลักษณะสำคัญของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ เป็นการปรับเปลี่ยนการควบคุมผลผลิตและผลลัพธ์ มีความเป็นสากล ให้อิสระและความคล่องตัวแก่ผู้บริหาร และให้ความสำคัญต่อเรื่องทักษะการบริหารจัดการมากกว่าการกำหนดนโยบาย ปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงานราชการใหม่ให้มีขนาดเล็กลง รวมทั้งการประยุกต์ใช้วิธีการจัดจ้างและการแข่งขันประมูลงานเพื่อลดต้นทุนมีการสร้างแรงจูงใจ และให้รางวัลตอบแทนมากขึ้น สร้างระเบียบวินัยและความประหยัดในการใช้จ่ายเงินงบประมาณ โดยพยายามลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิตพัฒนาระบบการเชื่อมโยงงานบริการซึ่งกันและกันสู่ความเป็นเลิศ โดยออกแบบการบริการที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาใช้ในการให้บริการประชาชน ยกระดับการดำเนินงานของศูนย์บริการร่วมด้วยการเชื่อมโยงและบูรณาการกระบวนงานบริการที่หลากหลายจากส่วนราชการต่าง ๆ มาไว้ ณ สถานที่เดียวกันให้สามารถใช้บริการได้ง่ายและหลากหลายรูปแบบ เน้นการบริการเชิงรุกที่มีปฏิสัมพันธ์โดยตรงระหว่างภาครัฐและประชาชน การให้บริการแบบเบ็ดเสร็จอย่างแท้จริง พัฒนาระบบการจัดการข้อร้องเรียนและแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนอย่างจริงจัง โดยเน้นการจัดการเชิงรุกอย่างมีประสิทธิภาพรวมทั้งเสริมสร้างวัฒนธรรมการบริการที่เป็นเลิศเน้นการจัดโครงสร้างองค์การที่มีความทันสมัย ลดความซ้ำซ้อน มีความยืดหยุ่น สามารถปรับตัวได้อย่างต่อเนื่องปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการทำงาน เน้นการคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานหลักโดยการจัดระบบงานอิเล็กทรอนิกส์พัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากรในองค์การ นำรูปแบบการใช้บริการร่วมกันเพื่อประหยัดทรัพยากร ลดค่าใช้จ่าย ยกระดับคุณภาพมาตรฐานและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของหน่วยงานของรัฐ สร้างความรับผิดชอบต่อสังคม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนวางระบบการบริหารจัดการสินทรัพย์ของราชการอย่างครบวงจร โดยคำนึงถึง ค่าใช้จ่ายที่ผูกมัด/ผูกพันติดตามมา ส่งเสริมให้มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารสินทรัพย์ และบูรณาการเข้ากับระบบบริหารจัดการทรัพยากรขององค์การ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดหรือสร้างมูลค่าเพิ่ม สร้างโอกาส และสร้างความมั่นคงตามฐานะเศรษฐกิจของประเทศ ลดความสูญเสียสิ้นเปลืองและเปล่าประโยชน์รวม ลดต้นทุน โดยจัดให้มีระบบและข้อมูลเพื่อให้หน่วยราชการใช้ประกอบการวัดและวิเคราะห์ การใช้สินทรัพย์เพื่อให้เกิดผลิตภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด
การบริหารการคลังถือเป็นภารกิจสำคัญประการหนึ่งของภาครัฐ เพราะเสถียรภาพของเศรษฐกิจคือภาพสะท้อนเสถียรภาพในการบริหารประเทศ หน้าที่ของภาครัฐนอกจากการบริหารงานตามความเหมาะสมแล้ว ภาครัฐอาจใช้กลไกอื่นเช่น กลไกนิติบัญญัติกลไกตุลาการ และกลไกทางกฎหมายเพื่อให้เศรษฐกิจดำ เนินไปอย่างเรียบร้อยและมีเสถียรภาพนอกจากนี้ภาครัฐสามารถเลือกใช้นโยบายการคลังควบคู่ไปกับนโยบายทางสังคมอื่นๆ เพื่อให้การบริหารเป็นไปอย่างรวดเร็วทันการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เพราะสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จำ เป็นอย่างยิ่งที่การบริหารงานของภาครัฐในกิจการต่างๆ ต้องปรับเปลี่ยนเพื่อให้ทันต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นเนื่องจากจะสร้างให้เกิดการบริหารที ่มีรูปแบบการจัดการแนวใหม่ที่ชัดเจน และจะส่งผลต่องานบริการสาธารณะอย่างแท้จริง ดังนั้น ผู้นำ หรือผู้บริหารหน่วยงานภาครัฐมีความจำ เป็นที่จะต้องศึกษาและวิจัยสถานการณ์ รวมทั้งวิเคราะห์เชิงนโยบายด้านต่างๆเพื่อเป็นพื้นฐานในการกำ หนดร่างนโยบายการควบคุม และการประเมินผล ทั้งนี้จะต้องจัดการภายใต้ระบบ หรือกฎระเบียบราชการในส่วนราชการนั้นๆ โดยจะต้องศึกษาหลักการออกแบบกระบวนการและการจัดการองค์การ รวมทั้งการจัดการนโยบายภายใต้หลักการและทฤษฎีเพื่อนำไปสู่ประเด็นเนื้อหาที่ชัดเจน ตอบโจทย์ในการแก้ไขปัญหาสังคม และสามารถนำ นโยบายไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ และก่อให้เกิดประสิทธิผลของภาคประชาชนทุกภาคส่วน สำหรับกรอบการทบทวนการจัดการภาครัฐแนวใหม่ก่อนการตัดสินใจดำ เนินนโยบายหรือมาตรการใด ๆการจัดการภาครัฐแนวใหม่เสนอให้มีการทบทวนหลักการบริหารก่อน เพื่อวิเคราะห์แนวทาง การดำ เนินการ และผลกระทบ โดยสามารถดำ เนินการได้2แนวทางคือการวิจัยกระบวนการ เพื่อให้ได้รูปแบบหรือนโยบายที่เป็นไปได้และนำ มาใช้ประกอบในการตัดสินใจเพื่อกำ หนดนโยบายและการศึกษาข้อคิดเห็นและข้อโต้แย้งของนโยบายเพื่อศึกษาแนวทางและรูปแบบการบริหารที่เคยใช้อยู่เดิม แล้วนำ มาพัฒนาปรับใช้เพื่อการบริหารในรูปแบบใหม่หลักการวางแผนการบริหาร เพื่อเป็นหลักพื้นฐานของการจัดการด้านงานภายใต้กรอบภาระหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ ถือเป็นวัตถุประสงค์หลักและเป็นเป้าหมายสำคัญยิ่งในการขับเคลื่อนประเทศให้ก้าวเข้าสู่การพัฒนา ในการนี้การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่จะต้องประกอบไปด้วยปัจจัยหลายประการ เริ่มต้นจากการทำความเข้าในใจสถานภาพของภาคเศรษฐกิจ การศึกษาความต้องการหลักของภาคสังคมว่ามีความต้องการในวิถีชีวิตด้านใด เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐสามารถกำ หนดเป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน เมื่อได้วัตถุประสงค์ที่ชัดเจนแล้วต่อมาคือการวิเคราะห์และวางแผนปัจจัยนำ เข้าเพื่อตอบวัตถุประสงค์ที่กำ หนดและการกำ หนดกิจกรรมหรือโครงการเพื่อดำเนินงานนั้น ๆ ภายหลังการดำ เนินงานแล้ว สิ่งที่สำคัญพื้นฐานการบริหารการคลังที่มีประสิทธิภาพ และสร้างประสิทธิผลต่องานทางด้านการคลัง หน่วยงานภาครัฐจะต้องกำ หนดประเด็นสำคัญในการบริหารให้แยกออกเป็นขอบข่ายที่สำคัญการจัดการและการคัดเลือกผู้นำเพื่อเป็นผู้กำหนดทิศทางการคลังในทุกภาคส่วน จะต้องมีการบริหารงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างให้สอดคล้องกับหน่วยงาน สอดคล้องกับความต้องการในด้านประโยชน์และสอดคล้องกับเป้าประสงค์ของแผนงาน หรือแผนกลยุทธ์รวมทั้งกำ หนดขอบเขตความรับผิดชอบและบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน ทั้งนี้ผู้นำ จะต้องมีความสามารถ มีความซื่อสัตย์และสามารถประสานงานได้ดีทุกภาคส่วนของหน่วยงานภาครัฐนโยบายและการวางแผน จะต้องใช้หลักการเชิงกลยุทธ์เข้ามาเป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อน มีการประเมินผลกระทบภายในองค์การในการจัดสรรงบประมาณ และต้องมีการประเมินผลกระทบภายนอกควบคู่ด้วยเช่นกัน เพื่อการจัดการที่มีประสิทธิภาพ การคลังจะต้องสร้างความร่วมมือกับทุกองค์การ และทุกหน่วยงานทั้งหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานภาคเอกชน มีการจัดการผู้จัดจำ หน่ายเน้นประสิทธิภาพในการตรวจสอบและการกำกับดูแลสัญญาใส่ใจในการรับผิดชอบทางการเงินการจัดการงานบุคคล การสั่งสมทุนมนุษย์การสร้างวัฒนธรรมในองค์การมีแต่ความซื่อสัตย์และมีกระบวนการกำกับดูแลที่มีประสิทธิภาพมีการควบคุมอย่างชัดเจนสนับสนุนการสร้างพฤติกรรมที่มีจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ข้อมูลข่าวสาร
ในการปกครองบริหาร ประเทศ ต้องอาศัย บุคลากร 2ฝ่าย คือ1. ฝ่ายการเมือง / ข้าราชการการเมือง 2. ฝ่ายบริหารงานประจำ/ ข้าราชการประจําธรรมชาติของการบริหารและการเมืองนั้นซับซ้อนและมีหลายแง่มุม หลักการบริหารเกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรและการดำเนินนโยบายเพื่อให้บรรลุเป้าหมายเฉพาะ ในทางกลับกัน การเมืองเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจและการต่อรองผลประโยชน์ที่ขัดแย้งกันเพื่อกำหนดนโยบายและผลลัพธ์ ในทางปฏิบัติ การบริหารและการเมืองมักจะเกี่ยวพันกัน โดยการพิจารณาทางการเมืองมักจะมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจและการดำเนินการทางการบริหาร ท้ายที่สุดแล้ว ความสำเร็จของการบริหารหรือระบบการเมืองขึ้นอยู่กับความสามารถในการสร้างสมดุลระหว่างผลประโยชน์ที่แข่งขันกันและจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
ข้อที่ 1 สภาพแวดล้อมการบริหารหมายถึงปัจจัยภายในและภายนอกที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการขององค์กร ปัจจัยเหล่านี้รวมถึงโครงสร้างขององค์กร วัฒนธรรม เป้าหมาย ทรัพยากร เทคโนโลยี กรอบกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ สภาพเศรษฐกิจ และการแข่งขัน
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเหล่านี้มีความซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ตัวอย่างเช่น โครงสร้างขององค์กรส่งผลต่อวัฒนธรรม ซึ่งจะส่งผลต่อเป้าหมายและวิธีการใช้ทรัพยากรขององค์กร ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสามารถเปลี่ยนวิธีที่องค์กรดำเนินการและโต้ตอบกับสภาพแวดล้อม ในขณะที่การเปลี่ยนแปลงทางกฎหมายและข้อบังคับอาจทำให้เกิดข้อจำกัดหรือโอกาสใหม่ๆ
โดยสรุป สภาพแวดล้อมการบริหารและปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และจำเป็นต้องมีการพิจารณาและการจัดการอย่างรอบคอบเพื่อให้มั่นใจว่าองค์กรจะประสบความสำเร็จ
Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
ภายใต้ยุคใหม่ของระบบเครือข่ายสื่อสารออนไลน์ การจัดการระบบราชการจำเป็นต้องพัฒนาเพื่อปรับให้เข้ากับภูมิทัศน์ที่เปลี่ยนไป องค์ประกอบที่สำคัญบางประการทได้แก่
1. การสื่อสาร เนื่องจากการสื่อสารมีการกระจายอำนาจและไม่เป็นทางการมากขึ้น จึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้จัดการที่จะต้องแน่ใจว่าช่องทางการสื่อสารยังคงเปิดกว้างและโปร่งใส
2. ความยืดหยุ่น ธรรมชาติของการสื่อสารออนไลน์ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทำให้ผู้จัดการต้องมีความคล่องตัวและปรับตัวได้
3. การทำงานร่วมกัน เมื่อทีมเสมือนกลายเป็นเรื่องธรรมดามากขึ้น ผู้จัดการต้องจัดลำดับความสำคัญของการทำงานร่วมกันระหว่างแผนก สถานที่ และแม้แต่อุตสาหกรรม
4. การจัดการข้อมูล ด้วยการเพิ่มจำนวนของข้อมูลในการสื่อสารออนไลน์ ผู้จัดการจำเป็นต้องพัฒนาระบบและกระบวนการใหม่สำหรับการจัดการ วิเคราะห์ และใช้ประโยชน์จากข้อมูล
Assignment ที่ 3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
การจัดการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมที่สอดคล้องกับการจัดการสาธารณะแบบใหม่มักเกี่ยวข้องกับการทำงานร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐและประชาชนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายนโยบาย แนวทางนี้เน้นความสำคัญของการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียในกระบวนการกำหนดนโยบาย การให้อำนาจแก่ประชาชนในการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และส่งเสริมความรับผิดชอบและความโปร่งใสในการดำเนินงานของรัฐบาล
4.1) การจัดการคลังเป็นหน้าที่ที่สำคัญในองค์กรใดๆ และเกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรทางการเงินขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่ามีการใช้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในการจัดระเบียบงานคลัง สามารถพัฒนากรอบการทำงานตามขอบเขตของการจัดการคลัง
1. การจัดการเงินสด: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการจัดการกระแสเงินสดขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่ามีเงินสดเพียงพอที่จะปฏิบัติตามภาระผูกพันทางการเงินเสมอ
2. การจัดการความเสี่ยง: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการระบุ ประเมิน และจัดการความเสี่ยงทางการเงินที่องค์กรเผชิญ เช่นการระบุและประเมินความเสี่ยง และการใช้กลยุทธ์การลดความเสี่ยง
3. การจัดการการลงทุน: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการจัดการพอร์ตการลงทุนขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่าสร้างผลตอบแทนที่ยอมรับได้ในขณะที่ลดความเสี่ยงให้น้อยที่สุด
4. การจัดการหนี้: สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับการจัดการพอร์ตสินเชื่อขององค์กรเพื่อให้แน่ใจว่ามีโครงสร้างที่เหมาะสมที่สุดและปฏิบัติตามภาระผูกพันในการชำระหนี้
4.2) ธรรมาภิบาลในการบริหารเงินคงคลังเกี่ยวข้องกับปัจจัยแห่งความสำเร็จหลายประการ ซึ่งจำเป็นต่อการสร้างความมั่นคงทางการเงินและความรับผิดชอบ
1. นโยบายและขั้นตอนที่ชัดเจน: ควรมีนโยบายและขั้นตอนที่ชัดเจนสำหรับการบริหารเงิน ซึ่งสรุปบทบาทและความรับผิดชอบของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ
2. การจัดการเงินสดอย่างมีประสิทธิภาพ: การจัดการเงินสดอย่างมีประสิทธิภาพมีความสำคัญต่อการทำให้แน่ใจว่าเงินจะพร้อมใช้เมื่อจำเป็น ในขณะที่ลดต้นทุนการกู้ยืม
3 การบริหารความเสี่ยงที่แข็งแกร่ง: การบริหารเงินคลังควรรวมถึงแนวทางปฏิบัติในการบริหารความเสี่ยงที่แข็งแกร่ง ซึ่งระบุ ประเมิน และติดตามความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพทางการเงินขององค์กร
4. ความโปร่งใสและความรับผิดชอบ: ธรรมาภิบาลต้องการความโปร่งใสและความรับผิดชอบในการทำธุรกรรมทางการเงินทั้งหมด รวมถึงการบริหารเงินคงคลัง
5. การปฏิบัติตามกฎระเบียบ: การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเงินคงคลังเป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้มั่นใจถึงความมั่นคงทางการเงินและชื่อเสียงขององค์กร
6. การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ: การสื่อสารเป็นกุญแจสำคัญในการทำให้มั่นใจว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดได้รับข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ทางการเงิน ความเสี่ยง และโอกาสขององค์กร
64423471249Assignment ที่ 1. นักศึกษาแสดงรูปแบบปัจจัยแวดล้อมทางการบริหาร และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการบริหาร โดยแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบผังภาพ
ตอบ สิ่งแวดล้อมทางการบริหาร หมายถึง สภาพของปัจจัยต่างๆ ที่อยู่ภายในและภายนอกองค์การของรัฐ และเอกชนซึ่งสามารถส่งอิทธิพลมายังภายในของระบบการบริหารองค์การ อันมีผลต่อประสิทธิภาพและความสำเร็จของการบริหารงานในองค์การ
สิ่งแวดล้อม ถือเป็นเครื่องมือที่มีความสำคัญยิ่งในการกำหนดนโยบายการบริหารงาน นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือที่ช่วยชี้วัดความสำเร็จของการบริหาร และถือเป็นทรัพยากรหรือวัตถุดิบสำหรับป้อนให้กับระบบการบริหารเพื่อทำการแปรรูปให้เป็นสินค้าหรือบริการตามนโยบายขององค์การ
ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับขบวนการบริหาร กล่าวได้ว่า ทรัพยากรในการบริหารจัดเป็นสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องโดยตรง และเป็นสภาพแวดล้อมที่จำเป็นในการบริหารงานขององค์การ สินค้าและบริการเป็นสิ่งที่องค์การได้มอบให้กับสภาพแวดล้อม และจะกลายเป็นปัจจัยหนึ่งของระบบสภาพแวดล้อม ซึ่งสภาพแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็นสภาพแวดล้อมภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอก
การแบ่งสภาพแวดล้อมตามลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างองค์การของรัฐกับสภาพแวดล้อม แบ่งออกได้ ๒ ประเภท
(๑) สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของการบริหารงานของรัฐ (ภายนอก)
(๒) สภาพแวดล้อมเฉพาะสำหรับองค์การต่างๆของรัฐ (ภายใน)แผนผัง ดังนี้ ทรัพยากรณ์การบริหาร M 4 (INPUT) ต่อมา ระบบการบริหาร (Process) ต่อมา บริการของรัฐ (OUTPUT)
ต่อมา Feed Back แล้วก็กลับเข้าสู่ระบบเดิมอย่างนี้เป็นวงกลม (สิ่งแวดล้อม Environment)
***อีก 1 แผนผัง ดังนี้ รูปแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมแต่ละประเภทขององค์การ
1.สภาพแวดล้อมเฉพาะสำหรับองค์การต่างๆของรัฐภายใน
( 1.1วัตถุดิบ 1.2 ระบบบริหารจัดการ 1.3อุปกรณ์สำนักงานและเครื่องจักร 1.4 กฎระเบียบ ฯลฯ )
2.สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของการบริหารงานของรัฐ
( 2.1 วัฒนธรรมประเพณี ค่านิยม 2.2 ทรัพยากรธรรมชาติ 2.3 สภาพภูมิศาสตร์ 2.4 เทคโนลียี,กฎหมาย
64423471249Assignment ที่ 2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ ระบบเน็ตเวิร์ค
ตอบ การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่เป็นการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐ โดยนำหลักการ เพิ่มประสิทธิภาพและการแสวงหาประสิทธิภาพของระบบราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ นำเอาแนวทางหรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้กับการบริหารงานภาครัฐ ตลอดทั้งการมุ่งเน้น การให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ เหตุผลที่มีการนำแนวคิดการบริหารงานภาครัฐแนวใหม่มาใช้เนื่องจากกระแสโลกาภิวัตน์
1. การสื่อสาร เนื่องจากการสื่อสารมีการกระจายอำนาจและไม่เป็นทางการมากขึ้น จึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้จัดการที่จะต้องแน่ใจว่าช่องทางการสื่อสารยังคงเปิดกว้างและโปร่งใส
2. ความยืดหยุ่น ธรรมชาติของการสื่อสารออนไลน์ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทำให้ผู้จัดการต้องมีความคล่องตัวและปรับตัวได้
3. การทำงานร่วมกัน เมื่อทีมเสมือนกลายเป็นเรื่องธรรมดามากขึ้น ผู้จัดการต้องจัดลำดับความสำคัญของการทำงานร่วมกันระหว่างแผนก สถานที่ และแม้แต่อุตสาหกรรม
4. การจัดการข้อมูล ด้วยการเพิ่มจำนวนของข้อมูลในการสื่อสารออนไลน์ ผู้จัดการจำเป็นต้องพัฒนาระบบและกระบวนการใหม่สำหรับการจัดการ วิเคราะห์ และใช้ประโยชน์จากข้อมูลปัจจุบัน ความต้องการและพฤติกรรมของผู้บริโภคมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเมื่อผู้บริโภคหันมาใช้แพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันเพิ่มมากขึ้น ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ไม่ว่าจะเป็น การซื้อขายสินค้าและบริการ การศึกษา การติดต่อสื่อสาร การทำงาน และอื่น ๆ ดังนั้น ช่องทางออนไลน์จึงสามารถตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภคและมีอัตราการเติบโตสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง [1] และในขณะเดียวกัน ผู้บริโภคก็คาดหวังว่าบริการต่าง ๆ เหล่านั้น จะตอบโจทย์ทั้งความต้องการส่วนบุคคล (Personalization) และความคาดหวังในการเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ อย่างครบถ้วน เพราะเหตุนี้ การเปลี่ยนแปลงความต้องการและพฤติกรรมผู้บริโภคข้างต้น จึงไม่ได้ส่งผลกระทบเฉพาะภาคเอกชนในเชิงเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ยังส่งผลทำให้ประชาชนมีความคาดหวังต่อการบริการภาครัฐสูงขึ้นตามไปด้วย
64423471249Assignment ที่ 3.อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมมีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
ตอบ การจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (NPG) มีรากฐานมาจากการศึกษาสถาบันและ เครือข่ายที่ตั้งอยู่บนการพิจารณารัฐในลักษณะที่มี ความแตกต่างหลากหลายภายในตนเองหรือรัฐพหุลักษณ์ ซึ่งเป็นการมองว่ารัฐเป็น ตัวแสดงที่ประกอบด้วยองค์กรและองค์กรและหน่วยงานต่าง ๆ ที่พึ่งพาอาศัยกัน หลากหลายระดับ และหลายรูปแบบเข้ามามีบทบาทในการจัดให้มีบริการสาธารณะให้แก่ประชาชน ส่วนรัฐพหุนิยม เป็นบริบทที่ภาครัฐต้องเผชิญกับสภาพสังคมที่มีความแตกต่าง หลากหลายในมิติต่างๆ ดังนั้น แนวคิดการจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ จึงเป็น ความพยายามที่จะทำความเข้าใจถึงการพัฒนาการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติและการส่งมอบ บริการสาธารณะในสภาพของความเป็นจริง ภายใต้สถานการณ์ของรัฐในศตวรรษที่ 21 ที่มีทั้ง ความแตกต่างหลากหลายและความสลับซับซ้อนของตัวแสดงที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับการทำงาน ของภาครัฐ อีกทั้งความซับซ้อนของสังคมแบบพหุและความหลากหลายของหน่วยงานหรือองค์กร ต่าง ๆ ที่อยู่ภายในโครงสร้างของรัฐเอง
Assignment ที่ 4. ให้นักศึกษา อภิปรายถึง 4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลังตามขอบข่ายการบริหารงานคลัง และ4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ตอบ 4.1การบริหารภาคการคลังจะต้องมีการกำหนดมาตรการ การควบคุมและการดำเนินการ ครอบคลุมในทุกมิติ การนำการจัดการภาครัฐแนวใหม่ มาใช้เพื่อกำหนดมาตรการ หรือแนวทางการบริหารจะทำให้มีการบริหาร มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะการจัดการภาครัฐ แนวใหม่มีรูปแบบตั้งแต่การศึกษา สภาพแวดล้อมและปัญหาการศึกษาเอกสารและผลการดำเนินการที่ผ่านมารวมไปถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดการดำเนินการเพราะการดำเนินการภายใต้โครงการต่างๆ ต้องลดปัญหาแม้ว่าจะถูกจำกัดด้วยสภาพแวดล้อมและทรัพยากรที่มีอยู่ปัจจุบันหลายประเทศในอาเซียนประสบปัญหาคือ การที่รัฐบาลไม่สามารถดำเนินการบริหารได้ตามที่แถลง. ออนปัญหาการบริหารการคลังที่ไม่มีคุณภาพขาดการวางแผนหาการศึกษาเชิงลึกและขาดการวางรากฐานนโยบายสาธารณะเพื่อประชาชนเนื่องจากหน่วยงานภาครัฐเป็นองค์กรขนาดใหญ่ทำให้การจัดการการบริหารจัดการเพื่อให้เป็นไปตามแบบแผนเดียวกันเป็นเรื่องที่ยากเช่น การดำเนินการตามนโยบายที่ผู้ออกนโยบายกับผู้ที่ดำเนินการเป็นบุคคลคนละกลุ่มกันถือว่าเป็นอุปสรรคที่สำคัญดังนั้นการร่วมมือกันของคนทุกภาคส่วนเป็นขั้นตอนที่สำคัญโดยต้องมีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจนแนวทางการดำเนินงานที่แน่นอนเพื่อให้ทุกภาคส่วนได้ดำเนินการตามแนวทางเดียวกัน
4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง คือ การจัดการและการคัดเลือกผู้นํา เพื่อเป็นผู้กําหนด ทิศทางการคลังในทุกภาคส่วน จะต้องมีการบริหารงานด้าน การจัดซื้อจัดจ้างให้สอดคล้องกับหน่วยงาน สอดคล้องกับ ความต้องการในด้านประโยชน์ และสอดคล้องกับเป้าหมายวัตถุประสงค์ ของแผนงานหรือแผนกลยุทธ์รวมท้ังกําหนดขอบเขตความ รับผิดชอบและบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน ทั้งน้ี ผู้นําจะต้องมี ความสามารถ มีความซื่อสัตย์ และสามารถประสานงานได้ดี ทุกภาคส่วนของหน่วยงานภาครัฐ การจัดการนโยบายและการวางแผนจะต้องใช้หลักการเชิงกลยุทธ์ เข้ามาเป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อน การประเมินผลกระทบภายในองค์กร ในการจัดสรรงบประมาณต้องมีการประเมินผลกระทบภายนอกควบคู่ด้วยเช่นกัน 4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง มีกระบวนการและวิธีการในการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารการเงินการคลัง 6 หัวข้อดังนี้
( 1 ) หลักนิติธรรม ความมุ่งหวังเพื่อ
1. มีการบังคับใช้กฎ ระเบียบอย่างเคร่งครัด และเป็นธรรม
2. มีหน่วยงานควบคุม ดูแลและตรวจสอบการทำงาน
3. มีการปรับปรุงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับให้ทันสมัย
( 2 ) หลักคุณธรรม ความมุ่งหวังเพื่อ
1. ส่งเสริมให้บุคลากรอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับธรรมภิบาล
2. ส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กรเรื่องการยึดมั่นคุณธรรม
3. รณรงค์ให้บุคลากรปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นตัวอย่างแก่สังคม
( 3 ) หลักความมีส่วนร่วม ความมุ่งหวังเพื่อ
1. เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในทุกกระบวนการปฏิบัติงาน
2. ส่งเสริมให้บุคลากรร่วมแสดงความคิดเห็นด้านการปรับปรุงการทำงาน และการแก้ไขปัญหาการดำเนินงานต่าง ๆ
( 4 ) หลักความโปร่งใส ความมุ่งหวังเพื่อ
1. มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและผลการดำเนินงานต่อสาธารณะ
2. เปิดโอกาสให้สังคมภายนอกเข้าถึงข้อมูลผลการดำเนินงาน
3. มีหน่วยงานตรวจสอบกระบวนการดำเนินงาน
( 5 ) หลักความรับผิดชอบ ความมุ่งหวังเพื่อ
1. ส่งเสริมให้บุคลากรตระหนักในหน้าที่และรับผิดชอบต่อสังคม
2. ส่งเสริมให้บุคลากรกระตือรือร้นในการแก้ปัญหาและกล้ายอมรับผลจากการกระทำ
( 6 ) หลักความคุ้มค่า ความมุ่งหวังเพื่อ
1. ส่งเสริมให้มีการจัดการและใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
2. รณรงค์การใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า
Assignment2. นักศึกษานำเสนอองค์ประกอบของการบริหารจัดการของระบบราชการ ภายใต้ยุคใหม่ ซึ่งมีการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ระบบเน็ตเวิร์ค
ตอบ 1. การปรับมุมมองในเชิงยุทธศาสตร์ใหม่ แทนที่จะมองแค่การดำเนินงานประจำไใปตามกฎระเบียบไปแบบวันต่อวัน ซึ่งน่าจะเกิดจากการที่ได้มีการทบทวนสถานการณ์และจัดวางยุทธสาสตร์ใหม่ ในกระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์
2. การนำระบบการจัดการแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ จะช่วยให้มีการปรับมุมมองมามุ่งเน้นที่ผลสัมฤทธิ์ตามภารกิจหลัก แทนการมุ่งเน้นการทำตามระเบียบขั้นตอนของงานประจำ ซึ่งจะทำให้เกิดการแข่งขันกันสร้างผลสัมฤทธิ์ของงานแทนที่จะแข่งกันในเรื่องอื่นๆ ที่อาจไม่เกี่ยวข้องกับประโยชน์สุขของประชาชนอย่างแท้จริง
3. การนำระบบการคำนวณต้นทุนฐานกิจกรรมมาใช้ จะช่วยให้มีการปรับมุมมองให้หันมาสนใจเรื่องต้นทุนในการดำเนินงานของแต่ละกิจกรรม ซึ่งแต่เดิมมาส่วนราชการไทยแทบจะไม่เคยทราบว่าแต่ละกิจกรรมนั้นมีต้นทุนในการดำเนินการมากน้อยแค่ไหน
4. การนำการบริหารวงรอบเวลา และการรื้อปรับระบบงาน จะช่วยให้มีการปรับมุมมองให้หันมาพิจารณาเรื่องกระบวนงาน ขั้นตอน และวงรอบเวลาในการดำเนินงาน เพื่อหาแนวทางในการปรับลดขั้นตอนในการดำเนินงานให้กระชับคล่องตัวยิ่งขึ้น และเพื่อไม่ให้ใช้อัตรากำลังมากเกินไป
5. การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์การ จะช่วยให้มีการปรับมุมมองมาพิจารณาเรื่องคุณภาพ การตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ มากกว่าที่จะมุ่งสนองนโยบายของผู้บริหาร หรือระบบราชการด้วยกันเอง
6. การนำเรื่องการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้จะช่วยให้มีการปรับมุมมองจากการปฏิบัติราชการไปแบบวันต่อวันโดยไม่ได้คำนึงถึงเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว เพราะคิดว่าเทคโนโลยีนั้นแพง ไม่คุ้มค่า มาเป็นการมองหาวิธีการเพิ่มคุณค่าของงานโดยการนำเทคโนโลยีมาเป็นเครื่องช่วย
Assignment3. อะไรบ้างที่การบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม มีความสอดคล้องกับการบริหารจัดการสาธารณะแนวใหม่
ตอบ
1. การมีส่วนร่วมของพลเมือง
2. ความเป็นประชาธิปไตยในการบริหาร
3. เน้นการค้นหาผลประโยชน์ร่วมกันของทุกฝ่ายเหมือนกัน
4. การตระหนักในความรับผิดชอบในการบริหาร
5. เน้นการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม
6. เน้นคุณค่าความเป็นพลเมือง
7. มีอุดมคติเพื่อความถูกต้องดีงามและประโยชน์สุขของคนทั้งหมด
8. พลเมืองทุกคนควรเข้ามามีบทบาทร่วมเรียนรู้ ร่วมกำหนดนโยบาย
4. ให้นักศึกษาอภิปราย ถึง 4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลัง และ 4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
ตอบ
4.1 กรอบการจัดระเบียบงานคลัง
การบริหารการคลัง พื้นฐานการบริหารการคลังที่มีประสิทธิภาพ และสร้างประสิทธิผลต่องานทางด้านการคลัง หน่วยงานภาครัฐจะต้องกำหนดประเด็นสำคัญในการบริหารให้แยกออกเป็นขอบข่าย ที่สำคัญ 4 ขอบข่าย ดังต่อไปนี้
การจัดการและการคัดเลือก ผู้นำ (Organizational Alignment and Leadership) การจัดการนโยบายและการวางแผน (Policies and Processes) การจัดการส่วนบุคคล (Personnel Management) และข้อมูลข่าวสาร (Information)
การจัดการและการคัดเลือกผู้นำ เพื่อเป็นผู้กำหนดทิศทางการคลังในทุกภาคส่วน จะต้องมีการบริหารงานด้านการจัดซื้อจัดจ้างให้สอดคล้องกับหน่วยงาน สอดคล้องกับความต้องการในด้านประโยชน์และสอดคล้องกับเป้าประสงค์ของแผนงาน หรือแผนกลยุทธ์ รวมทั้งกำหนดขอบเขตความรับผิดชอบและบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน ทั้งนี้ผู้นำจะต้องมีความสามารถ มีความซื่อสัตย์และสามารถประสานงานได้ดีทุกภาคส่วนของหน่วยงานภาครัฐ
การจัดการนโยบายและการวางแผน จะต้องใช้หลักการ เชิงกลยุทธ์เข้ามาเป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อน มีการประเมิน ผลกระทบภายในองค์การในการจัดสรรงบประมาณ และต้อง มีการประเมินผลกระทบภายนอกควบคู่ด้วยเช่นกัน เพื่อการ จัดการที่มีประสิทธิภาพ การคลังจะต้องสร้างความร่วมมือ กับทุกองค์การ และทุกหน่วยงานทั้งหน่วยงานภาครัฐและ หน่วยงานภาคเอกชนมีการจัดการผู้จัดจำหน่าย (Supplier) ลดการผูกขาด(Reduce Monopoly) เน้นประสิทธิภาพในการตรวจสอบและการกำกับดูแลสัญญาใส่ใจในการรับผิดชอบ ทางการเงิน
การจัดการงานบุคคล การสั่งสมทุนมนุษย์การสร้างวัฒนธรรมในองค์การมีแต่ความซื่อสัตย์และมีกระบวนการกำกับดูแลที่มีประสิทธิภาพมีการควบคุมอย่างชัดเจน สนับสนุนการสร้างพฤติกรรมที่มีจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่
ข้อมูลข่าวสาร การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาจัดการข้อมูล มีการติดตามผลการวางฐานข้อมูลทางการเงินและระบบนั้นจะต้องให้ง่ายต่อความเข้าใจในระดับผู้บริหาร มีระบบป้องกันและการจัดการให้ข้อมูลเป็นความลับ
4.2 ปัจจัยความสำเร็จตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลัง
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
(1) มีระบบการทางานที่โปร่งใส ชัดเจน ตรวจสอบได้ (System)
(2) การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นา (Style)
(3) ใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมจากทั้งผู้รับบริการและผู้มี
ส่วนได้เสีย (Style)
(4) มีการอบรมเพื่อปลูกฝังและกระตุ้นจิตสำนึกด้านธรรมาภิบาล อย่างต่อเนื่อง (Staff)
2) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
(1) ปรับระบบและโครงสร้างให้คล่องตัว มีประสิทธิภาพ
(Structure)
(2) การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำ (Style)
(3) มีการอบรมการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการปฏิบัติงาน อย่างต่อเนื่อง (Staff)
3) กรมอนามัย
3) กรมอนามัย
(1) จัดโครงสร้างหน่วยงานด้านการเงินให้ชัดเจนและมีความ
คล่องตัว (Structure)
(2) การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำ (Style)
(3) การเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วม
ในการเสนอความคิดเห็นและปัญหา (Style)
(4) มีการอบรมกฎระเบียบ จริยธรรมและจรรยาบรรณอย่าง
ต่อเนื่อง (Staff)
4) กรมควบคุมโรค
4) กรมควบคุมโรค
(1) นำหลักธรรมาภิบาลมาเป็นแนวทางดำเนินงาน (Style)
(2) การสนับสนุนและผลักดันของผู้บริหาร (Style)
(3) มีการอบรมกฎระเบียบ จริยธรรมจรรยาบรรณ และประเมินผล
การอบรม (Staff)
5. การไฟฟ้านครหลวง
(1) การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำ (Style)
(2) การเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมในการ ให้ข้อเสนอแนะ (Style)
(3) มีกิจกรรมกระตุ้นจิตสำนึกเรื่องธรรมาภิบาลที่ต่อเนื่อง (Staff)
6) การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง
ประเทศไทย
(1) จัดโครงสร้างหน่วยงานทางด้านบัญชีและการเงินที่ชัดเจน
โปร่งใสและตรวจสอบได้ (Structure)
(2) การขับเคลื่อนนโยบายอย่างต่อเนื่องและการเป็นแบบอย่างที่ดี ของผู้นำ (Style)
(3) การเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น (Style)
(4) มีกิจกรรมกระตุ้นจิตสานึกในด้านคุณธรรม จริยธรรมอย่าง
ต่อเนื่อง (Staff)